SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
1
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์
กาญจนบุรี
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายวิชา วิทยาศาสตร์ 4 ( ว 22102)
เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ
ในร่างกายสัตว์
โดยครูสุกัญญา นาคอ้น
2016/2/122
2
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.ระบุโครงสร้างที่สาคัญของระบบย่อยอาหารของสัตว์
2.ระบุโครงสร้างที่สาคัญของระบบหมุนเวียนเลือดของสัตว์
3.ระบุโครงสร้างที่สาคัญของระบบหายใจของสัตว์
4.ระบุโครงสร้างที่ใช่ในการขับถ่ายของเสียของสัตว์
5.ยกตัวอย่างสัตว์ที่มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ
6.อธิบายขั้นตอนการเจริญเติบโตของสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ
ในร่างกายสัตว์
สัตว์ต่าง ๆ เป็นสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในแหล่งที่อยู่ที่
แตกต่างกัน และสัตว์ต่าง ๆ เหล่านี้บางชนิดมีเนื้อเยื่อหรือ
อวัยวะที่ยังไม่มีการพัฒนาให้เห็นได้ชัดเจน แต่บางชนิดก็มี
การพัฒนาให้เห็นได้อย่างชัดเจน มีความซับซ้อนของ
โครงสร้างของร่างกายที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งมีผลทาให้
ระบบต่าง ๆ มีส่วนประกอบของโครงสร้างและหน้าที่การ
ทางานที่แตกต่างกันออกไปด้วย
3
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
1.1 การย่อยอาหารในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
สัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิด เช่น ปลา กบ กิ้งก่า แมว จะมีระบบ
ทางเดินอาหารสมบูรณ์ ซึ่งทางเดินอาหารของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
ประกอบด้วย
ปาก  หลอดอาหาร  กระเพาะอาหาร  ลาไส้เล็ก  ทวาร
หนัก
4
ระบบย่อยอาหารของสัตว์5
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
รูปแสดงทางเดินอาหารของวัว
6
1.2 การย่อยอาหารในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
1.2.1 การย่อยอาหารในสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์
รูปแสดงระบบย่อยอาหารของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์
7
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ชนิดของสัตว์ ลักษณะทางเดินอาหารและการย่อยอาหาร
1. ฟองน้า - ยังไม่มีทางเดินอาหาร แต่มีเซลล์พิเศษอยู่ผนังด้านในของฟองน้า เรียกว่า เซลล์
ปลอกคอ (Collar Cell) ทาหน้าที่จับอาหาร แล้วสร้างแวคิวโอลอาหาร
(Food Vacuole) เพื่อย่อยอาหาร
2. ไฮดรา แมงกะพรุน ซีแอนนีโมนี - มีทางเดนอาหารไม่สมบูรณ์ มีปาก แต่ไม่มีทวารหนัก อาหารจะผ่านบริเวณปากเข้า
ไปในช่องลาตัวที่เรียกว่า ช่องแกสโตรวาสคิวลาร์ (Gastro
vascular Cavity) ซึ่งจะย่อยอาหารที่บริเวณช่องนี้ และกากอาหาร
จะถูกขับออกทางเดิมคือ ปาก
3. หนอนตัวแบน เช่น พลานาเรีย พยาธิ
ใบไม้
- มีทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์ มีช่องเปิดทางเดียวคือปาก ซึ่งอาหารจะเข้าทางปาก
