SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 62
Baixar para ler offline
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ 
ชุดที่ ๓ สารพันเลือกสรรตีความ 
มารินทร์ จานแก้ว 
ตาแหน่งครู วิทยฐานะชานาญการพิเศษ 
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี 
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘ 
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คานา 
การอ่านเป็นทักษะกระบวนการเรียนรู้พื้นฐานที่สาคัญ ผู้เรียนสามารถ เกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ผู้อ่านจึงต้องมีความรู้และทักษะการอ่านเพื่อให้เกิดความเข้าใจ ในเรื่องที่อ่านได้อย่างลึกซึ้ง การอ่านมีจุดมุ่งหมายหลายประการ ตามลาดับขั้นความยากง่าย สาหรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ผู้เรียนต้องมี ความรู้ ความเข้าใจเรื่องการอ่านตามจุดประสงค์ที่ชัดเจน ซึ่งจะช่วยให้เกิดทักษะการเรียนรู้ ที่รวดเร็วและเกิดประสิทธิภาพ ผู้สอนจึงจัดทาแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย จานวน ๕ ชุด ประกอบด้วย 
๑ อ่านในใจลาดับความคิด 
๒ จับประเด็นพินิจใจความสาคัญ 
๓ สารพันเลือกสรรตีความ 
๔ แยกตามข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น 
๕ มุ่งเน้นการคิดวิเคราะห์ 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย เรื่อง สารพันเลือกสรรตีความ เป็นแบบฝึก เสริมทักษะการอ่านภาษาไทยชุดที่ ๓ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ สามารถฝึกทักษะ ได้ด้วยตนเอง สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้และเพื่อเป็นสื่อช่วยในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนบรรลุตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ 
ขอขอบพระคุณนายโอภาส เจริญเชื้อ ผู้อานวยการโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี นางยุพดี สุขกรม นางลาวรรณ สกุลกรุณาอารีย์ นางอารมย์ บุญเรืองรอด นางมัทนา มงคล นายวสันต์ บานเย็น นางวรรณนิภา อารักษ์ นางสาวจงใจ ศรีวิเชียร นางจรินทร์ พึ่งจงเจริญสุข ครูผู้เชี่ยวชาญ และคณะ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๒ และผู้เกี่ยวข้อง ตลอดจนครอบครัวที่ให้คาปรึกษา ช่วยเหลือ สนับสนุน การทาผลงานทางวิชาการในครั้งนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี 
มารินทร์ จานแก้ว 
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี 
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘
สารบัญ 
เรื่อง หน้า 
คาชี้แจงการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ๑ 
จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒ 
แบบทดสอบก่อนเรียน ๓ 
ใบความรู้เรื่องการอ่านตีความ ๕ 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุดที่ ๓ สารพันเลือกสรรตีความ ๑๐ 
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๑ หลักการอ่านตีความ ๑๓ 
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๒ การตีความจากการอ่านข้อความ ๑๗ 
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๓ การตีความจากการอ่านข่าว ๒๑ 
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๔ การตีความจากการอ่านเนื้อเพลง ๒๕ 
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๕ การตีความจากการอ่านนิทาน ๓๙ 
แบบฝึกกิจกรรมทบทวนความรู้การอ่านตีความ ๔๒ 
แบบทดสอบหลังเรียน ๔๓ 
ภาคผนวก ๔๕ 
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ๔๖ 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ๔๗ 
เฉลยแบบฝึกกิจกรรมที่ ๑ - ๕ ๔๘ 
เฉลยแบบฝึกกิจกรรมทบทวนความรู้เรื่องการอ่านตีความ ๕๔ 
เกณฑ์การประเมินการอ่านตีความ ๕๖ 
แบบประเมินการอ่านตีความ ๕๗ 
บรรณานุกรม ๕๙
๑ 
คำชี้แจง 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ของนักเรียน 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ชุดที่ ๓ สำรพันเลือกสรรตีควำม จัดทา ขึ้น 
เพื่อให้นักเรียนสามารถตีความเรื่องที่อ่านได้ถูกต้อง รู้และเข้าใจเรื่อง 
ที่อ่านสามารถนา ไปปฏิบัติและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจา วัน 
ขั้นตอนกำรฝึก 
๑. นักเรียนทา แบบทดสอบก่อนเรียน 
