พื้นฐานชีวิต 40.pptx

พื้นฐานชีวิต 40
ผู้เรียบเรียงรุ่นหลัง65
03/01/2566
10.36น.
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
#ในเล่ม 40
เขตอบอุ่น ซังยัง โซนทิศใต ้ โรคซึมเศร ้า
วสันต์ฤดู อู๋ฉี่ ประจาปี 2566 เป้าหมายชีวิต
คิมหันตฤดู หลี่ซือ ดาว 8 เพื่อน
ฤดูสารท หานเฟย 157.6-202.5
องศา
Self-compassion
เหมันตฤดู Safe Zone
กโลบาย
สารบัญ
สี่ฤดูกาลแห่งจิตวิญญาณแบบจีน 8
๑.วสันต์ฤดูของจิตวิญญาณ 24
๒.คิมหันตฤดูแห่งจิตวิญญาณ 80
๓. ฤดูสารทแห่งจิตวิญญาณ 101
๔.เหมันตฤดูแห่งจิตวิญญาณ 151
อันคาว่า กโลบาย นี้ 193
ความสรุป 197
สุขภาพและจิตใจ
มีผลสืบเนื่องมาจากหลักพลังงาน
206
โหงวเฮ ้ง ใบหน้าแห่งอาชีพการงานที่ดีและไม่ดี 221
เสริมฮวงจุ้ย ปี 66 ทิศโชคลาภ 233
ฮวงจุ้ย..เปลี่ยนชีวิต "ยุค 8" หลังโควิด-19 247
การดูแลตัวเองเมื่อคุณรู ้สึกไม่มีความสุขกับ
ชีวิต
270
อาการของคนที่รู้สึกว่าไม่มีความสุขในชีวิตมี
ลักษณะเป็นอย่างไร?
275
สาเหตุของความรู้สึกไม่มีความสุขในชีวิต 279
อาการไม่มีความสุขในชีวิตคือโรคซึมเศร ้าใช่
หรือไม่?
284
การดูแลตัวเองหากคุณมีอาการไม่มี
ความสุขในชีวิต
290
ค ้นหาสาเหตุของอาการไม่มีความสุข 291
ตั้งเป้าหมายในชีวิตของคุณ 296
สารบัญ
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
สี่ฤดูกาลแห่งจิตวิญญาณแบบจีน
ปาฐกถาเต็กก่าครั้งที่ ๑
เรื่อง สี่ฤดูกาลแห่งจิตวิญญาณแบบจีน
โดย ศจ. หวังเป๊ าะ
ณ ห ้องประชุมชั้น๙ อาคารมหาจักรีสิรินธร
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เนื้อห
า
https://cheechinkhor.org/?p=1397
ไม่ว่าจะเป็น
ในโลกตะวันตกหรือตะวันออก
เราจะพบเห็นจิตวิญญาณที่ยิ่งใหญ่ได ้
เสมอ
• เป็นจิตวิญญาณที่สร ้างสรรค์
และเปลี่ยนแปลงโลกอย่างใหญ่หลวง
เนื้อห
า
จิตวิญญาณยิ่งใหญ่ดังกล่าว
อาจพบอยู่ในตัวของ
นักวิทยาศาสตร์ ศิลปิน
• นักคิดนักปรัชญา
หรือในตัวศาสดาผู้ชี้นาทางศาสนา
หรือแม ้แต่พบในตัวคนธรรมดาสามัญทั่วไป
• บุคคลเหล่านั้น
ล ้วนเป็นที่บูชานับถือของคนรุ่นหลัง
เห็นประจักษ์ชัดเจนอยู่
เนื้อห
า
อย่างไรก็ตาม
เนื้อห
า
• เนื่องจากข ้อจากัดของวิชาชีพส่วนตัว
ที่อยู่ในวงการอันจาเพาะ
• ในที่นี้
ข ้าพเจ ้าจึงจะขอยกตัวอย่าง
เพียงบุคคลในประวัติปรัชญาจีน
• เพื่อพิจารณาว่าพวกเขาเหล่านั้น
มีความคิดความเข ้าใจต่อโลก
ต่อชีวิตตลอดจนวิถีดาเนินชีวิตว่าอย่างไร
• และได ้เคยนาอะไรมามอบไว ้
หรือกาลังนาอะไรมามอบให ้แก่พวกเราบ ้าง
ใคร่ขอขยายความ
เกี่ยวกับชื่อหัวข ้อที่จะกล่าวในวันนี้
ก่อนว่า
• ข ้าพเจ ้าใช ้คาว่า “แบบจีน”
ก็ด ้วยเหตุที่ข ้อ พิจารณาของข ้าพเจ ้า
ตั้งอยู่บนพื้นฐานของวัฒนธรรมจีน
โดยเฉพาะวัฒนธรรมสมัยโบราณเป็นหลัก
• แต่ทั้งนี้
มิได ้ต ้องการให ้หมายความว่า
ผู้คนที่อยู่ในต่างวัฒนธรรมอื่น ๆ
จะไม่สามารถร่วมดื่มด่า
ทาความเข ้าใจให ้เกิดอานิสงส์ได ้
เนื้อห
า
เพราะในความเป็นจริงแล ้ว
• ชีวิตและการใช ้ชีวิต
ย่อมเป็นเรื่องสากล
ที่อาจสื่อสารถึงกันได ้เสมอ
• กล่าวอีกนัยหนึ่ง
เรื่องจิตวิญญาณ
เป็นเรื่องที่อยู่เหนือพ ้น
จากกรอบการแบ่งด ้วยความเป็นประเทศชาติ
หรือด ้วยเชื้อชาตินั่นเอง
เนื้อห
า
เสริ
ม
เรื่อง “จิตวิญญาณ” นี้
• เกี่ยวข ้องกับวิชาชีพของข ้าพเจ ้าอยู่
และอันที่จริง
ก็กลายเป็นเนื้อหาส่วนหนึ่งของตัววิชาปรัชญาไปแล ้ว
ตามการพรรณนา
หรือนิยามต่าง ๆ ของวิชานั้น
• อย่างไรก็ดี
ข ้าพเจ ้าก็ไม่ได ้ตั้งใจจะมาเฉลยบอกคาตอบอะไร
ให ้ท่านทั้งหลายยอมรับร่วมกันเป็นเอกฉันท์ได ้
• เพราะนั่นย่อมเป็นไปไม่ได ้
เนื้อห
า
แต่หากจะกล่าวโดยรวบรัด
ตรงไปตรงมาที่สุด
• ความหมายของวิชาปรัชญา
ก็คือวิชาทางด ้านจิตวิญญาณแขนงหนึ่ง
• นับแต่ดั้งเดิมมา
ก็มีการใช ้ตัวอักษรจีนตัวหนึ่ง
ที่ส่วนประกอบด ้านบนเป็นตัว “เจ๋อ(折)”
และด ้านล่างเป็นตัว “ซิน(心)”
• มีนัยพ ้องกันกับตัวอักษร “เจ๋อ(哲)”
ที่ปัจจุบันใช ้หมายถึงวิชาปรัชญาอยู่
จึงดูเหมือนจะเป็นอักษรที่เหมาะ
ต่อการแสดงนัยบ่งบอกสารัตถะของวิชาปรัชญาดีกว่า
เนื้อห
า
ในส่วนของคาว่า “ฤดูกาลทั้งสี่”
อันหมายถึง ฤดูใบไม ้ผลิ ฤดูร ้อน
ฤดูใบไม่ร่วง และฤดูหนาวนั้น
• สาหรับคนที่อาศัยอยู่ในเขตอบอุ่น
ก็จะสัมพันธ์กับวิถีการดาเนินชีวิตในรอบปี
อย่างแน่นแฟ้น
• มองกันว่านั่นคือจังหวะการดาเนินของโลก
และเป็นจังหวะการดาเนินของชีวิตด ้วย
เนื้อห
า
เสริ
ม
ในส่วนของคาว่า “ฤดูกาลทั้งสี่”
อันหมายถึง ฤดูใบไม ้ผลิ ฤดูร ้อน
ฤดูใบไม่ร่วง และฤดูหนาวนั้น
เนื้อห
า
ทุก ๆ ฤดูกาล
มีลักษณะอันจาเพาะที่มนุษย์
สังเกตเห็น
และให ้ความหมายต่างกันไป
เนื้อห
า
• ที่ยอมรับกันทั่วไป
ก็จะกล่าวกันว่า
ใบไม ้ผลิคือฤดูแห่งการเกิด
ฤดูร ้อนคือฤดูแห่งการเจริญเติบโต
ใบไม ้ร่วงคือฤดูกาลห่งการเก็บเกี่ยว
และฤดูหนาวคือฤดูกาลแห่งการสั่งสม
พระภิกษุอู๋เหมิน
ในสมัยราชวงศ์ซ่ง
ได ้ประพันธ์กวีไว ้บทหนึ่ง
ซึ่งมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันทั่ว
กล่าวไว ้ว่า
เนื้อห
า
• วสันต์ล ้วนมวลมาลี สารทก็มีงามแสงเดือน
• คิมหันต์ลมเย็นเยือน เหมันต์เกลื่อนหิมะวาว
• หากใจไร ้เหตุหมอง มาติดข ้องเป็นเรื่องราว
• ล ้วนคือขณะคราว ฤดูกาลอันแสนดี
วสันต์ล ้วนมวลมาลี สารทก็มีงามแสงเดือน
คิมหันต์ลมเย็นเยือน เหมันต์เกลื่อนหิมะวาว
หากใจไร ้เหตุหมองมาติดข ้องเป็นเรื่องราว
ล ้วนคือขณะคราว ฤดูกาลอันแสนดี
เนื้อห
า
ดอกไม ้แสงเดือน สายลม และ
หิมะ
คือสัญลักษณ์ของฤดูกาลทั้งสี่
เนื้อห
า
• ในยามที่จิตปราศจากธุลีหมองทางความคิด
ย่อมเป็นทัศนียภาพที่งดงามที่สุดของมนุษยโลก
• ในการบรรยายวันนี้
ข ้าพเจ ้าจึงอยากจะอาศัยฤดูกาลทั้งสี่นี้
เป็นเครื่องหมาย
แสดงให ้เห็นจิตวิญญาณที่ต่างกัน