และย่อยในทางเดินอาหาร แล้วขับกากอาหารออกทางเดิมคือ ทางปาก
1.2.1 การย่อยอาหารในสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์
8
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
1.2.2 การย่อยอาหารในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีทางเดินอาหารสมบูรณ์
9
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ชนิดของสัตว์ ลักษณะทางเดินอาหารและการย่อยอาหาร
1. หนอนตัวกลม เช่น
พยาธิไส้เดือน พยาธิ
เส้นด้าย
- เป็นพวกแรกที่มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ คือ มีช่อง
ปากและช่องทวารหนักแยกออกจากกัน
2. หนอนตัวกลมมีปล้อง
เช่น ไส้เดือนดิน ปลิงน้า
จืด และแมลง
- มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ และมีโครงสร้างทางเดน
อาหารที่มีลักษณะเฉพาะแต่ละส่วนมากขึ้น
1.2.2 การย่อยอาหารในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีทางเดินอาหารสมบูรณ์
10
ระบบหมุนเวียนเลือดในสัตว์
ในสัตว์ชั้นสูงมีระบบหมุนเวียนเลือดซึ่งประกอบด้วยหัวใจเป็นอวัยวะสาคัญ
ทาหน้าที่สูบฉีดเลือดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และมีหลอดเลือดเป็นทางลาเลียง
เลือดไปทั่วทุกเซลล์ของร่างกาย แต่ในสัตว์บางชนิดใช้ช่องว่างระหว่างอวัยวะเป็นทางผ่าน
ของเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดมี 2 แบบ ดังนี้
1.ระบบหมุนเวียนเลือดแบบวงจรปิด (Closed Circulation System)
2. ระบบหมุนเวียนเลือดแบบวงจรเปิด (Open Circulation System)
11
ระบบหมุนเวียนเลือดในสัตว์
2.1 ระบบหมุนเวียนเลือดแบบวงจรปิด (Closed
Circulation System) ระบบนี้เลือดจะไหลอยู่ภายในหลอดเลือด
ตลอดเวลา โดยเลือดจะไหลออกจาหัวใจไปตามหลอดเลือดชนิดต่าง ๆ แล้วไหล
กลับเข้าสู่หัวใจใหม่เช่นนี้เรื่อยไป พบในสัตว์จาพวกหนอนตัวกลมมีปล้อง เช่น
ไส้เดือนดิน ปลิงน้าจืด และสัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิด
รูปแสดงระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด
รูปแสดงระบบหมุนเวียนเลือดแบบวงจรปิดของสัตว์ชนิดต่าง ๆ
12
ระบบหมุนเวียนเลือดในสัตว์
2.2 ระบบหมุนเวียนเลือดแบบวงจรเปิด (Open
Circulation System) ระบบนี้เลือดที่ไหลออกจากหัวใจจะไม่อยู่ใน
หลอดเลือดตลอดเวลาเหมือนวงจรปิด โดยจะมีเลือดไหลเข้าไปในช่องว่างลาตัวและที่ว่าง
ระหว่าอวัยวะต่าง ๆ พบในสัตว์จาพวกแมลง กุ้ง ปู และหอย
รูปแสดงระบบหมุนเวียนเลือดแบบวงจรเปิด
รูปแสดงระบบหมุนเวียนเลือดแบบวงจรเปิดของสัตว์ชนิดต่าง ๆ
13
ระบบหายใจในสัตว์
สัตว์ต่าง ๆ จะแลกเปลี่ยนก๊าซกับสิ่งแวดล้อมโดยกระบวนการแพร่
(Diffusion) โดยสัตว์แต่ละชนิดจะมีโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนก๊าซที่
เหมาะสมกับการดารงชีวิตและสิ่งแวดล้อมต่างกัน
รูปแสดงระบบหายใจของสัตว์ชนิดต่าง ๆ
14
ระบบหายใจในสัตว์
ชนิดของสัตว์ โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนก๊าซ
1. สัตว์ชั้นต่า เช่น ไฮดรา แมงกะพรุน
ฟองน้า พลานาเรีย
- ไม่มีอวัยวะในการหายใจโดยเฉพาะ การแลกเปลี่ยนก๊าซใช้เยื่อหุ้มเซลล์หรือผิวหนังที่