๒. นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง การอ่านตีความ 
๓. ปฏิบัติแบบฝึกกิจกรรมที่ ๑-๕ 
๔. ทา แบบทดสอบหลังเรียน 
๕. ตรวจแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน 
๖. บันทึกผลการทดสอบเพื่อพัฒนา
๒ 
จุดประสงค์การเรียนรู้ 
เมื่อนักเรียนศึกษาแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยเล่มนี้แล้ว 
นักเรียนจะมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องต่อไปนี้ 
๑. อธิบายหลักการอ่านตีความ 
๒. ตีความหมายของคา สา นวน จากเรื่องที่อ่านได้ 
๓. อธิบายจุดมุ่งหมายของผู้เขียน 
๔. เขียนสรุปเรื่องที่ได้อ่าน ถูกต้อง ชัดเจน 
๕. มีมารยาทที่ดีและมีนิสัยรักการอ่าน
๓ 
แบบทดสอบก่อนเรียน 
ชุดที่ ๓ สำรพันเลือกสรรตีควำม 
คำชี้แจง ๑. แบบทดสอบมี ๑๐ ข้อ 
๒. ให้นักเรียนทำเครื่องหมำย กำกบำท (x) เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด 
๑. ข้อใดบอกความหมายของการอ่าน ตีความได้ชัดเจนที่สุด 
ก. การอ่านเพื่อให้ทราบความหมายหรือความคิดสาคัญของเรื่อง 
ข. การหาความหมายของคาที่ซ้อนเร้น 
ค. การประเมินค่าข้อดีข้อบกพร่อง 
ง. การประเมินถ้อยคาหรือสานวน 
๒. การอ่านตีความมีความสาคัญ ยกเว้น ข้อใด 
ก. ช่วยฝึกการคิดหาเหตุผล 
ข. ทาให้มีวิจารณญาณในการอ่าน 
ค. ทาให้เข้าใจเรื่องได้หลายด้านหลายมุม 
ง. ช่วยฝึกประสบการณ์ในการอ่านเพิ่มมากขึ้น 
๓. ข้อใดไม่ใช่ ลักษณะคาถามในการอ่านตีความ 
ก. รู้ความสาคัญของเรื่อง 
ข. รู้ชื่อของผู้อ่านตีความ 
ค. รู้ความหมายของข้อความ 
ง. รู้จุดมุ่งหมายของผู้เขียน
๔ 
๔. “ดอกไม้แทนหญิงงาม” เป็นการตีความในลักษณะใด 
ก. เสียง(คา) 
ข. ภาพพจน์ 
ค. สัญลักษณ์ 
ง. พื้นหลังของเหตุการณ์ 
๕. “เรื่องนิราศภูเขาทอง สุนทรภู่แต่งขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๓” ข้อความดังกล่าวเป็น 
การตีความในลักษณะใด 
ก. เสียง(คา) 
ข. ภาพพจน์ 
ค. สัญลักษณ์ 
ง. พื้นหลังของเหตุการณ์ 
จากข้อ ๖-๑๐ ให้พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อความใดที่ถูกต้องให้เขียนเครื่องหมาย/ 
และข้อความใดผิดให้เขียนเครื่องหาย x หน้าข้อความ 
............... ๖. การถอดคาประพันธ์เป็นร้อยกรอง เป็นการตีความ 
............... ๗. ทุกคนสามารถอ่านแล้วตีความในข้อความเดียวได้เหมือนกัน ทุกคน 
............... ๘. การสามารถบอกเจตนาของผู้พูดหรือผู้เขียนได้เป็นการตีความ 
............... ๙. ความสามารถในการบอกข้อคิดของเรื่องได้เป็นการตีความ 
............... ๑๐. คาศัพท์ของข้อความจะมีความหมายตรงตามคาที่ปรากฏเสมอ เช่น หมู 
หมายถึงสัตว์เท่านั้น
๕ 
ใบควำมรู้ 
กำรอ่ำนตีควำม เป็นการอ่านเพื่อหาความหมายที่ซ่อนเร้น หรือหา 
ความหมายที่แท้จริงของสาร โดยพิจารณาข้อความที่อ่านว่าผู้เขียนมีเจตนาให้ผู้อ่าน 
เกิดความคิดหรือความรู้อะไรนอกเหนือไปจากการรู้เรื่อง 
กำรตีควำม คือการอ่านเพื่อให้ทราบความหมาย หรือความคิดที่สาคัญของ 
เรื่องการตีความมักเป็นไปตามประสบการณ์ และความรู้สึกของแต่ละคน ไม่จา เป็น 
ว่าทุกคนจะต้องตีความตรงกันเสมอไป 
กำรตีควำม ควรประเมินค่าและบอกได้ว่าสิ่งไหนมีความดีด้านใดและ 
บกพร่องในส่วนใด ควรพิจารณาถึงรูปแบบและจุดประสงค์ในการเขียนแล้ว 
จึงชี้ข้อดีข้อบกพร่องโดยพิจารณาให้เหมาะสมกับประเภทของงานของการเขียน 
นั้นๆ คุณภาพของถ้อยคา สา นวนที่ใช้มีความเหมาะสมหรือไม่เพียงใด เป็นต้น 
ควำมสำคัญของกำรอ่ำนตีควำม 
- ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องที่อ่านได้หลายด้านหลายมุม 
- ทา ให้เห็นคุณค่าและได้รับประโยชน์จากสิ่งที่อ่าน 
- ช่วยฝึกการคิดไตร่ตรองหาเหตุผล 
- ทา ให้มีวิจารณญาณในการอ่าน
๖ 
ลักษณะของคำถำมในเรื่องกำรอ่ำนตีควำม 
๑. อาจจะถามเกี่ยวกับคา ถามดังต่อไปนี้ 
๑. การตั้งชื่อเรื่อง (สามารถสรุปใจความสา คัญ ข้อความที่อ่านได้) 
๒. รู้จุดมุ่งหมายของผู้เขียน 
๓. รู้ความหมายของข้อความ 
๔. รู้ความสาคัญของเรื่อง 
๕. รู้ความหมายของคา ศัพท์ 
๖. รู้รายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน 
๗. ระเบียบวิธีคิด (คือการวิเคราะห์และประเมินผลได้) 
๘. ความสัมพันธ์ระหว่างย่อหน้าและระหว่างประโยค 
๙. วิธีนา เสนอเรื่อง(อธิบายตามลา ดับขั้น ยกตัวอย่าง ชี้ผลลัพธ์ 
ที่สัมพันธ์กันให้คา นิยาม ด้วยถ้อยคา ที่แปลกออกไป) 
๑๐. การประเมินข้อความ เนื้อเรื่องที่อ่าน.