• แต่ก็เสมือนกันของปรัชญาขงจื่อ ปรัชญามั่วจื่อ
ปรัชญาเต๋า
และปรัชญานิตินิยม
• สี่แนวคิด
ที่เป็ นเอกลักษณ์ของจิตวิญญาณแบบจีน
๑.วสันต์ฤดูของจิตวิญญาณ
เนื้อห
า
• สาหรับชีวิตที่ดาเนินอยู่ในภูมิลักษณ์
ที่แบ่งเป็นสี่ฤดูกาลชัดเจนนั้น
• ความรู้สึกหลัก ๆ
ที่..วสันตฤดู
หรือฤดูใบไม ้ผลิ
นามาให ้ก็คือ
ความอบอุ่นและการกาเนิดเกิดขึ้น
ฤดูใบไม ้ผลิ
นามาให ้ก็คือ ความอบอุ่นและการ
กาเนิดเกิดขึ้น
เนื้อห
า
• ฝนวสันต์ โปรยผ่านกาแพง ยามวสันต์
กาแพงวสันต์ ก็ผลิออกซึ่งดอกหญ ้า ยามวสันต์
• นงรามวสันต์ เริ่มคิดถึง จิตยามวสันต์
สกุณาวสันต์ ก็เริงร ้องบนต ้นพฤกษ์ ยามวสันต์
เสริ
ม
แผ่นดินฟื้นคืนชีวิต
สรรพสิ่งก็งอกงามเคลื่อนขยับ
เนื้อห
า
• ถ ้อยคาใน คัมภีร ์โจวอี้
กล่าวว่า
“คุณลักษณ์อันยิ่งใหญ่ของฟ้าดิน
เรียกว่า ก่อกาเนิด” นั้น
• เราอาจจะเข ้าถึงสารัตถะได ้แจ ้งชัด
พอที่จะทาให ้จิตใจผู้คนหวั่นไหวได ้
ก็ในยามวสันต์นี้เอง
โจวตุนอี๋
ปราชญ์ใหญ่ สมัยซ่ง
“ไม่ถางหญ ้ารกปรกเต็มริมบัญชร”
เนื้อห
า
• โดยถือว่า “มีความหมายดุจเดียวกับตนเอง”
ก็สะท ้อนให ้เห็นการก่อกาเนิดของฟ้าดินได ้ชัดเจน
เฉิงอี๋
ก็เขียนบทกวีไว ้บทหนึ่ง
กล่าวว่า
เนื้อห
า
• เมฆบางบาง ลมอ่อนอ่อน ตอนเจียนเที่ยง
บุปผาเคียง ทางหลิว สู่ธารเบื้องหน้า
• คนไม่รู้ว่า ฉันชื่น รื่นวิญญา
จะค่อนว่า เกียจคร ้าน ปานผู้เยาว์
ยามที่สัมผัสหรือเข ้าถึง
ความปรานีของฟ้าดิน
ที่มีต่อการให ้กาเนิดชีวิต
• ความปีติสุขในดวงใจ
ย่อมเกิดขึ้นได ้เอง
โดยธรรมชาติ
เนื้อห
า
เมื่อพิจารณาจากสารัตถะโดยรวม
แล ้ว
เนื้อห
า
• ปรัชญาขงจื่อ
ย่อมอยู่ในสังกัดแห่งฤดูใบไม ้ผลิ
โดยมิพักต ้องสงสัย
• แนวคิดสานักนี้
เต็มไปด ้วยความอบอุ่น
• ไม่ว่าจะเป็นเนื้อหาในคัมภีร์ตัวบท
หรือชิวิตปฏิปทา
ของ..ปราชญ์สานักขงจื่อ..เอง
เสริ
ม
คนโบราณ
มีคากล่าวเปรยถึง “ไออุ่นแห่ง
คัมภีร์หลุนอี่ว์”
• ซึ่งบ่งบอกถึงอารมณ์ความรู้สึก
เมื่อได ้อ่านคัมภีร์เล่มดังกล่าว
• การพรรณนาบุคลิกภาพของตัวขงจื่อเอง
ก็มักผูกพันอยู่กับคาว่า “อบอุ่น” เสมอ
• ไม่ว่าจะเป็นคาว่า
“อบอุ่นดีงามสมถะนอบน้อมยอมตน”
“ทีท่าสง่าน่าอบอุ่น”
หรือ “เมื่อใกล ้ก็อบอุ่น” เป็นต ้น
เนื้อห
า
เมื่อประมวลความแล ้ว
ความอบอุ่นของคัมภีร์และชีวิต
ล ้วนมีที่มาจากแหล่งเดียวกัน
• นั่นก็คือ “เหริน(仁)”
หรือความมีมนุษยธรรม
ซึ่งเป็นหัวใจของแนวคิด
เนื้อห
า
ในคัมภีร์
หลีว์ซื่อชุนชิว
เนื้อห
า
• ได ้เสนอให ้ใช ้คาว่า “เหริน” นี้
เป็นคาสรุปสังเขปความคิดของขงจื่อทั้งหมด
• เท่ากับบอกว่า ขงจื่อให ้ค่าแก่คาว่า “เหริน” เป็นอัน
มาก
• ซึ่งข ้าพเจ ้าเห็นว่า
เป็นข ้อเสนอที่เหมาะสมอย่างยิ่ง
หากจะใช ้คาอีกคาหนึ่ง
มาอธิบาย คาว่า “เหริน”
• คา ๆ นั้น
ย่อมต ้องเป็นคาว่า “รัก(爱)”
ผู้มีมนุษยธรรมย่อมรักมนุษย์”
นั่นคือข ้อความที่ขงจื่อตอบคาถามของลูกศิษย์
ซึ่งเราก็รู้จักคุ้นเคยกันดีอยู่
• โดยนัยนี้
ปรัชญาขงจื่อ
อาจเรียกได ้ว่าเป็น “ปรัชญาแห่งความรัก”
เนื้อห
า
ตั้งแต่ชีวิตที่ดาเนินอย่างเต็มเปี่ยม
ด ้วยความรัก
เนื้อห
า
• แผ่ออกไปถึงสายสัมพันธ์ต่าง ๆ
ความเป็นระเบียบและการบ ้านการเมือง
ไปจนถึงตลอดทั่วทั้งโลก
อะไรคือรัก
เนื้อห
า
• หรืออีกนัยหนึ่ง
แนวคิดแบบขงจื่อเข ้าใจความรักอย่างไร
• ข ้าพเจ ้าอยากจะทดลองอธิบาย
โดยพิจารณาจาก 3 แง่มุมดังนี้
• ประการแรก
เพื่อพิจารณาหาพื้นฐานที่ชัดเจน
จึงถือกันว่า
ความรัก
ตั้งหลักปักฐานอยู่ที่จิตและกมลสันดานธาตุเดิม
มีข ้อความหนึ่ง
จาก..ติ้วไม ้ไผ่แห่งสุสานกัวเตี้ยน
กล่าวไว ้ว่า “รักเกิดจากกมลสันดาน
ธาตุเดิม”
• จึงอาจกาหนดได ้ว่า
ความรักคืออะไรบางอย่าง
ที่แฝงประกอบอยู่
ภายในตัวมนุษย์มาแต่ดั้งเดิม
• ในขณะเดียวกัน
ความรัก
ก็ตั้งฐานอยู่ที่จิต
เป็นเหตุผลความรู้สึกที่หลั่งไหลออกมาจากจิต
เนื้อห
า
เราอาจจะกล่าวไปได ้
ถึงขนาดว่า
• ความรักคือสิ่งที่ทาให ้มนุษย์เป็นมนุษย์ได ้
• จากพื้นฐานความเข ้าใจนี้
ย่อมสรุปได ้ว่า
ความรัก
เป็นคุณลักษณะหลักของมนุษย์
เนื้อห
า
หากไม่มีรัก
มนุษย์ก็ไม่อาจได ้ชื่อว่าเป็นมนุษย์
เนื้อห
า
• โดยนัยนี้
เมิ่งจื่อ
จึงกล่าวไว ้ว่า
“เมื่อปราศจากความสะทกสะท ้านใจ
ย่อมไม่ใช่มนุษย์”
แง่มุมประการที่สอง
เนื้อห
า
• ความรัก
ย่อมชี้เป้าไปที่บุคคลอื่น ๆ หรือโลกภายนอก
• กล่าวคือเป็ นทีท่าพื้นฐานอย่างหนึ่ง
ที่มนุษย์ใช้
เมื่อเผชิญหน้ากับโลก
หรือเพื่อนมนุษย์อื่น ๆ
• กล่าวอีกนัยหนึ่ง
ความรัก
ไม่ได ้มีเป้าหมายอยู่ที่ตัวของตนเอง
ไม่ใช่ความรักที่เห็นแก่ตัว
และยิ่งไม่ใช่ความรักตัวเอง
เนื้อห
า
• นี่คือความหมายที่แท ้
ของคากล่าวที่ว่า “ผู้มีมนุษยธรรม ย่อมรักมนุษย์”
• ปรัชญาขงจื่อ
มองว่า มนุษย์ดารงอยู่ได ้
ด ้วยความสามารถในการเข ้ากลุ่ม
และไม่เห็นด ้วยกับวิถีการใช ้ชีวิต
ดังเช่นผู้ปลีกวิเวกทั้งหลาย
ที่หลีกเลี่ยงสังคม
• โดยเหตุนี้ การจัดการเรื่องความสัมพันธ ์กับบุคคล
อื่น
จึงเป็ นเรื่องจาเป็ น
และก่อนที่จะจัดการ
กับความสัมพันธ์ดังกล่าวได ้
• การทาความเข ้าใจตัวบุคคลอื่น
จึงเป็นเรื่องสาคัญมากเป็นพิเศษ
• อันที่จริง
ตัวอักษร “เหริน”
ที่ประกอบขึ้นจากอักษร “คน” กับ “สอง”
ก็บอกนัยสาคัญนี้อยู่ในตัวแล ้ว
เนื้อห
า
仁
นั่นคือ ไม่เพียงแต่ตัวเราเท่านั้นที่เป็น
คน
คนอื่นที่นอกเหนือจากตัวเรา
ก็เป็นคนด ้วยเช่นกัน
• ไม่ว่าคนอื่น ๆ เหล่านั้น
จะได ้รับการขนานนามมีชื่อเสียงว่าอะไร
หรือได ้รับแต่งตั้งกาหนดให ้มีฐานานุรูปเป็นอะไร
ก็ล ้วนได ้ชื่อว่าเป็นคนทั้งสิ้น
เนื้อห
า
การสามารถเข ้าใจได ้เช่นนี้ก็คือ
“เหริน” ก็คือ “รัก”
• และมีแต่จะต ้องอาศัยความเข ้าใจเช่นนี้
เป็นพื้นฐานในการดาเนินกิจต่าง ๆ เท่านั้น