ชุ่มชื้น
2. สัตว์น้าชั้นสูง เช่น ปลา กุ้ง ปู หมึก หอย
ดาวทะเล
- มีเหงือก (Gill) ซึ่งมีความแตกต่างกันในด้านความซับซ้อน แต่ทาหน้าที่
เช่นเดียวกัน (ยกเว้นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าในช่วงที่เป็นลูกอ๊อดซึ่งอาศัยอยู่ในน้า จะ
หายใจด้วยเหงือก ต่อมาเมื่อโตเป็นตัวเต็มวัยอยู่บนบก จึงจะหายใจด้วยปอด)
3. สัตว์บกชั้นต่า เช่น ไส้เดือนดิน - มีผิวหนังที่เปียกชื้น และมีระบบหมุนเวียนเลือดเร่งอัตราการแลกเปลี่ยนก๊าซ
4. สัตว์บกชั้นสูง มี 3 ประเภท คือ
4.1 แมงมุม
4.2 แมลงต่าง ๆ
4.3 สัตว์มีกระดูกสันหลัง
- มีแผงปอดหรือลังบก (Lung Book) มีลักษณะเป็นเส้น ๆ ยื่นออกมานอก
ผิวร่างกาย ทาให้สูญเสียความชื้นได้ง่าย
- มีท่อลม (Trachea) เป็นท่อที่ติดต่อกับภายนอกร่างกายทางรูหายใจ และ
แตกแขนงแทรกไปยังทุกส่วนของร่างกาย
- มีปอด (Lung) มีลักษณะเป็นถุง และมีความสัมพันธ์กับระบบหมุนเวียนเลือด
15
ระบบขับถ่ายในสัตว์
ในเซลล์หรือในร่างกายของสัตว์ต่าง ๆ จะมีปฏิกิริยาเคมีจานวนมาก
เกิดขึ้นตลอดเวลา และผลจากการเกิดปฏิกิริยาเคมีเหล่านี้ จะทาให้เกิดผลิตภัณฑ์
ที่มีประโยชน์ต่อสิ่งมีชีวิตและของเสียที่ต้องกาจัดออกด้วยการขับถ่าย สัตว์แต่ละ
ชนิดจะมีอวัยวะและกระบวนการกาจัดของเสียออกนอกร่างกายแตกต่างกันออกไป
สัตว์ชั้นต่าที่มีโครงสร้างง่าย ๆ เซลล์ที่ทาหน้าที่กาจัดของเสียจะสัมผัสกับ
สิ่งแวดล้อมโดยตรง ส่วนสัตว์ชั้นสูงที่มีโครงสร้างซับซ้อน การกาจัดของเสียจะมี
อวัยวะที่ทาหน้าที่เฉพาะ
16
ระบบขับถ่ายในสัตว์
ระบบขับถ่ายของสัตว์ชนิดต่าง ๆ มีดังต่อไปนี้
รูปแสดงระบบขับถ่ายของสัตว์ชนิดต่าง ๆ
17
ระบบขับถ่ายในสัตว์
ชนิดของสัตว์ โครงสร้างหรืออวัยวะขับถ่าย
1. ฟองน้า - เยื่อหุ้มเซลล์เป็นบริเวณที่มีการแพร่ของเสียออกจากเซลล
2. ไฮดรา แมงกะพรุน - ใช้ปาก โดยของเสียจะแพร่ไปสะสมในช่องลาตัวแล้วขับออกทางปากและ
ของเสียบางชนิดจะแพร่ทางผนังลาตัว
3. พวกหนอนตัวแบน เช่น พลานาเรีย
พยาธิใบไม้
- ใช้เฟลมเซลล์ (Flame Cell) ซึ่งกระจายอยู่ทั้งสองข้างตลอด
ความยาวของลาตัว เป็นตัวกรองของเสียออกทางท่อซึ่งมีรูเปิดออกข้าง
ลาตัว
4. พวกหนอนตัวกลมมีปล้อง เช่น
ไส้เดือนดิน
- ใช้เนฟริเดียม (Nephridium) รับของเสียมาตามท่อ และเปิด
ออกมาทางท่อซึ่งมีรูเปิดออกข้างลาตัว
5. แมลง - ใช้ท่อมัลพิเกียน (Mulphigian Tubule) ซึ่งเป็นท่อเล็ก ๆ
จานวนมากอยู่ระหว่างกระเพาะกับลาไส้ ทาหน้าที่ดูดซึมของเสียจากเลือด
และส่งต่อไปทางเดินอาหาร และขับออกนอกลาตัวทางทวารหนักร่วมกับ
กากอาหาร
6. สัตว์มีกระดูกสันหลัง - ใช้ไต 2 ข้างพร้อมด้วยท่อไตและกระเพาะปัสสาวะเป็นอวัยวะขับถ่าย
18
ระบบประสาท
ระบบประสาทเป็นระบบที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับการสั่งงาน การติดต่อเชื่อมโยง
กับสิ่งแวดล้อม การรับคาสั่งและการปรับระบบต่าง ๆ ในร่างกายให้ทากิจกรรมได้
ถูกต้องเมื่ออยู่ในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน
ระบบประสาทของสัตว์ชนิดต่าง ๆ มีดังต่อไปนี้
รูปแสดงระบบประสาทของสัตว์ชนิดต่างๆ
19