๗ 
ประเภทของกำรอ่ำนตีควำม 
กำรอ่ำนตีควำม แบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภท คือ 
๑. การอ่านออกเสียงอย่างตีความ (การอ่านตีบท) เป็นการอ่านแบบทา เสียง 
ให้สมบทบาทใส่อารมณ์กับบทที่อ่านและความรู้สึกให้เหมาะสม 
๒. การอ่านตีความเป็นการอ่านที่ต้องศึกษาทา ความเข้าใจงานเขียน 
ทุกแง่ทุกมุม 
กำรอ่ำนออกเสียงอย่ำงตีควำม 
ควำมรู้เกี่ยวกับกำรอ่ำนตีควำม 
เสียง (คา ) และความหมาย เสียงของคา สา นวน ที่แตกต่างกัน ย่อม 
สื่อความหมายที่แตกต่างกัน ผู้อ่านต้องวิเคราะห์ว่าเสียงของคาที่ผู้เขียน 
ใช้นั้น สัมพันธ์กับความหมายอย่างไร ภาพพจน์ ผู้อ่านต้องมีความรู้ความ 
เข้าใจเรื่องภาพพจน์ ซึ่งจะช่วยให้การอ่านตีความ มีความกว้างขวาง 
ลึกซึ้งยิ่งขึ้น เช่น ภาพพจน์ 
อุปมำ อุปลักษณ์ นำมนัย อธิพจน์ บุคลำธิษฐำน เป็นต้น
๘ 
สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ในทางวรรณกรรม หมายถึง สิ่งใดสิ่งหนึ่ง 
ซึ่งมักจะเป็นรูปธรรม ที่เป็นเครื่องแทนนามธรรม เช่น ดอกไม้แทน หญิงงาม 
พระเพลิงแทนความร้องแรง ฯลฯ แบ่งเป็นสัญลักษณ์ตามแบบแผน และ 
สัญลักษณ์ส่วนตัว พื้นหลังของเหตุการณ์ คือ ความเป็นไปในสมัย ที่งานเขียน 
เรื่องนั้นได้แต่งขึ้น รวมถึงลัทธิความเชื่อ สภาพภูมิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ 
ประวัติศาสตร์และความเป็นอยู่ของยุคสมัยนั้น ๆ 
ความรู้อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกำรอ่ำนตีควำม ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับประวัติ 
ผู้แต่ง ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ จิตวิทยา ปรัชญา 
ศาสนา องค์ประกอบที่ทาให้การอ่านตีความแตกต่างกัน ได้แก่ ความสนใจ 
ประสบการณ์ จินตนาการ เจตคติ ระดับสติปัญญา ความรู้และวัย 
เกณฑ์การพิจารณาการอ่านตีความ 
การตีความงานเขียน ความผิดถูกไม่ใช่ 
เรื่องสา คัญอยู่ที่มีความลึกซึ้งกว้างขวาง 
และมีความสมเหตุสมผล
๙ 
กลวิธีกำรอ่ำนตีควำม (กระบวนกำรอ่ำนตีควำม) 
กำรวิเครำะห์เพื่อกำรตีควำม หมายถึง การพิจารณารูปแบบเนื้อหา กลวิธี 
การแต่ง และการใช้ภาษาของงานเขียน พิจารณารายละเอียดของงานเขียน 
จะต้องพิจารณารายละเอียดต่าง ๆ คือ 
๑. พิจำรณำว่ำส่วนใดเป็นข้อเท็จจริง เรื่องใดเป็นข้อคิดเห็น ตลอดจน 
ความรู้สึกและอารมณ์ของผู้เขียน ซึ่งอาจแสดงออกโดยตรง หรือแสดงออก 
โดยผ่านพฤติกรรมของตัวละคร 
๒. วิเครำะห์และรวบรวมปฏิกิริยำของผู้อ่ำนที่มีต่องำนเขียน เป็นการที่ผู้อ่าน 
วิเคราะห์ตัวเอง 
๓. กำรพิจำรณำควำมคิดแทรก หมายถึง การพิจารณาข้อความรู้ความคิด 
ที่ผู้เขียนมีไว้ในใจ แต่ไม่ได้เขียนไว้ในงานเขียนนั้นตรง ๆ 
กำรตีควำมงานเขียน นา ข้อมูลต่าง ๆ ประมวลเข้าด้วยกัน เพื่อทา ให้ 
เกิดความเข้าใจแล้วตีความงานเขียน ว่าผู้เขียนส่งสารอะไรมาให้แก่ผู้อ่าน 
การแสดงความคิดเสริม เป็นการที่ผู้อ่านแสดงความคิดของผู้อ่านเองโดย 
ที่กระบวนการอ่านตีความนั้นมีส่วนยั่วยุให้คิด เป็นความรู้ ความคิดเห็น 
ความรู้สึกหรืออารมณ์ที่เกิดขึ้นใหม่
๑๐ 
ใบควำมรู้ 
เรื่องกำรอ่ำนตีควำม 
คำ ชี้แจง ให้นักเรียนอธิบายความหมายของคา ที่ ขีดเส้นใต้ ตัวอย่ำงที่๑ 
๑. “ เขามีเส้นทา ให้เขาได้ทา งาน ” 
คา ว่า เส้น หมายถึง.................................................................................... 