จึงจะเป็นการ “รักมนุษย์”
• ด ้วยเหตุนี้
การรักจึงจาเป็นจะต ้องครอบคลุม
ถึงหน้าที่ความรับผิดชอบของตน
ที่มีต่อโลกและบุคคลอื่น ๆ ด ้วย
เนื้อห
า
ประการที่สาม
ความรัก
คือทีท่าและความรู้สึกที่มีลักษณะเป็น
องค์รวม
เนื้อห
า
• ในการรัก
ตัวตนของตนกับโลกและคนอื่น
จะหลอมรวมเข ้าเป็นหนึ่งเดียวกัน
โดยนัยนี้
• การประกอบของตัวอักษร “เหริน”
อันที่จริง
ก็เต็มไปด ้วยนัยแห่งการบรรสานเข้าด้วยกันของคน
สองคน
เช่นบิดากับบุตรบรรสานกันเป็นหนึ่ง
เจ ้ากับข ้าบรรสานกันเป็นหนึ่ง
สามีกับภริยาบรรสานกันเป็นหนึ่ง เป็นต ้น
• อาศัยหลักสองคน
บรรสานเข ้าด ้วยกัน
เป็นหนึ่งทานองนี้
ค่อย ๆ แผ่ขยายออกไปเรื่อย ๆ
เนื้อห
า
จนในที่สุด
สรรพสิ่งก็จะบรรสานรวมเข ้าเป็น
หนึ่งได ้
เนื้อห
า
• เมิ่งจื่อ
กล่าวว่า
“รักสนิทชิดเชื้อในเครื่อญาติ
เมตตาปวงประชาและรักปรานีต่อส่าสัตว์”
ก็เป็นคากล่าว
ที่แสดงกระบวนการแผ่ขยายดังกล่าว
• แจกแจงแนวคิดเรื่อง “สรรพสิ่งในร่างเดียว”
เสริ
ม
หากจะชี้โดยอ ้าง
จังไจ ้..กับ..หวังหยังหมิง
เนื้อห
า
• บทประพันธ์ “ซีหมิง” ของ..จังไจ ้
มอง..ฟ้า
ว่าเป็นครอบครัวขนาดใหญ่มนุษย์
และสรรพสิ่ง
ต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของครอบครัวเดียวกันนี้
เมื่อเรียก “เฉียน(乾)”ว่าคือบิดา
“เรียก คุน(坤)” ว่า คือมารดา
เนื้อห
า
• ตัวเราก็เล็กกระจ้อยร่อย
เคล ้าคลุกอยู่หว่างกลางนั้นนั่นเอง
• ดังนี้
องค์ประกอบแห่งธาตุฟ้าดิน
ก็เป็นเสมือนหนึ่งองคาพยพของเรา
• เครื่องชี้นาทิศทางของฟ้าดิน
ก็เป็นเสมือนหนึ่งธรรมชาติธาตุเดิมของเรา
เหล่าประชาราษฎร์
ก็เป็นเสมือนหนึ่งผู้ร่วมครรภ์มารดา
เดียวกับเรา
เนื้อห
า
• สรรพสิ่งทั้งหลาย
ก็เป็นเสมือนพงศ์พันธุ์เดียวกับเรา
• เจ้าฟ้าเจ้าแผ่นดิน
เสมือนหนึ่งบิดามารดาผู้เป็นประมุขบ ้าน
• ปวงอามาตย์เป็นเสมือนพ่อบ ้านรับใช ้ประมุข
• นับถือวัยวุฒิ
ก็เสมือนหนึ่งการเห็นผู้ใหญ่ว่าเป็นผู้ใหญ่
• ปรานีผู้อ่อนผู้น้อย
ก็เสมือนหนึ่งการเห็นเด็กว่าเป็นเด็ก
อริยมนุษย์
ก็คือผู้ประสานจรรยาให ้สอดคล ้อง
เนื้อห
า
• ปราชญ์ผู้ปรีชา
ก็คือผู้ตกแต่งขัดเกลา
• หวังหยังหมิง
ใช ้มิติด ้านจิตมนุษย์
พรรณาแนวคิดเรื่องสรรพสิ่งล ้วนเป็นหนึ่ง
ในความเห็นของเขา
• การที่โลกภายนอก
สามารถเป็นเหตุสร้างความสะเทือนใจให ้แก่มนุษย์ได ้
ย่อมเป็นพยานยืนยันถึงความเป็นหนึ่งเดียวดังกล่าว
โดยปริยาย
• อันมหศาสตร์นี้
เหล่าปราชญ์สานักขงจื่อ
แต่โบราณ
ถือกันว่าคือศาสตร์ของผู้ใหญ่
เนื้อห
า
ใคร่ขอเรียนถามว่าศาสตร์ของ
ผู้ใหญ่นี้
เหตุใดจึงอยู่ที่การทาจรรยาบารมี
ให ้แจ้ง
เนื้อห
า
• ท่านอาจารย์หยังหมิง
กล่าวว่า
“ผู้ใหญ่ คือผู้ที่ถือเอาดินฟ้าและสกลสิ่งเป็นรูป
เดียวกัน
เห็นใต ้ฟ้าเป็นดุจครอบครัวเดียวกัน
เห็นผู้คนทั้งมวลในประเทศเขตแคว ้นเป็นเสมือนคน
คนเดียว
หากมีผู้อาศัยรูปลักษณ์
แบ่งแยก ว่าเป็นเรา ว่าเป็นท่าน
นั่นคือผู้ต่าช ้าโดยแท ้
เนื้อห
า
• การที่ผู้ใหญ่
สามารถถือเอาดินฟ้าและสกลสิ่ง
เป็นรูปเดียวกันได ้นั้น
ก็หาใช่เป็นการตั้งเจตนา
• หากแต่เป็นเพราะพื้นฐานทางจิตช่วยนาไป
การร่วมเป็นหนึ่งกับดินฟ้าและสกลสิ่ง
ก็ใช่ว่าจะมีจาเพาะเพียงผู้ใหญ่เท่านั้น
• แม ้จิตของผู้ต่าช ้า
ก็ใช่ว่าจะไม่เป็นเช่นนั้น เพียงแต่เห็นตนเองว่าต่าช ้า
เท่านั้น
ดังนี้ เมื่อเห็นเด็กทารก
จะตกลงไปในสระ
เนื้อห
า
• จิตก็ย่อมเกิดความหวั่นหวาด
สะทกสะท ้านต่อเหตุการณ์นั้น
• นี้ก็คือมนุษยธรรมในตัว
เข ้าไปรวมเป็นหนึ่งเดียวกับเด็กทารกนั้น
นั่นเอง
• เด็กทารก
ยังถือว่าเป็นพงศ์พันธุ์เดียวกัน
แต่ครั้นเมื่อได ้เห็นสัตว์จตุบททวิบาท
คร่าครวญร้องกลัวตัวสั่น
ก็เกิดจิตที่ไม่อาจทนอยู่ได ้
เนื้อห
า
• นี้ก็คือมนุษยธรรมในตัว
เข ้าไปรวมเป็นหนึ่งเดียวกับสัตว์เหล่านั้น
นั่นเอง
• เหล่าสัตว์
ยังถือว่าเป็นพวกที่เคลื่อนที่มีความรู้สึก
แต่ครั้นเมื่อพบเห็นต ้นไม ้ใบหญ้า
หักโค่นล ้มลง
ก็เกิดจิตคิดสงสารขึ้น
• นี้ก็คือมนุษยธรรมในตัว
เข ้าไปรวมเป็นหนึ่งเดียวกับต ้นไม ้ใบหญ ้าเหล่านั้น
นั่นเอง
• ต ้นไม ้ใบหญ้า
ยังถือว่าเป็นพวกมีกาเนิดเป็นชีวิตอยู่
เนื้อห
า
• แต่ครั้นเมื่อได ้เห็นกระเบื้องก ้อนกรวด
แตกหักป่ นปี้ ก็เกิดจิตคิดนึกเสียดายขึ้นมา
• นี้ก็คือมนุษยธรรมในตัว
เข ้าไปเป็นหนึ่งเดียวกับกรวดกระเบื้องนั้น
นั่นเอง
• นี่ก็คือมนุษยธรรมที่อยู่ในรูปเดียวกัน
แม ้จะเป็นจิตของผู้ต่าช ้า
ก็ย่อมมีอยู่เช่นกัน
เนื้อห
า
เนื้อห
า
จากความหวั่นหวาดสะท ้านสะทก
จนถึงการคร่าครวญร ้องกลัวตัวสั่น
• จากจิตที่คิดสงสารไปจนถึงการนึกเสียดาย
• ตัวตนของเราเอง
เป็นดังร่างเดียวกัน
กับนกกาสาราสัตว์ ต ้นไม ้ใบหญ ้า
และก ้อนกรวดก ้อนหิน
เนื้อห
า
ดังนั้น ฟ้าดินและสรรพสิ่ง
จึงสามารถแสดงออกให ้เห็นถึง
การร่วมกาย ร่วมความรู้สึกให ้เห็นได ้
• แน่นอนว่าการเป็นร่างเดียวกันนี้
มิได ้หมายถึงการร่วมอยู่เหมือน ๆ กัน
หรือในส่วนทุกส่วนของโลก
• ไม่ว่าจะเป็น“รักสนิทชิดเชื้อในเครือญาติ
เมตตาปวงประชาและรักปรานีต่อส่าสัตว์”
• หรือจะเป็นความสะทกสะท ้านหวั่นกลัว หรือสงสาร
เสียดาย
ต่างมีสถานภาพความแตกต่างภายในอยู่
• นี่จึงเรียกว่ารักมีการแบ่งแยกชั้น หรือ กฎเกณฑ์
ที่แยกกระจายออกไป
เนื้อห
า
ความเข ้าใจของปรัชญาขงจื่อ
ที่มีต่อเรื่องความรักเช่นนี้
• ทาให ้..ชาวสานักขงจื่อ..ทั้งหลาย
มีชีวทัศน์และทิศทางการดาเนินชีวิตที่แจ่มแจ ้ง
ชัดเจน
• ความรัก
ทาให ้โลกนี้
เป็นองค์รวมแห่งน้าหนึ่งเดียวกัน
• ดังนั้น ชีวิตของแต่ละปัจเจกบุคคล
จะมีความหมายได ้ก็โดยการสัมพันธ์เกี่ยวข ้องกับองค์
รวมดังกล่าวนี้
เนื้อห
า
ขงจื่อ
กล่าวไว ้ว่า
“ถือว่าชะตากาหนดให ้มาใช ้ชีวิตร่วมกัน
กับกลุ่มฝูงชนเดียวกัน