ระบบประสาท
ชนิดของสัตว์ ระบบประสาท
1. ฟองน้า - ไม่มีระบบประสาท
2. ไฮดรา แมงกะพรุน - เป็นพวกแรกที่มีเซลล์ประสาท โดยเซลล์ประสาทเชื่อมโยงกันคล้ายร่างแห เรียกว่า
ร่างแหประสาท (Nerve Net)
3. หนอนตัวแบน เช่น พลานาเรีย - เป็นพวกแรกที่มีระบบประสาทเป็นศูนย์ควบคุมอยู่บริเวณหัว และมีเส้นประสาท
แยกออกไป ซึ่งจะมีระบบประสาทแบบขั้นบันได (Ladder Type
System)
4. สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังชั้นสูง เช่น
ไส้เดือนดิน แมลง หอย
- มีปมประสาท (Nerve Ganglion) บริเวณส่วนหัวมากขึ้น และ
เรียงต่อกันเป็นวงแหวนรอบคอหอยหรือหลอดอาหาร ทาหน้าที่เป็นศูนย์กลาง
ระบบประสาท และมีเส้นประสาททอดยาวตลอดลาตัว
5. สัตว์มีกระดูกสันหลัง - มีสมองและไขสันหลังเป็นศูนย์ควบคุมการทางานของร่างกาย มีเซลล์ประสาทและ
เส้นประสาทอยู่ทุกส่วนของร่างกาย
20
ระบบสืบพันธุ์ในสัตว์
ประเภทของการสืบพันธุ์ของสัตว์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual
Reproduction) เป็นการสืบพันธุ์โดยการผลิตหน่วยสิ่งมีชีวิตจากหน่วยสาง
มีชีวิตเดิมด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่ไม่ใช่จากการใช้เซลล์สืบพันธุ์ ได้แก่ การแตกหน่อ การ
งอกใหม่ การขาดออกเป็นท่อน และพาร์ธีโนเจเนซิส
2. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual
Reproduction) เป็นการสืบพันธุ์ที่เกิดจากการผสมพันธุ์ระหว่างเซลล์
สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย เกิดเป็นสิ่งมีชีวิตใหม่ ได้แก่ การสืบพันธุ์ของ
สัตว์ชั้นต่าบางพวก และสัตว์ชั้นสูงทุกชนิด
สัตว์บางชนิดสามารถสืบพันธุ์ทั้งแบบอาศัยเพศและแบบไม่อาศัยเพศ
เช่น ไฮดรา การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของไฮดราจะใช้วิธีการแตกหน่อ
21
ชนิดของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ มีหลายชนิดดังนี้
ระบบสืบพันธุ์ในสัตว์
1. การแตกหน่อ (Budding) เป็นการสืบพันธุ์ที่หน่วย
สิ่งมีชีวิตใหม่เจริญออกมาภายนอกของตัวเดิมเรียกว่า หน่อ (Bud) หน่อที่
เกิดขึ้นนี้จะเจริญจนกระทั่งได้เป็นสิ่งมีชีวิตใหม่ ซึ่งมีลักษณะเหมือนเดิม แต่มีขนาด
เล็กว่า ซึ่งต่อมาจะหลุดออกจากตัวเดิมและเติบโตต่อไป หรืออาจจะติดอยู่กับตัว
เดิมก็ได้ สัตว์ที่มีการสืบพันธุ์ลักษณะนี้ได้แก่ ไฮดรา ฟองน้า ปะการัง
รูปแสดงการแตกหน่อของไฮดรา
22
2. การงอกใหม่ (Regeneration) เป็นการสืบพันธุ์ที่มีการ
สร้างส่วนของร่างกายที่หลุดออกหรือสูญเสียไปให้เป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ ทาให้มีจานวน
สิ่งมีชีวิตเพิ่มมากขึ้น สัตว์ที่มีการสืบพันธุ์ลักษณะนี้ ได้แก่ พลานาเรีย ดาวทะเล ซี
แอนนีโมนี ไส้เดือนดิน ปลิงน้าจืด
ระบบสืบพันธุ์ในสัตว์
รูปแสดงการงอกใหม่ของพลานาเรียและดาวทะเล
23
ระบบสืบพันธุ์ในสัตว์
3. การขาดออกเป็นท่อน (Fragmentation) เป็นการสืบพันธุ์
โดยการขาดออกเป็นท่อน ๆ จากตัวเดิมแล้วแต่ละท่อนจะเจริญเติบโตเป็นตัวใหม่ได้ พบ
ในพวกหนอนตัวแบน
4. พาร์ธีโนเจเนซีส (Parthenogenesis) เป็นการสืบพันธุ์