๒. “ ถึงแม้กล่องจะใหญ่แต่ก็เบาเหมือนนุ่น ” 
คา ว่านุ่น หมายถึง...................................................................................... 
๓. “สักวาหวานอื่นมีหมื่นแสน ไม่เหมือนแม้นพจมานที่หวานหอม 
กลิ่นประเทียบเปรียบดวงพวงพะยอม อาจจะน้อมจิตโน้มด้วยโลมลม” 
คา ประพันธ์ข้างต้นหมายถึงสิ่งใด .................................................................. 
๔. “คดีที่มีคู่ คือไก่หมูเจ้าสุภา 
ใครเอาข้าวปลามา ให้สุภาก็ว่าดี” 
คา ประพันธ์ข้างต้นตีความได้ว่าอย่างไร.................................................... 
๕. “ เธอเป็นช้ำงเผือกในป่า ” 
คา ว่า ช้ำงเผือก หมายถึง ............................................................................
๑๑ 
จำกข้อ ๖ - ๑๐ ให้นักเรียนตีควำมหมำยจำกสำนวนที่กำหนดให้ 
๖. ซื้อง่ำยขำยคล่อง 
หมายถึง................................................................................................... 
๗. ชักแม่น้ำทั้งห้ำ 
หมายถึง..................................................................................................... 
๘. ข้ำเก่ำเต่ำเลี้ยง 
หมายถึง...................................................................................................... 
๙. ชักใบให้เรือเสีย 
หมายถึง...................................................................................................... 
๑๐. แขวนนวม 
หมายถึง ......................................................................................................
๑๒ 
แนวการตอบ 
ตัวอย่างที่ ๑ 
๑. เส้น หมายถึง พวกพ้อง พรรคพวก 
๒. นุ่น หมายถึง น้า หนักน้อย เบา 
๓. คา ประพันธ์ข้างต้น หมายถึง คา พูดที่ไพเราะ อ่อนหวาน 
๔. คา ประพันธ์ข้างต้นตีความได้ว่า ผู้มีคดีความนา สินบนมาให้ 
การตัดสินคดีความก็จะชนะ 
๕. ช้างเผือก หมายถึง สิ่งที่หายากซึ่งมีคุณสมบัติครบถ้วน 
จากข้อ ๖-๑๐ ให้นักเรียนตีความหมายจากสานวนที่กาหนดให้ 
๖. ซื้อง่ายขายคล่อง หมายถึง ขายของดี 
๗. ชักแม่น้าทั้งห้า หมายถึง พูดจาหว่านล้อม 
๘. ข้าเก่าเต่าเลี้ยง หมายถึง เป็นคนรับใช้เก่าแก่ 
๙. ชักใบให้เรือเสีย หมายถึง กรีดขวางหรือขัดขวางไม่ให้ทา งาน 
๑๐. แขวนนวม หมายถึง การเลิกประกอบอาชีพชกมวย
๑๓ 
จุดประสงค์ อธิบายหลักการอ่านตีความได้ 
ตอนที่ ๑ 
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๑ 
คาชี้แจง ให้นักเรียนทา เครื่องหมาย ( / )หน้าข้อความที่ถูก 
( X )หน้าข้อความที่ผิด ( ๕ คะแนน ) 
๑. ..........การอ่านตีความหมายถึงการหาความหมายที่แท้จริงของสาร 
๒. ..........การอ่านตีความ มีความสาคัญคือช่วยฝึกการคิดไตร่ตรองหาเหตุผล 
๓. ..........ลักษณะของคา ถามในการอ่านตีความจะถามประวัติผู้เขียนเสมอ 
๔. ..........ผู้อ่านสามารถตีความหมายสิ่งที่อ่านได้จากความรู้สึก 
๕. ..........การอ่านตีความ ที่แตกต่างกัน เกิดจากประสบการณ์และความรู้
๑๔ 
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๑ ตอนที่ ๒ 
คาชี้แจง ให้นักเรียนตีความหมายของคา จากประโยคต่อไปนี้ (๕ คะแนน) 
๑. เดวิด เบ็คแฮม นักเตะลูกหนังลงฟาดแข้งในนัดนี้ด้วย 
ฟาดแข้ง หมายถึง................................................................................................... 
๒. ภราดร ศรีชาพันธ์ นักหวดลูกหนังไทย กล่าวว่าเด็กไทยรุ่นใหม่เท่ห์ได้โดยไม่ต้อง 
ใช้ยาเสพติด 
นักหวดลูกหนัง หมายถึง......................................................................................... 
๓. พ่อแม่รักและถนอมลูกน้อยดังไข่ในหิน 
ดังไข่ในหิน หมายถึง........................................................................................................... 
๔. พ่อแม่คือพระพรหมของลูก 
พระพรหม หมายถึง........................................................................................................... 
๕. พวกเราต้องการน้าไม่ใช่น้าลาย 
น้า ไม่ใช่น้า ลาย หมายถึง ........................................................................................