และปฏิเสธการหลีกลี้จากสังคมของพวกนักปลีกวิเวก
อย่างเด็ดขาดชัดแจ ้ง”
• ทีท่าทัศนะเช่นนี้
ย่อมทาให ้ตนเอง
เกิดมีภาระต ้องรับผิดชอบต่อโลกและบุคคลอื่น ๆ ขึ้น
โดยปริยาย
เนื้อห
า
ขงจื่อ
ได ้แสดงปณิธานของคน
ไว ้ว่า
“ อุดมคติของขงจื่อ
จึงไม่ใช่การมุ่งแสวงหาความสงบสุขให ้แก่ตนเอง
หากแต่อยู่ที่การพยายามสร ้างสันติสุข
ให ้แก่ผู้ชรา ผู้เยาว์ ตลอดจนมิตรสหายทั้งมวล”
• ผู้ที่สามารถสร ้างสันติสุขให ้แก่ผู้อื่นได ้
อย่างหลากหลาย
ย่อมได ้ชื่อว่าเป็น วิญญูชน
เป็นอริยมนุษย์ หรือเป็นอริยกษัตริย์
เนื้อห
า
จากจุดนี้เอง
• เราจึงจะสามารถเข ้าใจ
การที่..ขงจื่อ
พเนจรไปตามแว่นแคว ้นต่าง ๆ
• เข ้าใจการจาใจเข ้าพบ..หนานจื่อ
• เข ้าใจการยึดถือคติ
ว่า “รู้อยู่ว่าไม่อาจกระทาได ้
แต่ก็ลงมือกระทาไป”
เนื้อห
า
ตลอดจน
• เข ้าใจความรื่นรมย์ของ..ขงจื่อ
ในการรับลูกศิษย์มาอบรมสั่งสอน
• ขงจื่อ
ไม่เคยกังวลว่าตนเองจะยากดีมีจนอย่างไร
• สิ่งที่ทาให ้กังวลก็คือ วิถีธรรม
หรืออีกนัยหนึ่ง
คือ การครุ่นคะนึงถึงว่า
จะสามารถนาเรื่องความรัก
มาใช้ได้ในโลกแห่งความเป็ นจริงหรือไม่
เนื้อห
า
เพื่อที่จะให ้ความรักเกิดผลเป็นจริง
ขึ้นได ้ในโลกนี้
• นอกจากการเพียรพยายาม
ยึดถือหลักการให ้มั่นคงแล ้ว
• การพิเคราะห์พิจารณาในแง่วิธีปฏิบัติ
ก็เป็นเรื่องจาเป็นที่ขาดไม่ได ้
• พวกเราควรจะรักคนอื่นด ้วยวิธีการอย่างไร
ควรจะเข ้าไปแบกรับความรับผิดชอบต่อมนุษย์คนอื่น
ๆ
หรือต่อโลกอย่างไร
เนื้อห
า
ดูไปแล ้ว
• ข ้อเสนอที่สาคัญที่สุดของสานักขงจื่อ
ก็คือกระบวนการ “ผลักดันตนเองให ้เข ้าถึงคนอื่น”
และกระบวนการ “จากใจถึงใจ”
• การ “ร ้อยเรียงเป็นหนึ่ง” ของ..วิถีธรรม..ขงจื่อ
มีเพียงแค่ “จง(忠)” กับ “ซู่(恕)” เท่านั้น
เนื้อห
า
“จง” ก็คือ
• การที่เมื่อ “ตนปรารถนาจะตั้งมั่น ก็ตั้งมั่นให ้คนอื่น
เมื่อตนปรารถนาจะบรรลุ ก็ทาความบรรลุให ้คนอื่น”
• ส่วน “ซู่” ก็คือ
“เมื่อตนไม่ปรารถนาสิ่งใด พึงไม่ทาสิ่งนั้นให ้เกิดแก่
คนอื่น”
• สังเกตเห็นได ้ไม่ยากว่า ข ้อความทั้งสาม ที่ยกมา
กล่าวนี้
ล ้วนขึ้นต ้น ด ้วยคาว่า “ตน”
และลงท ้ายด ้วยคาว่า “คนอื่น” ทั้งสิ้น
• ล ้วนมีแนวทาง “ผลักดันตนเองให ้เข ้าถึงคนอื่น”
ั
เนื้อห
า
หากพิจารณาจากโครงสร ้างของ
ตัวอักษร
• ทั้งอักษร “จง” กับ “ซู่”
ก็สัมพันธ์กับ “จิตใจ” ชัดเจนอยู่
• ตัวอักษร “หรู (เสมือน)” กับ “ซิน(จิตใจ)”
ที่ประกอบเป็นตัวอักษร “ซู่”
ก็คือการสื่อความหมาย “จากใจถึงใจ” อยู่ในตัว
เนื้อห
า
ในทัศนะของสานักขงจื่อ
• เราจะต ้องอาศัยตัวตนของตน
ไปทาความเข ้าใจโลกและคนอื่น
• พร ้อมทั้งใช ้ฐานความเข ้าใจที่ได ้มานี้
ไป “ผลักดันตนเอง” ให ้การรักคนอื่นเกิดเป็นจริงขึ้น
ได ้
• ดังเช่น
ถ ้าหากตนเองปรารถนาจะตั้งมั่น
ก็จงช่วยเหลือให ้คนอื่น “ตั้งมั่น”
ถ ้าตนเองปรารถนาจะบรรลุเป้าหมาย
ก็จงช่วยเหลือให ้คนอื่น “บรรลุ”
เนื้อห
า
หากตนเอง ไม่ต ้องการให ้คนอื่น
กระทาการใดต่อตน
ก็จงอย่าได ้กระทาการสิ่งนั้นต่อคน
อื่น
• เราย่อมเข ้าใจได ้ไม่ยากว่า
วิธีการเช่นนี้
จะสมเหตุสมผลได ้ จาเป็นต ้องตั้งอยู่บน
มูลบทที่ว่า
คนกับคนสื่อสารกันได ้
และมีพื้นฐานความสามารถที่จะเข ้าใจซึ่งกันและกัน
เนื้อห
า
เพื่อรับรอง
มูลบทนี้
• ชาวสานักขงจื่อ
จึงยืนยันเชื่อมั่นมาตลอด
ในเรื่องธาตุเดิมที่มนุษย์..มีร่วมกันอยู่
• ในข ้อนี้
อาจพบเห็นได ้ในข ้อความต่าง ๆ ที่พร่าสอนกันอยู่
เช่น
“ในสมุทรทั้งสี่ มีธาตุเดิมร่วมกันเป็นหนึ่ง”
หรือ “ทางสมุทรบูรพา
มีเหล่าอริยมนุษย์บังเกิดขึ้น มีจิตใจที่เหมือนกัน มี
หลักการที่เหมือนกัน
เนื้อห
า
ทิศทั้ง 4
เสริ
ม
• ทางทักษิณสมุทร
มีเหล่าอริยมนุษย์บังเกิดขึ้น
มีจิตใจที่เหมือนกัน มีหลักการที่เหมือนกัน
• ทางสมุทรด ้านประจิม
มีเหล่าอริยมนุษย์บังเกิดขึ้น
มีจิตใจที่เหมือนกัน มีหลักการที่เหมือนกัน”
เป็นต ้น
เนื้อห
า
การเชื่อว่า
ธาตุเดิมมนุษย์กับจิตวิญญาณ
สื่อถึงกันได ้นี้
• เป็นเหตุให ้การทาความเข ้าใจซี่งกันและกัน
เป็นเรื่องที่มีความเป็นไปได ้
• พวกเราย่อมสามารถที่จะสาเหนียกรู้ถึง
อารมณ์รักโลภโกรธหลงของคนอื่น ๆ ได ้
• และด ้วยเหตุนี้เอง
ที่เราย่อมสามารถรักคนอื่นได ้
สามารถรักโลกนี้ได ้
เนื้อห
า
๒.คิมหันตฤดูแห่งจิตวิญญาณ
• ฤดูร ้อน
ให ้ความรู้สึกร ้อนระอุ
อุณหภูมิอันอบอ ้าว
ฝนฟ้าคะนอง และพายุเกรี้ยวกราด
• ล ้วนเป็นบรรยากาศที่ฮึกห้าว
ชวนให ้โลดเต ้น
เติบใหญ่ตามความเจริญของสรรพสิ่ง
ผืนโลกดูจะมีความหนาแน่นเบียดเสียดขึ้น
ยิ่งกว่า ฤดูใบไม ้ผลิ
ที่เพิ่งผ่านไป
เนื้อห
า
เนื้อห
า
สภาวะเช่นนี้
• คล ้ายคลึงกับอารมณ์คุณสมบัติ
ของ..ปรัชญา
สานักมั่วจื่อ
• ความรู้สึก
ซึ่งสานักคิดนี้
แสดงออกปรากฏต่อโลกที่โดดเด่นสุด
ก็คือ
อุดมคติอันเร่าร้อน
ดุจดังเพลิงไฟ
เนื้อห
า
มั่วจื่อ
ผู้บุกเบิกสานักนี้
เนื้อห
า
• แรกเริ่มเดิมที
ก็ศึกษาเล่าเรียนมาในสานักขงจื่อ
• ดังนั้น จึงคุ้นเคยกับคาสอนที่บอกว่า
ความรักมีรูปแบบและลาดับชั้นแตกต่างกันอยู่
• แต่ไม่ได ้พอใจเชื่อตาม
• เพราะในทัศนะของมั่วจื่อ
หากเห็นว่ารักตนเองเหนือกว่ารักคนอื่นอย่างมีขีดขั้น
ต่างกัน
ก็จะเป็นเหตุให ้โลกนี้
เต็มไปด ้วยอคติความขัดแย ้งและสงคราม
มั่วจื่อ
จึงเสนอหลักการ
“ใช ้ความพ ้องแทนความแบ่งแยก”
เนื้อหา
• ความแบ่งแยก
หมายถึง
หลักการของสานักขงจื่อ
ที่ถือว่าความรัก
ย่อมมีแยกแยะหนักเบามากน้อยตามสายสัมพันธ์
สนิทห่างต่างกัน
เช่น รักบิดาของตนเองเหนือกว่ารักบิดาของผู้อื่น
รักประเทศเขตแคว ้นของตน
มากกว่าประเทศเขตแคว ้นของผู้อื่น เป็นต ้น
ส่วน
ความพ ้อง..นั้น
หมายถึง ความรักที่ร่วมกันเป็นลักษณะ
เดียว
คือ รักคนอื่นเทียบเท่ากับรักตนเอง
จึงเท่ากับรักที่แผ่ขยายไร้การแบ่งแยก