ของแมลงบางชนิดซึ่งตัวเมียสามารถผลิตไข่ที่ฟักเป็นตัวได้โดยไม่ต้องมีการปฏิสนธิ ใน
สภาวะปรกติ ไข่จะฟักออกมาเป็นตัวเมียเสมอ แต่ในสภาพะที่ไม่เหมาะสมกับการ
ดารงชีวิต เช่น เกิดความแห้งแล้ง หนาเย็น หรือขาดแคลนอาหาร ตัวเมียจะผลิตไข่ที่ฟัก
ออกมาเป็นทั้งตัวผู้และตัวเมีย จากนั้นตัวผู้และตัวเมียเหล่านี้จะผสมพันธุ์กัน แล้วตัวเมีย
จะออกไข่ที่มีความคงทนต่อสภาวะที่ไม่เหมาะสมดังกล่าว แมลงที่มีการสืบพันธุ์ลักษณะนี้
ได้แก่ ตั๊กแตนกิ่งไม้ เพลี้ย ไรน้า ในพวกแมลงสังคม เช่น ผึ้ง มด ต่อ แตน ก็พบว่ามี
การสืบพันธุ์ในลักษณะนี้เหมือนกัน แต่ในสภาวะปรกติไข่ที่ฟักออกมาจะได้ตัวผู้เสมอ
24
ระบบสืบพันธุ์ในสัตว์
ชนิดของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพสของสัตว์ มี 2 ชนิด ดังนี้
1. การสืบพันธุ์ของสัตว์ที่มี 2 เพศในตัวเดียวกัน
(Monoecious) โดยทั่วไปไม่สามารถผสมกันภายในตัว ต้องผสมข้ามตัว
เนื่องจากไข่และอสุจิจะเจริญไม่พร้อมกัน เช่น ไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดือนดิน
รูปแสดงการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของไฮดราตัวอ่อนหลุดจากรังไข่ แล้วเจริญเติบโตต่อไป
25
2. การสืบพันธุ์ของสัตว์ที่มีเพศผู้และเพศเมียแยกกันอยู่ต่างตัวกัน
(Dioeciously) ในการสืบพันธุ์ของสัตว์ชนิดนี้มีการปฏิสนธิ 2 แบบ คือ
2.1 การปฏิสนธิภายใน (Internal Fertilization) คือ การ
ผสมระหว่างตัวอสุจิกับไข่ที่อยู่ภายในร่างกายของเพศเมีย สัตว์ที่มีการปฏิสนธิแบบรี้ ได้แก่
สัตว์ที่วางไข่บนบกทุกชนิด สัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยน้านม และปลาที่ออกลูกเป็นตัว เช่น ปลา
เข็ม ปลาหางนกยูง ปลาฉลาม
2.2 การปฏิสนธิภายนอก (External fertilization) คือการ
ผสมระหว่างตัวอสุจิกับไข่ที่อยู่ภายนอกร่างกายของสัตว์เพศเมีย การปฏิสนธิแบบนี้ต้อง
อาศัยน้าเป็นตัวกลางให้ตัวอสุจิเคลื่อนที่เข้าไปผสมไข่ได้ สัตว์ที่มีการปฏิสนธิแบบนี้ ได้แก่
ปลาต่าง ๆ สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า และสัตว์ที่วางไข่ในน้าทุกชนิด
ระบบสืบพันธุ์ในสัตว์26
ระบบโครงกระดูกและการเจริญเติบโต
ของสัตว์
ประเภทของโครงกระดูกหรือโครงร่างแข็งของสัตว์ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1. โครงร่างแข็งที่อยู่ภายนอกร่างกาย (Exoskeleton) พบ
ได้ในแมลง เปลือกกุ้ง ปู หอย เกล็ดและกระดองสัตว์ต่าง ๆ มีหน้าที่ป้องกัน
อันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับอวัยวะที่อยู่ภายใน
รูปแสดงโครงร่างแข็งที่อยู่ภายนอกร่างกายของสัตว์ชนิดต่าง ๆ
27
2. โครงร่างแข็งที่อยู่ภายในร่างกาย (Endoskeleton) ได้แก่
โครงกระดูกของสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังทั้งหมด
ระบบโครงกระดูกและการเจริญเติบโต
ของสัตว์28
การเจริญเติบโของสัตว์
สัตว์ที่มีโครงร่างหุ้มนอกร่างกาย และมีโครงร่างแข้งอยู่ภายในร่างกาย จะมี
แบบแผนของการเจริญเติบโตแตกต่างกัน ดังนี้
1. การเจริญเติบโตของสัตว์ที่มีโครงร่างแข็งหุ้มนอกร่างกาย เช่น แมลง