๑๕ 
ใบความรู้ ตัวอย่างที่๒ 
เรื่อง การอ่านตีความ 
คา ชี้แจง ให้นักเรียนเขียนตีความหมายของคา จากข้อความที่กา หนดให้อ่าน 
“คนเราพอมีพิษเข้าก็ชอบเอาแต่ใจตัว แล้วก็ขี้โกรธ อยากจะให้คนอื่น 
เขานับถือ เกรงกลัว แต่ใครจะนับถือความโกรธได้ ถ้าฉันปล่อยให้เธอ 
วางอา นาจปล่อยหางเธอไว้ เธออาจจะต่อยตัวเองตามอย่างพ่อของเธอเองก็ได้” 
( ที่มา : แผนการสอนภาษาไทย ท ๑๐๑ หน้า ๙๐) 
การตีความหมายของคา 
คา ว่า “พิษ” หมายถึง……………………………………… 
คา ว่า “ปล่อยหาง” หมายถึง……………………………………… 
คา ว่า “ต่อยตัวเอง” หมายถึง................................................................
๑๖ 
แนวการตอบ 
คา ว่า “พิษ” หมายถึง มีอา นาจ 
คา ว่า “ปล่อยหาง” หมายถึง มีอิสระ ทา อะไรตามใจตนเอง 
คา ว่า “ต่อยตัวเอง” หมายถึง ทา ความเดือดร้อนให้กับตนเอง 
คิดดีๆ ก่อนตอบ 
นะจ๊ะ
๑๗ 
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๒ 
จุดประสงค์ ตีความจากข้อความที่กา หนดให้อ่านได้ 
คา ชี้แจง นักเรียนเขียนตีความหมายของคา สา นวน จากการอ่าน 
ข้อความต่อไปนี้ ( ๕ คะแนน) 
“กะทินั่งตาลอยอยู่ที่ศาลาริมน้า ในใจรู้สึกเลื่อนลอย แม้ว่าทุกคน 
จะมาอยู่พร้อมหน้าที่บ้านริมคลอง และช่วยยายเตรียมงานใหญ่จนดู 
โกลาหลไปทั้งบ้านกะทิวิ่งตามแม่ไปไกลเหลือเกินในฝันเมื่อคืนก่อน 
แม่หัวเราะและโบกมือให้กะทิวิ่งตามไปบนทางคดเคี้ยวที่ทอดยาวไป 
ข้างหน้าเหมือนไม่รู้จบ กะทิวิ่งตามจนเหนื่อย แต่แม่เหมือนไม่ยอมหยุด 
สักที จนกะทิต้องร้องบอกให้รอกะทิด้วย อย่าทิ้งกะทิไว้คนเดียว” 
(ที่มา : งามพรรณ เวชชาชีวะ “ความสุขของกะทิ ตอนตามหาพระจันทร์ ” หน้า ๕๔) 
๑. ในใจเลื่อนลอย หมายถึง.................................................................................... 
๒. เตรียมงานใหญ่ หมายถึง................................................................................... 
๓. โกลาหล หมายถึง................................................................................... 
๔. บนทางคดเคี้ยวที่ทอดยาวไปข้างหน้าเหมือนไม่รู้จบ หมายถึง ........................ 
.......................................................................................................................... 
๕. ทิ้ง หมายถึง.....................................................................................
๑๘ 
กระดำษคำตอบ 
ชุดที่ ๓ สำรพันเลือกสรรตีควำม 
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๒ 
๑. ในใจเลื่อนลอย หมายถึง.................................................................................... 
๒. เตรียมงานใหญ่ หมายถึง................................................................................... 
๓. โกลาหล หมายถึง................................................................................... 
๔. บนทางคดเคี้ยวที่ทอดยาวไปข้างหน้าเหมือนไม่รู้จบ 
หมายถึง .......................................................................................................... 
............................................................................................................................ 
๕. ทิ้ง หมายถึง................................................................................................... 
............................................................................................................................
๑๙ 
ใบความรู้ 
ตัวอย่างที่ ๓ 
เรื่อง การอ่านตีความ 
คา ชี้แจง ให้นักเรียนตีความหมายของคา จากข่าวที่กา หนดให้ 
(ที่มา: หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ปีที่ ๕๙ฉบับที่ ๑๘๕๑๕ วันอังคารที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๑ หน้า๗)
๒๐ 
แนวการตอบ 
ตัวอย่างที่ ๓ 
ทารุณ การทรมานให้ได้รับความเจ็บปวด เดือดร้อน 
ฟังไม่ขึ้น ผู้ฟังไม่เห็นด้วย 
เหลวไหล ไม่มีประโยชน์ ไม่มีเนื้อหาสาระ 
จุดมุ่งหมำยของผู้เขียนคือ กลุ่มเมตตาต่อสัตว์ เรียกร้องให้การทา ไอศกรีม 
ที่เคยทา จากนมวัวซึ่งถือว่าเป็นการทา ร้ายวัว จึงมีความ 
คิดเห็นให้หันมาทา จากนมคนแทน
๒๑ 
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๓ 
จุดประสงค์ ตีความจากข่าวที่กา หนดให้อ่านได้ 
คา ชี้แจง นักเรียนตีความจากข่าวที่กา หนดให้ต่อไปนี้ 
กินพริกแล้วจะช่วยให้ลดควำมอ้วนได้จริง 
จากการศึกษาพบว่า Capsaicin เป็นสารในพริกที่ให้รสเผ็ดร้อน ดังนั้น 
จึงมีผู้นาพริก หรือสารสกัดจากพริกมาใช้เป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อลด 
น้า หนัก โดยมักจะกล่าวอ้างว่า Capsaicin ในพริกช่วยเพิ่มการเผำผลำญอาหาร 
และลดความอยากอาหาร จากการศึกษาในคนพบว่า อาหารรสเผ็ดที่มี Capsaicin 
อาจ ช่วยลดปริมาณอาหารที่รับประทานได้ประมาณ 200 กิโลแคลอรี่ 
นอกจากนี้ยังพบอีกว่าการรับประทานอาหารรสเผ็ดไม่มีผลเปลี่ยนแปลง 
การใช้ออกซิเจน การใช้ไขมันของร่างกาย หรืออุณหภูมิของร่างกาย และยังไม่มี 
หลักฐานทางวิชาการสนับสนุนการใช้ Capsaisin เป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจะมี 
ผลเพิ่มการเผาผลาญพลังงำนของร่างกายได้ และทางการแพทย์ยังไม่มีข้อมูล 
ยืนยันชัดเจนอีกด้วย ดังนั้นผู้บริโภคควรพิจารณาให้รอบคอบก่อนตัดสินใจหรือ 
บริโภค 
ที่มา : http://guru.sanook.com/ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๑
๒๒ 
กระดำษคำตอบ 
ชุดที่ ๓ สำรพันเลือกสรรตีควำม 
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๓ 
๑. รสเผ็ดร้อน 
หมายถึง .............................................................................................................. 