เช่น
“มองประเทศเขตแคว ้นของผู้อื่นเสมือนดังเขตแคว ้น
ของตน
มองครอบครัวของคนอื่นเสมือนดังครอบครัวของตนเอง
มองร่างกายของคนอื่นเสมือนดั่งร่างกายของตนเอง”
เป็นต ้น
เนื้อหา
มั่วจื่อ
ต ้องการจะนาหลักการความรักสากล
มาแทนการรักอย่างมีการแบ่งแยก
• ในทางหนึ่ง
ยังคงธารง จิตสานึกแห่งความรัก
ซึ่งมนุษย์ต่างปรารถนาที่สุด
• ในอีกทางหนึ่ง
ก็หลีกเลี่ยงปัญหาที่อาจจะบังเกิดขึ้น
เนื่องจากความรักที่ต่างแบบกัน
เนื้อหา
ในบรรดามรดก
ปรัชญาจีนโบราณ
• มั่วจื่อ
เป็ นผู้ที่พิถีพิถันมาก
ในเรื่องการใช้ตรรกวิธี
เนื้อหา
หลักตรรกะอันหนึ่ง
กล่าวแจงไว ้ว่า
“ผู้ที่รักคนอื่น คนอื่นก็จะรักตอบ
ผู้ให ้ประโยชน์แก่คนอื่น คนอื่นก็จะให ้ประโยชน์ตอบ
แทน
ผู้ที่ชังคนอื่น คนอื่นก็จะชังตอบ
ผู้ที่ให ้ร ้ายแก่คนอื่น คนอื่นก็จะให ้ร ้ายตอบแทน”
• ด ้วยเหตุนี้
ในยามที่เรารักประเทศเขตแคว ้นและบิดาของคนอื่น
คนอื่นก็จะรักประเทศเขตแคว ้นและบิดาของเรา
เป็นการตอบแทน
เนื้อหา
หากกระทาในทางตรงกันข ้าม
ผลก็จะเป็นทานองเดียวกัน
เนื้อหา
• ผลของความรักสากล
ก็คือ ต่างก็จะได ้ประโยชน์จากกันและกัน
• ดังคากล่าวที่ว่า
“ต่างรักกันและกัน แลกประโยชน์กันและกัน”
• ฟังแล ้วก็สมเหตุสมผล
ตามหลักตรรกะดีอยู่
แต่การดาเนินชีวิต
ก็ไม่ได ้เท่ากับการใช ้หลักตรรกวิธี
ในความเป็นจริง
เนื้อหา
• เมื่อเรามอบรักแก่คนอื่น
ก็ใช่ว่าจะแลกเปลี่ยนได ้รักจากคนอื่นมาเสมอไป
• มีคนจานวนมาก
จัดให ้มั่วจื่อเป็นนักคิดแบบผลประโยชน์นิยม
• เพราะอธิบายเป้าหมายของความรักสากล
ว่าจะทาให ้ได ้มาซึ่งผลประโยชน์ร่วมกันในที่สุด
• ในความเห็นของข ้าพเจ้า
มั่วจื่อ
น่าจะเป็นพวกอุดมคติที่อาศัยอยู่แต่ในโลกของ
ตรรกวิธี
หรือจะกล่าวให ้หนักข ้อขึ้น
ก็คือพวกที่นิยมสร ้างวิมานใน
อากาศ
เนื้อหา
• คนคนหนึ่ง
ก็อาจจะปฏิบัติตน
จนถึงขั้น “เห็นคนอื่นเหมือนตัวเอง” ได ้
• แต่เหตุใด
จะต ้องเรียกร ้องให ้คนอื่น
ต ้องปฏิบัติตามเกณฑ์ความคิดเช่นนี้
ด ้วยเล่า
ศิษย์สานักขงจื่อ
ประสบความสาเร็จ
ในการสืบทอดมรดกความคิดได ้นั้น
เนื้อหา
• ส่วนใหญ่
ก็เพราะตั้งอยู่บนพื้นฐานความจริง
ของกมลสันดานธาตุแท ้มนุษย์
โดยเฉพาะ
การเน้นในเรื่องความสัมพันธ์ทางสายโลหิต
• การยอมรับสัมพันธภาพทางสายโลหิต
ทาให ้มนุษยสัมพันธ์ที่มีความต่างห่างชิดสนิทไกล
เป็นเรื่องธรรมดา
การสนับสนุนความคิดที่ว่าความรักมี
ชั้นมีขีดขั้นต่างกัน
จึงเท่ากับตั้งอยู่บนพื้นฐานที่เป็นไป
ตามธรรมชาติ
เนื้อหา
• ดูเหมือน
มั่วจื่อ
พยายามจะปลดปมพันธนาการ
ในเรื่องความสัมพันธ์ทางสายโลหิต
• แนวคิดเชิงการเมืองของเขา
ที่สนับสนุนยกย่องผู้มีคุณสมบัติความสามารถ
มุ่งต่อต ้านระบบสนับสนุนเครือญาติตามแนวคิดสานัก
ขงจื่อ
ก็เป็นการคิดตามตรรกวิธีเช่นนี้เอง
เราคาดการณ์ได ้ไม่ยาก..ว่า
แนวความคิดของมั่วจื่อ
ย่อมเผชิญกับการวิพากษ์ท ้าทาย
อย่างหนัก
เนื้อหา
• มั่วจื่อ
ให ้จัดตั้งกลุ่มคน
เป็นขบวนการที่มีกรอบระเบียบข ้อห ้ามข ้อบังคับอย่าง
เข ้มงวด
ตั้งเป้ าหมาย
ว่าจะทาให้หลักการความรักสากล
กับหลักการปฏิเสธสงคราม
เป็ นจริงขึ้นได้ในทางปฏิบัติ
กลุ่มขบวนการเหล่านี้
เนื้อหา
• แม ้จะแตกฉานซ่านกระเซ็นไป
หลังจากที่มั่วจื่อตายไปแล ้ว
• แต่ก็ยังคงสืบทอดอุดมการณ์กันต่อมาอีก
• ผู้นาขบวนการ
จะเรียกชื่อว่า “จี้ว์ จื่อ(钜子)”
จะเป็นเหมือนสมาชิกกลุ่มทั่วไป
คือมีจิตพร ้อมที่จะเสียสละอุทิศตน
ยอมตนอยู่อย่างยากแค ้น
มุ่งสร ้างสรรค์ผลประโยชน์ให ้แก่โลก
อยู่ตลอดวันตลอดคืน
สาหรับเรื่องที่เที่ยงธรรมทั้งหลาย
เนื้อหา
• ศิษย์สานักมั่วจื่อ..ทั้งหลาย
ก็จะสามารถ “บุกน้าลุยไฟ ยอมตายโดยไม่ลังเล”
คล ้ายกับ
พฤติการณ์ของผู้เยี่ยมวีรยุทธ์พเนจร
ที่เกิดขึ้นในยุคหลังต่อมา
เนื่องจาก
กลุ่มขบวนการศิษย์สานักมั่วจื่อ
มีกิจกรรมดารงอยู่
เนื้อหา
• ปรัชญามั่วจื่อ
จึงค่อนข ้างมีอิทธิพลใหญ่หลวงอยู่ในสมัยจั้นกั๋ว
• ยืนหยัดทัดเทียมกับสานักขงจื่อ
• แต่ครั้นถึงสมัยราชวงศ์ฮั่น
ก็อ่อนกาลังลงอย่างรวดเร็ว
• เมื่อลองสันนิษฐานถึงสาเหตุ
ก็น่าจะเป็ นเพราะว่า
แนวคิดอุดมการณ์กับสภาวะของโลกในความเป็ น
จริง
มีช่องว่างถ่างจากกันยิ่งขึ้นเรื่อยๆ
การพยายามส่งเสริมการ “พ ้อง”
ประโยชน์
เมื่อต ้องพบกับโลกที่พยายาม
“แบ่งแยก”
เนื้อหา
• ย่อมเกิดภาวะอีหลักอีเหลื่อ
ไปด ้วยกันไม่ได ้เป็นธรรมดา
• โลกหล ้า..ก็ไม่แน่ว่า จะเปลี่ยนแปลงไป
แต่หากส่งเสริมหลักการที่ไม่สอดคล ้องเหมาะสม
หลักการนั้น
ก็ย่อมจะเสื่อมสิ้นความนิยมไปเอง
เนื้อหา
• ดังถ ้อยคาในบท “ใต ้ฟ้า” ของ..คัมภีร์จวงจื่อ
• ที่กล่าวไว ้ว่า
“มั่วจื่อเป็นผู้รักโลกอย่างแท ้จริง
แม ้จะไม่ได ้ดังที่หวังไว ้
แสนยากลาบากก็ไม่ทิ้งปณิธาน
นับเป็นวีรชนโดยแท ้”
แต่
เนื้อหา
“วิธีการเช่นนี้ยากจะดาเนินได ้
เกรงว่าจักมิอาจเป็นวิถีแห่งอริยะ
ทวนจิตใจของคนทั้งหล ้า ทั่วหล ้ามิอาจฝืนทน
แม ้..มั่วจื่อ..อาจจะรับได ้อยู่เพียงคนเดียว
แต่ทั้งหล ้าจะเป็นไฉน
ปลีกห่างจากโลก ย่อมห่างจากทางธรรมราช”
แนวคิดที่หลีกห่างจากโลกแห่งความเป็นจริง
แม ้จะดีเลิศสักปานใด
ก็ไม่อาจจะธารงสืบเนื่องต่อไปได ้
๓. ฤดูสารทแห่งจิตวิญญาณ
เนื้อหา
• ฤดูใบไม ้ร่วง
หรือ ฤดูสารท
เป็นช่วงฤดูกาลที่ขัดแย ้งกันอยู่ในตัว
การเก็บเกี่ยว การสูญเสียไป
ความสาเร็จและการทาใจยอมรับ
คลุกเคล้าประสมกันอยู่
อย่างไม่อาจแยกจากกันได้
เสริม
นับตั้งแต่สมัยที่มีการประพันธ์
“ซือจิง” และ “ฉู่ฉือ” เป็นต ้นมา
เนื้อหา
• บรรดากวีจีน
ก็แสดงความรู้สึกเศร ้าสร ้อย
ต่อ..ฤดูใบไม ้ร่วง
เป็นขนบสืบทอดมายาวนาน
• ลมฤดูสารทพัดพา
ใบไม ้ร่วงหล่นพลิ้วผล็อย
มักชวนให ้ผู้คนเกิดอารมณ์สลด
ว่า “หดหู่นักหนา อารมณ์แห่งฤดูสารทนี้”