กุ้ง ปู มีการเจริญเติบโตได้ยาก ดังนั้นเมื่อเจริญวัยจะต้องมีการสลัดเปลือกเก่าทิ้งไปที่
เรียกว่า ลอกคราบ (Molting) เพื่อให้ผิวร่างกายที่อ่อนนิ่มเติบโตได้แล้วจึงสร้าง
โครงแข็งหรือเปลือกมาหุ้มใหม่ และต่อไปก็จะเจริญด้วยการลอกคราบอีก เป็นเช่นนี้
เรื่อย ๆ ไป ทาให้ลักษณะเส้นกราฟการเจริญเติบโตเป็นรูปขั้นบันได ซึ่งเส้นกราฟจะมี
ลักษณะเพิ่มขึ้นอย่างฉับพลัน เป็นระยะที่สิ่งมีชีวิตมีการลอกคราบและเติบโตขึ้น สลับ
กับการเพิ่มขึ้นอย่างช้า ๆ ในบางช่วง
การเจริญเติบโของสัตว์
กราฟแสดงการเจริญเติบโตของมวนน้า
29
30การเจริญเติบโของสัตว์
ส่วนหอยมีโครงร่างแข็งหุ้มนอกร่างกายเหมือนกัน แต่ไม่ต้องลอกคราบ
มันจะสร้างเปลือกเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ตัวมันที่อยู่ภายในก็จะขยายใหญ่ตามไปด้วย
สาหรับแมลง การเจริญเติบโตของแมลงแบ่งออกได้เป็น 2 พวก ดังนี้
ชนิดการเจริญเติบโตของแมลง ลักษณะการเจริญเติบโต
1. ไม่มีเมตามอร์โฟซีส
(Ametamorphosis)
วัฏจักรชีวิตของแมลงสองง่าม
- ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างในการเจริญเติบโต คือ
ไข่ (egg)  ตัวอ่อน (young) เหมือนตัวเต็มวัย แต่
เล็กกว่า  ตัวเต็มวัย (adult)
ตัวอย่างแมลง เช่น ตัวสองง่าม ตัวสามง่าม แมลงหางดีด
31การเจริญเติบโของสัตว์
2. มีเมตามอร์โฟซีส (Metamorphosis)
2.1 เมตามอร์โฟซีสแบบสมบูรณ์
(Complete Metamophosis)
วัฏจักรชีวิตของด้วง
- มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเป็นขั้น ๆ ในระหว่างกาน
เจริญเติบโต แมลงที่เจริญเติบโตลักษณะนี้ ได้แก่ แมลงต่าง
ๆ ที่นอกเหนือจากข้อ 1.
- มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างครบ 4 ขั้น คือ
ไข่ (egg)  ตัวอ่อน (larva)  ดักแด้
(pupa)  ตัวเต็มวัย (adult)
ตัวอย่างแมลง เช่น ผึ้ง ด้วง แมลงวัน มด ต่อ แตน ไหม
วัฏจักรชีวิตของแมลงวัน
ชนิดการเจริญเติบโตของแมลง ลักษณะการเจริญเติบโต
32
2.2 เมตามอร์โฟซีสแบบไม่สมบูรณ์
(Incomplete Metamorphosis)
ตัวอย่างแมลง เช่น แมลงปอ ชีปะขาว จิ้งโจ้น้า
- มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเพียง 3 ขั้น คือ
ไข่ (egg) ตัวอ่อนในน้า (naiad) ตัว
เต็มวัย (adult)
วัฏจักรชีวิตของแมลงปอ
ชนิดการเจริญเติบโตของแมลง ลักษณะการเจริญเติบโต
การเจริญเติบโของสัตว์
33
2.3 เมตามอร์โฟซีสแบบค่อยเป็นค่อยไป
(Gradual Metamorphosis)
ตัวอย่างแมลง เช่น แมลงสาป จิ้งหรีด จักจั่น เรือด
มวนต่าง ๆ
วัฏจักรชีวิตของแมลงสาป
- มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างทีละน้อย โดยมีการเปลี่ยนแปลง
รูปร่างเพียง 3 ขั้น คือ
ไข่ (egg)  ตัวอ่อนบนบก (nymph) 
ตัวเต็มวัย (adult)
ชนิดการเจริญเติบโตของแมลง ลักษณะการเจริญเติบโต
การเจริญเติบโของสัตว์
34
2. การเจริญเติบโตของสัตว์ที่มีโครงร่างแข็งอยู่ภายในร่างกาย มีการ
เจริญเติบโตเช่นเดียวกับคน โดยมีเส้นกราฟของการเจริญเติบโตเป็นรูปตัวเอส
(Growth Curve) เช่นเดียวกัน แต่ในสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า เช่น กบ