๒. เผาผลาญ 
หมายถึง.............................................................................................................. 
๓. ผลิตภัณฑ์ 
หมายถึง ............................................................................................................ 
๔. ยืนยัน 
หมายถึง ........................................................................................................... 
๕. พลังงาน 
หมายถึง ..............................................................................................................
๒๓ 
ใบความรู้ 
เรื่อง การอ่านตีความ 
ตัวอย่างที่ ๔ 
คา ชี้แจง ให้นักเรียนตีความจากเนื้อเพลงที่กา หนดให้ 
เพลง ต้นไม้ของพ่อ 
(ศิลปินนักร้อง เบิร์ด ธงชัย แมคอินไตย) 
นานมาแล้ว พ่อได้ปลูกต้นไม้ไว้ให้เรา เพื่อวันหนึ่งจะบังลมหนาว 
และคอยเป็นร่มเงา ปลูกไว้ให้พวกเรา ทุกทุกคน 
พ่อใช้เหงื่อแทนน้า รดลงไป เพื่อให้ผลิดอกใบออกผล 
ให้เราทุกทุกคนเติบโตอย่างร่มเย็นในบ้านเรา 
ผ่านมาแล้ว ห้าสิบปี ต้นไม้นั้นสูงใหญ่ ลมแรงเท่าไรก็บรรเทา 
ออกผลให้เก็บกินแตกใบเพื่อให้ร่มเงา คอยดูแลเรา ให้เรายังมีวันต่อไป 
จนวันนี้ ใต้เงาแห่งต้นไม้ต้นใหญ่ ลูกได้อยู่ได้คอยอาศัย 
แผ่นดินอันกว้างไกล แต่เหมือนว่าหัวใจพ่อกว้างกว่า 
ลูกที่เกิดตรงนี้นั้นยังอยู่ และยังอยู่เพื่อคอยรักษา 
จะรวมใจเข้ามา จะมีเพียงสัญญาในหัวใจ 
**จากวันนี้สักหมื่นปี ต้นไม้ที่พ่อปลูก ต้องสวยต้องงดงามและยิ่งใหญ่ 
สืบสานและติดตาม จากรอยที่พ่อตั้งใจ เหงื่อเราจะเทไป จากหัวใจ 
เหงื่อเราจะเท ไป ให้ต้นไม้ของพ่อ ยังงดงาม** 
ที่มา : musicstation.kapook.com/ต้นไม้ของพ่อ.html
๒๔ 
แนวการตอบ 
การตีความหมายของคา 
๑. พ่อ หมายถึง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 
๒. ต้นไม้ หมายถึง พืชทีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสร้างขึ้น 
๓. ร่มเงา ความร่มเย็น ความสุขสบาย 
๔. แผ่นดิน พื้นที่ในประเทศไทย 
๕. แตกใบ ความเจริญรุ่งเรือง ความเจริญก้าวหน้า 
จุดมุ่งหมายของผู้เขียนคือ 
การราลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 
ที่ได้ทาคุณประโยชน์ให้ประชาชนของพระองค์ โดยไม่นึกถึงความ 
เหน็ดเหนื่อย
๒๕ 
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๔ 
จุดประสงค์ ตีความจากเนื้อเพลงที่กา หนดให้อ่านได้ 
คา ชี้แจง ให้นักเรียนตีความของคา จากเนื้อเพลงที่กา หนดให้อ่านต่อไปนี้(๑๐ คะแนน) 
เพลง ไม่ผิดใช่ไหม ที่รักเธอ (ศิลปิน กอล์ฟ – ไมค์) 
ไม่เคยรู้เลย เธอไม่เคยรู้เลย ว่าฉันมันรักเธอมากแค่ไหน ที่เธอทาเป็นเหมือน 
ไม่แคร์เหมือนฉันไม่เคยน่าสนใจ ช่วยตอบได้ไหม ทา ไมใจร้าย 
ก็รู้ ว่าเธอ ไกลฉันไปทุกที ไม่รู้ ความหวังฉันเหลือแค่ไหน และไม่รู้อีกนาน 
เท่าไหร่ เธอนั้นจะมองฉันสักที ผู้ชายคนนี้ ปวดร้าว เหลือเกิน ต้นไม้ไม่เคย 
รดน้าเลย ไม่รู้จะอยู่อย่างไร และฉันก็เป็นต้นไม้ที่รอคอยเธอ ขอเพียงแค่มีเธอ 
ขอเพียงได้ 