สภาพเช่นนี้
เนื้อหา
• จะมากจะน้อย
ก็ทาให ้ความสุขที่ได ้จากการเก็บเกี่ยวผลผลิต
จืดจางลงไปบ ้าง
จิตใจของฤดูใบไม ้ร่วง
จึงอาจแสดงออกได ้โดยผ่าน
ตัวอักษร “โฉว” (愁)
เนื้อหา
• ที่มีอักษร “ฤดูใบไม ้ร่วง”
ประกอบเข ้ากับอักษร “ใจ”
• อันเป็นอารมณ์ที่ยากจะพรรณา
หาใช่อารมณ์โศกสุขสนุกเศร ้าธรรมดาที่รู้กันอยู่ไม่
• เป็นเหมือนอารมณ์ที่มีรสชาติทั้งห ้า
ประสมประสานกัน
จนแยกไม่ออก
เสริม
กวีใหญ่..สมัยซ่งใต ้
คือ..ซินชี่จี๋
เนื้อหา
ได ้เคยเขียนบทกวีเลื่อง
ชื่อว่า ด ้วยอารมณ์ “โฉว”
ไว ้ดังนี้
• ผู้อ่อนเยาว์มิรู ้รสแห่งความตรมตรอม
ปี นป่ ายขึ้นไป ปี นป่ ายขึ้นไป
เพื่อร้อยกรองคาร่าร้องสร้างคาหมองตรม
ผู้แก่เฒ่ารู ้แล้วรสแห่งความตรมตรอม
อยากพูดก็งา อยากพูดก็งา
กลับเล่าฟ
้ าเย็นยามสารทฤดูใบร่วง
ในความเห็นของกวีผู้นี้
เนื้อหา
• ผู้เยาว์ ซึ่งยังผ่านโลกไม่มากพอ
มักจะชอบทาเป็นแสดงอารมณ์ออกได ้อย่างลึกซึ้ง
ไม่มีเหตุอันใด ก็ทาเป็นกลัดกลุ้ม
• ส่วนผู้อาวุโสผ่านร ้อนผ่านหนาวมาสาหัส
กลับสงบปากคาสงัดอยู่กับรสชาติที่ยากจะพรรณา
ออกมาได ้
ฤดูใบไม ้ร่วง
ก็อาจนับเป็นฤดูกาลแห่งความสุก
งอมได ้
เนื้อหา
• ดอกไม ้ที่เบิกบานในฤดูใบไม ้ผลิ
ใช่ว่าจะสามารถเผล็ดเป็นผลได ้ทั้งหมดในฤดูใบไม ้
ร่วง
• เฉกเช่นเดียวกับพวกเรา
ใช่ว่าจะสามารถทาความใฝ่ ฝัน
หรือความหวัง สมัยเมื่อยังเยาว์
ให ้เกิดเป็นจริงขึ้นได ้ เสียทั้งหมด
• ประสบการณ์จากความสาเร็จและความล้มเหลว
จะคอยกระตุ้นคอยเปลี่ยนแปลงจิตวิญญาณของ
พวกเราอยู่ตลอด
• และเมื่ออารมณ์โลดเต้นผ่อนจางลง
ตะกอนที่เหลืออยู่ก็คือความสงบนิ่งแจ่มชัด
ดังคากล่าวว่า
“สุดทางของความโรจน์รุ่ง คือ
ความไร ้รสสงบนิ่ง”
• อันเป็นความงดงามอีกอย่างหนึ่ง
ที่เกิดมาประดับโลก
• นั่นก็คือความสุกงอม
ซึ่งย่อมแฝงนัยแห่งความเจริญเติบใหญ่
และการหวนนึกตรึกตรอง
โดยเฉพาะ
การหวนนึกถึงฤดูใบไม ้ผลิกับฤดูร ้อน
ที่ผ่านมา
เนื้อหา
เสริม
ในความคิดของข ้าพเจ ้า
เนื้อหา
• ปรัชญาเต๋า
ควรจะเป็นแนวคิด
ที่ใช ้เปรียบให ้สัมผัสรู้
ถึงจริตแห่งฤดูใบไม้ร่วงได ้ดีที่สุด
เสริม
มรดกความคิดสายที่มี..เหลาจื่อกับ
จวงจื่อ
เป็นตัวแทนสายนี้
• ได ้วิสาสะโต ้ตอบกับสายคิดแบบ..ขงจื่อ
มาโดยตลอดอย่างไม่เคยหยุดนิ่ง
• หากเราจะกล่าวว่า “คัมภีร์หลุนอี่ว์”
มีความอบอุ่น
การอ่าน “เหลาจื่อ” และ “จวงจื่อ”
ก็คงจะให ้ความรู้สึกที่เยือกเย็น
เนื้อหา
เมื่อแรกที่ได ้อ่าน
เนื้อหา
• ความว่า “ ฟ
้ าดินไร ้จิตจักปรานี
ถือเอาสกลสิ่งเป็นดั่งหุ่นสุนัขฟาง
อริยมนุษย์ก็ไร ้จิตปรานี
ถือเอาทวยชนเป็นดั่งสุนัขฟาง”
• ความรู้สึกเยือกเย็นนั้น
ก็แผ่ซ่านลงไปถึงเบื้องลึกของชีวิตจิตใจ
ในฐานะที่ได ้ชื่อว่าเป็นครูคนหนึ่ง
ของขงจื่อ
เนื้อหา
• เป็น..ปราชญ์..ทรงภูมิ
ที่ใช ้ชีวิตอยู่ในโลกแห่งอานาจ
นานหลายสิบปี
• เหตุใด..เหลาจื่อ
จึงปฏิเสธ..เรื่อง มนุษยธรรมความรัก
โดยเฉพาะในแง่การเมืองการปกครอง
• และต่อมา..จวงจื่อ
อาศัยหลักการที่ว่า “แทนที่จะเปียกปอนด ้วยกันด ้วย
น้าลาย
มิสู้ต่างลืมว่าร่วมกันอยู่” ขยายท่าทีลักษณะเดียวกันนี้
กว ้างออกไปครอบคลุมถึงโลกของการดาเนินชีวิต
ด ้วย
นี่เป็นเรื่องที่เกี่ยวข ้องกับความรู้สึก
ขัดแย ้งกัน
อยู่ในตัวของการรักตัวตนของ
ตนเอง
• ความรัก
เปรียบเสมือน..กองไฟ กองหนึ่ง
• ในขณะที่ให ้ความอบอุ่นแก่เรา
ก็มีความเป็นไปได ้
ที่จะนาพาความไม่สะดวก
หรืออันตราย
มาสู่เราพร ้อมกันด ้วย
เนื้อหา
ตัวอย่างเช่น
การ“ผลักดันตนเองให ้เข ้าถึงคน
อื่น” ได ้นั้น
เนื้อหา
• จะต ้องอยู่ภายใต ้สมมติฐานว่า
ธาตุแท ้ของมนุษย์ทั้งหลาย
มีความละม ้ายเหมือนกันเป็นสากล
จึงจะหวังผลได ้โดยไม่มีอันตราย
• แต่ถ ้าหากว่าเราเชื่อว่า
มนุษย์มีความแตกต่างกัน
หรือถึงขนาดเป็นตรงข ้ามกันได ้
เชื่อว่าการสื่อสัมพันธ์กันเป็นเรื่องยาก
เช่นนั้นแล ้ว
• ความรักก็ดูเหมือนจะกลับกลายเป็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได ้
ที่จะงดงามเหมือนดั่งที่วาดฝันไว ้
เสริม
ในบท “สายธารฤดูสารท”
ของคัมภีร์ “จวงจื่อ”
• ได ้บันทึกถ ้อยสนทนาของ..จวงจื่อ..กับ..ฮุ่ยซือ
ซึ่งเราคุ้นเคยกันดี
อยู่ไว ้ว่า
จวงจื่อกับฮุ่ยซือ
พากันเดินท่องเล่นสาราญอยู่บนสะพาน
ข ้ามลาน้าเหา
• พลัน..จวงจื่อ
ก็เอ่ยขึ้นว่า “ดูปลาขาวตัวน้อยนั่นสิ ว่ายน้าออกมา
นี่จึงเป็นความสุขของปลาโดยแท ้”
เนื้อหา
ฮุ่ยซือ
• ถามขึ้นว่า “ท่านไม่ใช่ปลา
จะรู้ได ้อย่างไรว่าเยี่ยงนี้คือความสุขของปลา”
• “ท่านก็ไม่ใช่ตัวข ้าพเจ ้า
จะรู้ได ้อย่างไรว่าข ้าพเจ ้าไม่รู้ถึงความสุขของปลา”
• “ข ้าพเจ ้าไม่ใช่ตัวท่าน ย่อมไม่รู้ในตัวท่าน ฉันใดก็ฉัน
นั้น
ท่านไม่ใช่ตัวปลา ก็ย่อมไม่รู้ในตัวปลาเช่นกัน”
เนื้อหา
จวงจื่อ
• จึงตอบว่า “เราย ้อนกลับไปที่เดิมเถิด
ท่านถามข ้าพเจ ้าว่ารู้ได ้อย่างไรว่าปลามีความสุข
นั่นย่อมแสดงว่าท่านรู้อยู่แล ้วว่า ข ้าพเจ ้ารู้จึงได ้
ถามขึ้น
ข ้าพเจ ้ารู้ถึงความสุขของปลา
ก็บนลาน้าเหานี้
ก็แล ้วกัน”
เนื้อหา
จากข ้อความที่ว่า
เนื้อหา
• “ท่านไม่ใช่ปลา จะรู้ได ้อย่างไรว่าเยี่ยงนี้คือความสุข
ของปลา”
กับ
“ท่านก็ไม่ใช่ตัวข ้าพเจ ้า จะรู้ได ้อย่างไรว่าข ้าพเจ ้าไม่รู้
ถึงความสุขของปลา”
• ทาให ้เรารู้ว่า คู่สนทนา
ดูเหมือนจะยึดถือความเชื่อชุดเดียวกันอยู่
นั่นคือ
โดยพื้นฐานแล ้ว
คนเราไม่อาจจะรู้จักซึ่งกันและกันได ้เลย
ในความเป็นจริง
เนื้อหา
• ทีท่าของการ “ไม่มีความรู้”
ก็เป็นเนื้อหาแก่นของปรัชญาเต๋าอย่างหนึ่ง
• ไม่เพียงแต่ไม่มีความรู้ในตัวคนอื่นๆเท่านั้น
โลกทั้งโลกก็ไม่รู้ด ้วย
มิพักต ้องเอ่ยถึง
กิริยาท่าทีของความรัก
เสริม
เรามาลองพิจารณานิทานภาษิต
อีกเรื่องในบท “สาราญรมย์” ของ..