คางคก ในระหว่างการเจริญเติบโตจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง นั้นก็คือสัตว์พวกนี้จะมี
เมตามอร์โฟซีส ซึ่งจะแบ่งได้เป็น 2 ช่วงชัดเจน คือ ช่วงที่ดารงชีวิตอยู่ในน้า และช่วง
ที่ดารงชีวิตอยู่บนบกซึ่งมีลาดับขั้นการเจริญเติบโต คือ
ไข่  ลูกอ๊อด  ตัวเต็มวัย
การเจริญเติบโของสัตว์
35การเจริญเติบโของสัตว์
ไข่  ลูกอ๊อด  ตัวเต็มวัย
36
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายของสัตว์มีความสัมพันธ์กันทั้งทางตรงและทางอ้อม
ความสัมพันธ์ของระบบเหล่านี้ทาให้สัตว์สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ แม้ว่าจะอยู่ใน
สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน
ตัวอย่างความสัมพันธ์ของระบบต่าง ๆ ในรางกายสัตว์ ได้แก่
1. การเคลื่อนที่ของสัตว์ เป็นสมบัติที่สาคัญที่ทาให้สัตว์แตกต่างจากพืช
โดยปรกติสัตว์จะเคลื่อนที่เข้าหาสิ่งที่มีประโยชน์หรือสิ่งที่ต้องการในการดารงชีวิต เช่น
อาหาร ที่อยู่อาศัยที่เหมาะสม การผสมพันธ์ หรือการเลี้ยงดูตัวอ่อน แต่จะเคลื่อนหนีจาก
สิ่งที่ไม่ต้องการหรือเป็นอันตราย เช่น ศัตรูหรือผู้ล่า การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่ว่า
วัตถุประสงค์ใดก็ตาม ถ้าเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังจะเคลื่อนที่ได้ต้องอาศัยการทางาน
ร่วมกันของกล้ามเนื้อและระบบประสาท ส่วนสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังจะเกิดจากการทางาน
ร่วมกันของระบบกล้ามเนื้อ ระบบโครงกระดูก และระบบประสาท
ความสัมพันธ์ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
37
ความสัมพันธ์ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
2. การเจริญเติบโตของสัตว์ตั้งแต่ตัวอ่อนจนเป็นตัวเต็มวัย
จะต้องอาศัยทุกระบบในร่างกาย และระบบต่าง ๆ เหล่านี้จะต้องทางาน
ประสานสัมพันธ์กัน จึงจะทาให้การเจริญเติบโตของสัตว์เป็นไปตามปรกติ
เช่น
- ระบบย่อยอาหาร จะเป็นระบบที่นาสารอาหารต่าง ๆ เข้าสู่
ร่างกาย เพื่อเป็นวัตถุดิบสาคัญในการเจริญเติบโต
- ระบบหายใจ นาก๊าซที่เซลล์ต้องการเข้าสู่ร่างกายและกาจัดก๊าซที่
เซลล์ไม่ต้องการออกนอกร่างกาย นอกจากนี้ยังทาหน้าที่สร้างพลังงานให้แก่
เซลล์ ทาให้เซลล์สามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์
38
ความสัมพันธ์ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
- ระบบหมุนเวียนเลือด นาสารต่าง ๆ ที่มีประโยชน์ไปยังเซลล์ทั่ว
ร่างกาย และนาสารที่เซลล์ไม่ต้องการไปยังอวัยวะขับถ่ายเพื่อกาจัดออกนอก
ร่างกาย
- ระบบขับถ่าย กาจัดของเสียที่เซลล์ไม่ต้องการออกนอกร่างกาย
- ระบบโครงกระดูก ถ้าเป็นโครงร่างแข็งที่อยู่ภายนอกร่างกาย จะช่วย
ป้องกันอันตรายภายในไม่ให้ได้รับอันตราย แต่ถ้าเป็นโครงร่างแข็งที่อยู่ภายใน
จะช่วยในการเคลื่อนไหวหรือเคลื่อนที่
-ระบบประสาท ทาหน้าที่ควบคุมกลไกลการทางานของทุกระบบใน
ร่างกายเมื่อสัตว์เจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยก็พร้อมที่สะสืบพันธุ์เพื่อที่จะเพิ่ม
ลูกหลาน ทาให้สัตว์แต่ละชนิดสามารถ

More Related Content

What's hot

วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)สำเร็จ นางสีคุณ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชWann Rattiya
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)Natthaya Khaothong
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศgchom
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์พัน พัน
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 

What's hot (20)

ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 

Viewers also liked

ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2
เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2
เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2Mayuree Paitoon
 
Digestive system mutipoint
Digestive system mutipointDigestive system mutipoint
Digestive system mutipointsupreechafkk
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2Wichai Likitponrak
 

Viewers also liked (7)

ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
 
เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2
เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2
เรื่องอาหารและสารอาหาร ม.2
 
Digestive system mutipoint
Digestive system mutipointDigestive system mutipoint
Digestive system mutipoint
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 

Similar to โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์

ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2chirapa
 
ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333chirapa
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศchirapa
 
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกายชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกายO-SOT Kanesuna POTATO
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Tanchanok Pps
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศN'apple Naja
 
ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3chirapa
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 

Similar to โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ (20)

Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2
 
ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกายชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
 
Kingdom animal
Kingdom animalKingdom animal
Kingdom animal
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
5 behavi plan
5 behavi plan5 behavi plan
5 behavi plan
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
File
FileFile
File
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
2 hormone p_lan
2 hormone p_lan2 hormone p_lan
2 hormone p_lan
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์