รักเธอ อยากให้รู้ ว่าเธอสาคัญแค่ไหน แค่เพียง หนึ่งวินาที ที่เธอเดินหายไป 
เธอเคยรู้ไหมว่าเธอ ทาให้ฉันเหมือนใจจะขาดก็รู้ ไม่ดี ฉันมันคนไม่ดี ไม่มีเหตุผล 
เหมือนคนอื่นเขา แต่เป็นคนที่มีหัวใจ และรักเธอหมดทั้งหัวใจ ไม่ผิดใช่ไหม 
( ไม่ผิดใช่ไหม ) ที่รักเธอ 
ต้นไม้ไม่เคยรดน้า เลย ไม่รู้จะอยู่อย่างไรและฉันก็เป็นต้นไม้ที่รอคอยเธอ 
ขอเพียงแค่มีเธอ ขอเพียงได้รักเธอ อยากให้รู้ ว่าเธอสา คัญแค่ไหน แค่เพียงหนึ่ง 
วินาที ที่เธอเดินหายไป เธอเคยรู้ไหมว่าเธอ ทา ให้ฉันเหมือนใจจะขาด เธอเคยรู้ 
ไหมว่าเธอ ทา ให้ฉันเหมือนใจจะขาด
๒๖ 
กระดำษคำตอบ 
ชุดที่ ๓ สำรพันเลือกสรรตีควำม 
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๔ 
๑. ไม่แคร์ หมายถึง .................................................................................. 
๒. ปวดร้าว หมายถึง .......................................................................................... 
๓. จุดมุ่งหมายของผู้เขียนคือ.............................................................................. 
๔. ความหมายของเพลง คือ................................................................................. 
๕. สรุปเนื้อหาของเพลง ....................................................................................
๒๗ 
ใบความรู้ 
เรื่อง การอ่านตีความ 
ตัวอย่างที่ ๕ 
คา ชี้แจง นักเรียนตีความจากนิทานที่กา หนดให้ 
นิทานเรื่อง รอยพระพุทธบาท 
(นิทานพื้นบ้านชวนอ่านของไทย เรื่องรอยพระพุทธบาท หน้า ๒๓๘)
๒๘ 
การค้นพบรอยพระพุทธบาทนี้เกิดขึ้นในรัชสมัยของพระบาท 
สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมแห่งกรุงศรีอยุธยา(พ.ศ.๒๑๓๕-๒๑๗๑) 
แต่ก่อนการค้นพบนั้นไม่มีใครทราบมาก่อนว่าประเทศไทยจะมี 
รอยพุทธบาท
๒๙ 
ในครั้งนั้น มีพระสงฆ์ไทยคณะหนึ่ง มีจิตศรัทธาอันแรงกล้า 
ที่จะนมัสการรอยพระพุทธบาทจึงเดินทางไปประเทศศรีลังกาเพื่อ 
นมัสการรอยพระพุทธบาท
๓๐ 
เมื่อเดินทางกลับมาถึงประเทศไทยแล้ว คณะสงฆ์กลุ่มนี้ก็ได้นา 
ความเข้ากราบทูลแด่พระเจ้าทรงธรรม ถึงเรื่องราวที่พวกตนได้ 
รับการบอกกล่าวจากพระสงฆ์ลังกา พระเจ้าทรงธรรมจึงได้มี 
พระบรมราชโองการให้พนักงานทั่วประเทศออกค้นหารอย 
พระพุทธบาท และหลังจากออกค้นหากันทั่วทุกหนทุกแห่ง 
มาระยะหนึ่งแต่ก็ไม่พบอะไร
๓๑ 
ต่อมาภายหลังมีนายพรานผู้มีความเจนจัดในการล่าสัตว์คนหนึ่ง 
ชื่อว่าพรานบุญได้ออกไปล่าสัตว์ในบริเวณใกล้กับเชิงเขาสุวรรณ 
บรรพต ในขณะที่เขาไต่ขึ้นไปบนเชิงเขาเข้าไปยังป่าทึบเขาได้ 
ใช้ธนูยิงเนื้อได้ตัวหนึ่ง
๓๒ 
เนื้อที่ถูกยิงตัวนั้นได้วิ่งไปในพุ่มไม้แล้วหายไปพักหนึ่ง เป็นที่น่า 
ประหลาดใจว่าเนื้อตัวเดียวกันนั้นออกมาจากพุ่มไม้และไม้ได้แสดง 
อาการให้เห็นว่าบาดเจ็บแม้แต่น้อย พรานบุญพิจารณาใคร่ครวญ ถึง 
เหตุประหลาดมหัศจรรย์อยู่หลายอย่าง เพราะว่าโดยปกติแล้วหลังจาก 
ถูกยิงโอกาสรอดของเนื้อนั้นมีน้อยมาก
๓๓ 
เพื่อดูให้แน่ว่าเกิดอะไรขึ้นพรานบุญจึงเข้าไปดูบริเวณที่เนื้อถูกยิง 