คัมภีร์จวงจื่อ..ดู
เนื้อหา
• เมื่อครั้งกาลก่อน
ยังมี..ปักษาทะเล หนึ่ง
บินพลัดหลงเข ้าไปยังดินแดนของ..แคว ้นหลู่
• เจ ้านครแคว ้นหลู่
จึงนานกเข ้าสู่ศาลเจ ้าศักดิ์สิทธิ์
ปรนปรือด ้วยสุรารสเลิศ
กล่อมให ้บันเทิงด ้วยมโหรีหลวง
และบารุงด ้วยเนื้อ
ซึ่งผ่านยัญพิธีแล ้ว
แต่..นกทะเล..นั้น
เนื้อหา
• ก็เหม่อตาหมองใจ
ไม่แตะต ้องแม ้เนื้อสักชิ้น
ไม่ดื่มแม ้สุราสักหยด
• พอล่วงได ้สามวันก็ตายลง
• นี่เป็นเพราะ
นาเอาวิถีการเลี้ยงของตนเอง
ไปใช ้เลี้ยงนก
หาใช่เอาวิถีการเลี้ยงนก
ไปใช ้เลี้ยงนกไม่
เนื้อหา
• ในขณะที่เจ ้านครหลู่
ใช ้วิถีทางที่ตนเองชื่นชอบ
แสดงออกซึ่งความชื่นชอบในตัวนก
ก็หาได ้คาดคิดเลยว่า
จะส่งผลอันเป็นโศกนาฏกรรมเยี่ยงนั้น
• ความรักของคนคนหนึ่ง
ถึงกับส่งผลให ้คนอีกคนหนึ่ง
เต็มไปด ้วยความทุกข์ระทม
หรือจนแม ้ชีวิตวางวาย
ก็เช่นกัน
ย่อมมิใช่ผล
ที่คนจานวนมาก..จะคาดเดาไปได ้ถึง
และนี่เอง คือ สัจธรรมของโลก
เนื้อหา
• จวงจื่อ
กล่าวว่า “ ความชอบความชังของเขาเหล่านั้นย่อม
ต่างจากกัน”
• ดังที่เขาได ้ย้าบอกไว ้
ในบท “สมภาพแห่งสรรพสิ่ง”
ว่าสรรพสิ่ง..ย่อมไม่ละม ้ายเหมือนกัน
เราไม่อาจพบสิ่งอันเป็นสากลได ้
จากความความแตกต่าง
ในแต่ละปัจเจกวัตถุ
ด ้วยเหตุนี้
เนื้อหา
• เมื่อเราอ ้างอาศัยนามแห่ง “ความรัก”
นาเอาคุณค่าที่เกิดจากการใช ้กับกรณีหนึ่ง
ไปใช ้กับอีกกรณีหนึ่ง
• โศกนาฏกรรม
ก็จะเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่พ ้น
ในนิทานภาษิต
เรื่อง “หุนตุ้น” อันเป็นที่รู้จักกันดี
เนื้อหา
• จวงจื่อ
ก็ได ้แสดงทัศนะทานองเดียวกันนี้ไว ้
• เจ ้าประจาเบื้องทักษิณกับเจ ้าประจาเบื้องอุดร
ต ้องการจะตอบแทนน้าใจอันงาม
ของ..หุนตุ้น
ผู้เป็นเจ ้าประจาเบื้องกลาง
• จึงช่วยเจาะทวารให ้
จนในที่สุด..หุนตุ้น
ก็ถึงแก่ความตายไป
เสริม
เมื่อลองตรึกตรอง
ถึงกรณี..เจ ้านครหลู่..เลี้ยงนก
จนเกิดโศกนาฏกรรม
เนื้อหา
• จวงจื่อ
ได ้นาเสนอวิถีทางในการเลี้ยงนกเป็น 2 แบบ
• แบบหนึ่งคือ ใช ้วิถีการเลี้ยงของตนเองไปเลี้ยงนก
อีกแบบหนึ่งคือ ใช ้วิถีการเลี้ยงนกไปเลี้ยงนก
• จุดที่แตกต่างของวิธีการสองแบบนี้
ก็คือ เริ่มจากการใช ้“ตนเอง” หรือเริ่มจากการใช ้
“นก”เป็นสาคัญ
• หรือหากจะกล่าวให ้กว ้างขวางขึ้น
ก็คือ ใช ้ตัวตนของตนเองเป็นเกณฑ์
หรือใช ้ตัวตนของผู้อื่นกับโลกภายนอกเป็นเกณฑ์
หากใช ้ตนเองเป็นเกณฑ์
ก็อาจจะติดกับดัก
ข ้อที่ใช ้ตัวเองตัดสินผู้อื่น
เนื้อหา
• ใช ้วิธีคิดของตัวเอง
ไปยัดเยียดให ้แก่ผู้อื่น
จึงต่อให ้เป็นการกระทาที่มีเจตนาดี
ก็อาจส่งผลที่ไม่คาดคิด
หรือผลร ้ายตามมาก็เป็นได ้
เสริม
ที่..เหลาจื่อ
กล่าวไว ้ว่า
เนื้อหา
“ ความเที่ยงธรรมดา กลับกลายเป็นพิสดาร
การมงคล กลับกลายเป็นอุบาทว์”
ก็เพื่อชี้ให ้เห็นสภาวการณ์เช่นนี้นี่เอง
• โดยสมมติฐานนี้
การใช ้ผู้อื่นกับโลกภายนอกเป็นเกณฑ์
จึงเป็นหลักการที่แสดงตัวออกมาเอง
เนื้อหา
• ถ ้าหากเรารักผู้อื่นจริง
หรือรักรักสิ่งที่อยู่ภายนอกตัวตนของเราจริง
ทั้งไม่ต ้องการให ้ตนเอง
กลายเป็นสาเหตุของผลที่เลวร ้าย
อันอาจจะเกิดตามมา
• ทางที่ดีที่สุด
บางทีอาจจะเป็นการ “ปล่อยตามธรรมชาติ”
มิใช่การอ ้างเอาคุณนามใด ๆ
ไปยัดเยียดคุกคามให ้เป็นไปตาม
แบบเรา
เนื้อหา
• ณ จุดนี้เอง
ที่เราอาจจะสัมผัสเข ้าถึง
แนวคิดเรื่อง “จื้อหราน (ธรรมชาติ)” และ “อู๋เหวย (นิร
กรรม)”
ซึ่งเป็นแก่นของปรัชญาเต๋า
ได ้อย่างง่ายดาย
• กล่าวโดยสรุป “อู๋เหวย”
คือการควบคุมบงการตัวเองของพลานุภาพทั้งหลาย
ส่วน “จื้อหราน”
คือการปกครองตนเองและความเป็นตัวของตัวเอง
ของเหล่าประชา
ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของการควบคุมพลานุภาพ
ปรัชญาเต๋า
ตระหนักรู้เต็มที่..ว่า
เนื้อหา
• การตั้งใจใช ้อานาจ
หรืออานุภาพอันใด
ไปแทรกแซง
ก็ใช่ว่าจะทาให ้โลกนี้
เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น
• ดังนั้น นโยบายปกครองโลก
หรือชาวประชาที่ดีที่สุด
จึงควรเป็ นการให้ความนับถือ
การคล ้อยตาม
มิใช่การเปลี่ยนแปรใดๆ
เนื้อหา
• เมื่อใคร่ครวญ
เทียบกับเรื่องปรัชญาความรักของฝ่ ายขงจื่อ
• ปรัชญาเต๋า
ก็มีแนวโน้มไปในทางนิยมท่าทีของการไม่เข ้า
แทรกแซง
• หากมองในแง่สร ้างสรรค์
ท่าทีเช่นนี้
ก็คือการตระหนักเข ้าถึงความใจกว ้างได ้ดียิ่งขึ้น
เมื่อใช ้เทียบขนานกับเรื่องความรัก
ขอให ้เราลองพิจารณา
ข ้อความตอนหนึ่ง
ของ..เหลาจื่อ
เนื้อหา
ดังนี้
• อริยมนุษย์ย่อมไร ้จิตอยู่เสมอ
อาศัยจิตแห่งประชาชีเป็นจิตแห่งตน
• ผู้ที่ดีก็ดีด ้วย ผู้ไม่ดีก็ดีด ้วย
เพื่อจักได ้ซึ่งความดี
• ผู้มีสัตย์ก็มีสัตย์ด ้วย ผู้ไม่มีสัตย์ก็มีสัตย์ด ้วย
จักได ้ซึ่งความสัตย์
เสริม
อันอริยมนุษย์นั้น
เนื้อหา
• ยามอยู่ในหล ้าโลก
ย่อมกระทารางับ
คลุกคลีความขุ่นหมองเพื่อโลกหล ้า
• เมื่อเหล่าประชาล ้วนตั้งตาหู
อริยมนุษย์ล ้วนแลว่าเป็นเด็ก
• ความใจกว ้าง
คือการยอมรับแนวคิด
และการดารงอยู่ที่แตกต่างไปจากตนเอง
เห็นได ้ชัดว่า อริยมนุษย์ในคัมภีร์
เหลาจื่อนั้น สามารถวางตนได ้ถึง
จุดนี้แล ้ว
เนื้อหา
• ซึ่งแตกต่างจากบรรดาชนชั้นเจ ้าทั้งหลาย
ในโลกแห่งความเป็นจริง
ที่มักจะยัดเยียดเจตนาคติของตนให ้แก่โลก
• และมักจะเห็นว่าจิตใจของตนเอง
ต่างกับจิตใจของบรรดาประชาราษฎร์
https://www.bangkokbiznews.com/lifestyle/900610
เสริม
เพราะ..อริยมนุษย์
เนื้อหา
• ใช ้ความไม่มีจิตอันนิรันดร์ของตน
โอบรับเอาจิตของมวลประชา
มาเป็นจิตของตนเอง
• ทาให ้แลเห็นชีวิตของผู้อื่น
ปรากฏอยู่บนครรลองสายตาเสมอ
• โดยพื้นฐานเช่นนี้
การแยกแยะความดีงามหรือความไม่ดีงาม
ความสัจจริงหรือความไม่จริง
ซึ่งล ้วนก่อตัวขึ้นจากจิตของตนเองย่อมมลายหายไป
เอง
• จึงย่อมไม่มีผู้ที่ดีงามหรือผู้ที่ไม่ดี ผู้ที่ไร ้สัจจะหรือผู้มี
สัจจะ
การกล่าวว่า “ผู้ที่ดีก็ดีด ้วย ผู้ไม่ดีก็
ดีด ้วย” นั้น
จะเข ้าใจเพียงตามตัวอักษรไม่ได ้
เนื้อหา
• นี่ไม่ใช่การทาดีต่อผู้ที่ไม่มีคุณความดี
• แต่คือการปฏิเสธ
การแบ่งแยกว่ามีความดีกับความไม่ดี
• เพราะหากจะกล่าวให ้ถึงที่สุดแล ้ว
ดีกับไม่ดีหรือจริงกับไม่จริงนั้น
ก็เป็นเพียงความรู้สึกนึกคิดบนจุดยืนจุดใดจุดหนึ่ง
ที่ยัดเยียดให ้โลกรู้สึกตามเท่านั้น
• ไม่ได ้เกี่ยวข ้องอะไรกับเนื้อแท ้ของโลกเลย
เสริม
สรรพสิ่งและปรากฏการณ์ทั้งหลาย
ไม่มีคุณลักษณ์ที่เรียกว่า ดีหรือไม่
ดี
เนื้อหา
• จริงแท ้หรือไม่จริง
เป็นเพียงองค์ประกอบ
ที่คลุกเคล ้ากันเป็นกลีภาพอยู่
โดยไม่มีชื่อเรียก
• เห็นได ้ชัดว่า
เหลาจื่อ
ไม่ได ้คิดหวังให ้ผู้เป็นเจ ้าทั้งหลาย
อาศัยความคิดความเห็นของตนเอง
กากับหรือสรรค์สร ้างโลกขึ้นมา
แต่อย่างใด
จุดอ ้างอิ
ง
จุดอ ้างอิ
ง
และยิ่งไม่ต ้องการให ้มีการใช ้ความ
คิดเห็นส่วนตัว
มาหักล ้างทาลายโลกด ้วย
• ดังนั้น เหลาจื่อ
จึงปฏิเสธการใช ้มาตรฐานใด ๆ
ที่สร ้างขึ้นเอง
มาตัดสินแยกแยะองค์ประกอบแห่งกลีภาพที่เป็นไป
• ไม่ว่าตัวตนนั้น จะยิ่งใหญ่ปานใด
ไม่ว่าวิธีคิดจะสูงส่งแค่ไหน
• ถ ้าหากความ “ยิ่งใหญ่” และ “สูงส่ง” เป็นคุณลักษณ์ที่
อยู่ต่างหากจากโลก
คุณลักษณ์นั้น
ก็ย่อมไม่ใช่เป็นส่วนหนึ่งของโลก
เนื้อหา
๔.เหมันตฤดูแห่งจิตวิญญาณ
• หลังจากผ่านการเกิดในฤดูใบไม ้ผลิ
การเติบใหญ่ในฤดูร ้อน และการเก็บเกี่ยวในฤดูไม ้ร่วง
ทั้ง 3 ฤดูกาลแล ้ว
• ฤดูหนาวที่เย็นยะเยือก
ก็นาพาความรู้สึกสงบนิ่งและเย็นชามาสู่ผู้คน
• ที่เย็นชา
ก็เนื่องจากการหยุดสั่งสมขององค์กาเนิดชีวิต
ที่สงบนิ่ง
ก็เนื่องจากการปิดตัวหยุดซุ่มของสรรพสิ่ง
เนื้อหา
โลก
ถูกปกคลุมด ้วยบรรยากาศชนิด
หนึ่ง
• ซึ่งเรียบง่ายและเหน็บหนาว
เต็มไปด ้วยความสงัดเงียบและซ้าซาก
• เยี่ยงนี้
จึงดูคล ้ายกับจิตวิญญาณที่ค่อนข ้างเย็นชา
ของ..พวกนิตินิยม (法家)
เนื้อหา
เสริม
ข ้าพเจ ้าเองรู้สึกมาตลอดว่า
เนื้อหา
• ในยามที่จิตวิญญาณของคนคนหนึ่ง
ถูกยึดครองครอบงาด ้วยผลประโยชน์
ก็จะกลายเป็นความเย็นชาไป
• โชคไม่ดีนัก
ที่นั่นคือ
ลักษณะความเข ้าใจชีวิตและจิตวิญญาณ
ของ..พวกนิตินิยม
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
1 de 304

Recomendados

บทสวดมนต์ข้ามปี por
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีTongsamut vorasan
2.9K visualizações92 slides
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.) por
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)Ballista Pg
4.3K visualizações92 slides
4 อานาปานสติ anapanasati por
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasatiTongsamut vorasan
687 visualizações172 slides
พื้นฐานชีวิต 28.pptx por
พื้นฐานชีวิต 28.pptxพื้นฐานชีวิต 28.pptx
พื้นฐานชีวิต 28.pptxSunnyStrong
14 visualizações339 slides
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool por
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcoolTongsamut vorasan
700 visualizações152 slides
กำเนิดจักรวาล por
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลniralai
687 visualizações49 slides

Mais conteúdo relacionado

Similar a พื้นฐานชีวิต 40.pptx

Dr yong 130331-cheon il guk era-thai por
Dr yong 130331-cheon il guk era-thaiDr yong 130331-cheon il guk era-thai
Dr yong 130331-cheon il guk era-thaiNantawat Wangsan
476 visualizações27 slides
พระมหาชนก por
พระมหาชนกพระมหาชนก
พระมหาชนกDanai Thongsin
7.7K visualizações190 slides
พื้นฐานชีวิต 17.pptx por
พื้นฐานชีวิต 17.pptxพื้นฐานชีวิต 17.pptx
พื้นฐานชีวิต 17.pptxSunnyStrong
15 visualizações207 slides
พื้นฐานชีวิต 41.pptx por
พื้นฐานชีวิต 41.pptxพื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptxSunnyStrong
29 visualizações340 slides
พรธรรมปีใหม่ 54 por
พรธรรมปีใหม่ 54พรธรรมปีใหม่ 54
พรธรรมปีใหม่ 54santidhamma
166 visualizações18 slides
พื้นฐานชีวิต 9.pptx por
พื้นฐานชีวิต 9.pptxพื้นฐานชีวิต 9.pptx
พื้นฐานชีวิต 9.pptxSunnyStrong
10 visualizações270 slides

Similar a พื้นฐานชีวิต 40.pptx(20)

Dr yong 130331-cheon il guk era-thai por Nantawat Wangsan
Dr yong 130331-cheon il guk era-thaiDr yong 130331-cheon il guk era-thai
Dr yong 130331-cheon il guk era-thai
Nantawat Wangsan476 visualizações
พระมหาชนก por Danai Thongsin
พระมหาชนกพระมหาชนก
พระมหาชนก
Danai Thongsin7.7K visualizações
พื้นฐานชีวิต 17.pptx por SunnyStrong
พื้นฐานชีวิต 17.pptxพื้นฐานชีวิต 17.pptx
พื้นฐานชีวิต 17.pptx
SunnyStrong15 visualizações
พื้นฐานชีวิต 41.pptx por SunnyStrong
พื้นฐานชีวิต 41.pptxพื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
SunnyStrong29 visualizações
พรธรรมปีใหม่ 54 por santidhamma
พรธรรมปีใหม่ 54พรธรรมปีใหม่ 54
พรธรรมปีใหม่ 54
santidhamma166 visualizações
พื้นฐานชีวิต 9.pptx por SunnyStrong
พื้นฐานชีวิต 9.pptxพื้นฐานชีวิต 9.pptx
พื้นฐานชีวิต 9.pptx
SunnyStrong10 visualizações
พื้นฐานชีวิต 30.pptx por SunnyStrong
พื้นฐานชีวิต 30.pptxพื้นฐานชีวิต 30.pptx
พื้นฐานชีวิต 30.pptx
SunnyStrong31 visualizações
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555 por Chawalit Jit
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
บทสวดมนต์ข้ามปี 2555
Chawalit Jit13K visualizações
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม por Tongsamut vorasan
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
Tongsamut vorasan360 visualizações
พื้นฐานชีวิต 22.pptx por SunnyStrong
พื้นฐานชีวิต 22.pptxพื้นฐานชีวิต 22.pptx
พื้นฐานชีวิต 22.pptx
SunnyStrong24 visualizações
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555 por Carzanova
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
Carzanova743 visualizações
พื้นฐานชีวิต 12.pptx por SunnyStrong
พื้นฐานชีวิต 12.pptxพื้นฐานชีวิต 12.pptx
พื้นฐานชีวิต 12.pptx
SunnyStrong37 visualizações
02life por etcenterrbru
02life02life
02life
etcenterrbru693 visualizações
What is life por changnoi2518
What is lifeWhat is life
What is life
changnoi25181.1K visualizações
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007 por Dream'Es W.c.
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
Dream'Es W.c.4K visualizações
พื้นฐานชีวิต 11.pptx por SunnyStrong
พื้นฐานชีวิต 11.pptxพื้นฐานชีวิต 11.pptx
พื้นฐานชีวิต 11.pptx
SunnyStrong17 visualizações

Mais de SunnyStrong

คุณเป็นใคร 2.docx por
คุณเป็นใคร 2.docxคุณเป็นใคร 2.docx
คุณเป็นใคร 2.docxSunnyStrong
34 visualizações158 slides
คุณเป็นใคร 3.docx por
คุณเป็นใคร 3.docxคุณเป็นใคร 3.docx
คุณเป็นใคร 3.docxSunnyStrong
15 visualizações132 slides
คุณเป็นใคร 1.docx por
คุณเป็นใคร 1.docxคุณเป็นใคร 1.docx
คุณเป็นใคร 1.docxSunnyStrong
31 visualizações103 slides
Austria.docx por
Austria.docxAustria.docx
Austria.docxSunnyStrong
7 visualizações103 slides
5 Signs of a Strong Novel Plot.docx por
5 Signs of a Strong Novel Plot.docx5 Signs of a Strong Novel Plot.docx
5 Signs of a Strong Novel Plot.docxSunnyStrong
4 visualizações14 slides
7 Fear Archetypes.docx por
7 Fear Archetypes.docx7 Fear Archetypes.docx
7 Fear Archetypes.docxSunnyStrong
11 visualizações8 slides

Mais de SunnyStrong(20)

คุณเป็นใคร 2.docx por SunnyStrong
คุณเป็นใคร 2.docxคุณเป็นใคร 2.docx
คุณเป็นใคร 2.docx
SunnyStrong34 visualizações
คุณเป็นใคร 3.docx por SunnyStrong
คุณเป็นใคร 3.docxคุณเป็นใคร 3.docx
คุณเป็นใคร 3.docx
SunnyStrong15 visualizações
คุณเป็นใคร 1.docx por SunnyStrong
คุณเป็นใคร 1.docxคุณเป็นใคร 1.docx
คุณเป็นใคร 1.docx
SunnyStrong31 visualizações
Austria.docx por SunnyStrong
Austria.docxAustria.docx
Austria.docx
SunnyStrong7 visualizações
5 Signs of a Strong Novel Plot.docx por SunnyStrong
5 Signs of a Strong Novel Plot.docx5 Signs of a Strong Novel Plot.docx
5 Signs of a Strong Novel Plot.docx
SunnyStrong4 visualizações
7 Fear Archetypes.docx por SunnyStrong
7 Fear Archetypes.docx7 Fear Archetypes.docx
7 Fear Archetypes.docx
SunnyStrong11 visualizações
คุณเป็นใคร.docx por SunnyStrong
คุณเป็นใคร.docxคุณเป็นใคร.docx
คุณเป็นใคร.docx
SunnyStrong21 visualizações
The Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docx por SunnyStrong
The Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docxThe Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docx
The Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docx
SunnyStrong13 visualizações
12 Poems.docx por SunnyStrong
12 Poems.docx12 Poems.docx
12 Poems.docx
SunnyStrong16 visualizações
Mom's Telling Stories1.docx por SunnyStrong
Mom's Telling Stories1.docxMom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docx
SunnyStrong3 visualizações
12 Poems.docx por SunnyStrong
12 Poems.docx12 Poems.docx
12 Poems.docx
SunnyStrong5 visualizações
100 words for people.docx por SunnyStrong
100 words for people.docx100 words for people.docx
100 words for people.docx
SunnyStrong8 visualizações
Main Character vs. Supporting Characters in Story Development.docx por SunnyStrong
Main Character vs. Supporting Characters in Story Development.docxMain Character vs. Supporting Characters in Story Development.docx
Main Character vs. Supporting Characters in Story Development.docx
SunnyStrong6 visualizações
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx por SunnyStrong
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docxHow to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
SunnyStrong5 visualizações
Here are The Character Development Questions You Should Be Asking.docx por SunnyStrong
Here are The Character Development Questions You Should Be Asking.docxHere are The Character Development Questions You Should Be Asking.docx
Here are The Character Development Questions You Should Be Asking.docx
SunnyStrong6 visualizações
characterdevelopmentquestions.docx por SunnyStrong
characterdevelopmentquestions.docxcharacterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docx
SunnyStrong3 visualizações
characterdevelopmentquestions.docx por SunnyStrong
characterdevelopmentquestions.docxcharacterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docx
SunnyStrong7 visualizações
ฟาร์มสุข 1.docx por SunnyStrong
ฟาร์มสุข 1.docxฟาร์มสุข 1.docx
ฟาร์มสุข 1.docx
SunnyStrong12 visualizações
ฟาร์มสุข 2.docx por SunnyStrong
ฟาร์มสุข 2.docxฟาร์มสุข 2.docx
ฟาร์มสุข 2.docx
SunnyStrong12 visualizações
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx por SunnyStrong
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docxไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
SunnyStrong11 visualizações

พื้นฐานชีวิต 40.pptx