แล้วหายไป ก็ได้พบแอ่งเล็กๆบนโขดหินมีน้า ใสสะอาดอยู่เต็ม 
หลังจากพินิจพิเคราะห์โดยถ้วนถี่ก็พบว่าแท้ที่จริงแล้วเป็นรอยเท้า 
คนขนาดใหญ่
๓๔ 
ฉับพลันเขาก็ สังหรณ์ใจ ว่ารอยเท้าวิเศษนี้แน่นอน ที่ช่วยให้เนื้อ 
บาดเจ็บรอดชีวิตมาได้หลังจากดื่มน้า ศักด์ิสิทธ์ิ จากรอยเท้านี้ ดังนั้น 
เขาจึงวักน้า จากรอยเท้านั้นมาประพรมไปทั่วทั้งตัว และเขาก็ต้อง 
ประหลาดใจ ที่พบว่าโรคผิวหนังและ แผลตามตัวของเขาได้หายไป 
ทันที เขาคิดว่าคงจะเป็นรอยพระพุทธบาทที่ทางการกา ลังค้น
๓๕ 
พรานบุญจึงรีบไปแจ้งให้เจ้าเมืองสระบุรีทราบในสิ่งที่ตนได้พบเห็นมา 
เจ้าเมืองจึงรีบไปตรวจสอบรอยเท้าที่ว่าก็สรุปว่าเป็นรอยพระพุทธบาท 
จริงๆ ดังนั้นจึงได้นา ความไปกราบถวายบังคมทูลให้พระเจ้าทรงธรรม 
ทราบ
๓๖ 
ซึ่งพระองค์ก็บังเกิดความโสมนัสเป็นล้นพ้นต่อข่าวการค้นพบนี้จึงได้ 
โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเจดีย์ครอบรอยพระพุทธบาทเอาไว้ พร้อมกับ 
ทรงให้สร้างวัดคู่กับพระพุทธบาท ที่นั้นด้วย
๓๗ 
หลังจากค้นพบโดยพรานบุญในปีพ.ศ.๒๑๖๖ เป็นต้นมา ทุกๆปี 
ประชาชนจากทั่วประเทศจะไปสักการะกราบไหว้รอยพระพุทธบาท 
ที่จังหวัดสระบุรี ซึ่งห่างจาก กรุงเทพ ฯ ไปเพียง ๑๕๐ กิโลเมตรเท่านั้น 
และเรื่องพรานบุญก็ได้รับการเล่าขานต่อๆกัน มาซ้าแล้วซ้าอีกจนถึง 
ทุกวันนี้
๓๘ 
แนวการตอบ 
ตีความหมายหมายของคา 
ใคร่ครวญ หมายถึง คิดอย่างรอบคอบ 
มหัศจรรย์ หมายถึง สิ่งที่แปลกประหลาดเกิดขึ้น 
พินิจพิเคราะห์ หมายถึง พิจารณาอย่างถ้วนถี่ 
สังหรณ์ หมายถึง สิ่งที่คาดว่าจะเกิดขึ้น 
ประหลาดใจ หมายถึง แปลกใจ 
โสมนัส หมายถึง ความยินดี ดีใจ 
จุดมุ่งหมายของผู้เขียน 
พรานบุญมีอาชีพล่าสัตว์ พบรอยเท้าขนาดใหญ่ซึ่งคิดว่าเป็นรอยเท้า 
ของพระพุทธเจ้าพระเจ้าทรงธรรมจึงสร้างเจดีย์ครอบรอยพระพุทธบาท
๓๙ 
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๕ 
จุดประสงค์ ตีความจากนิทานที่กา หนดให้อ่านได้ 
คา ชี้แจง นักเรียนตีความจากนิทานที่กา หนดให้อ่านต่อไปนี้ (๕ คะแนน) 
นิทานเรื่องกระต่ายกับจระเข้ 
กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว กระต่ายเคยเป็นสัตว์ที่มีหางยาวและสวยงามเหมือน 
อย่างหางกระรอกและในกาลครั้งนั้นจระเข้ก็ยังเป็นสัตว์ที่มีลิ้นยาวอย่างสัตว์ทั่ว ๆ 
ไปบนพื้นพิภพนี้ 
แต่โดยบังเอิญโชคร้ายวันหนึ่งในขณะที่กระต่ายกา ลังดื่มน้า อยู่ที่ริมฝั่งแม่น้า 
โดยมิได้ทันระวังถึงอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นได้นั้น ก็ปรากฏว่ามีจระเข้ใหญ่ตัวหนึ่ง 
ขยับเข้ามาหามันอย่างช้า ๆ และเงียบกริบ มันว่ายน้าใกล้เข้ามายังกระต่ายน้อย 
ผู้น่าสงสารทันใดนั้น เจ้าจระเข้ยักษ์ก็กระชากกระต่ายน้อยเข้าปากหมายใจว่าจะกิน 
มันอย่างช้า ๆ 
แต่ก่อนที่จะกลืนเหยื่อลงไปในคอ เจ้าจระเข้ก็ขู่กระต่ายผู้น่าสงสารด้วยเสียงดัง 
โดยไม่ยอมเปิดปากกว้างและถึงแม้ว่าจะกลัวจนตัวสั่นเจ้ากระต่ายก็แกล้งทาเป็น 
ไม่สะทกสะท้านกับความตายที่คืบคลานเข้ามาหามันและตะโกนออกไปว่า
๔๐ 
“เจ้าจระเข้ผู้น่าสงสาร ถึงแม้ว่าเจ้าจะตัวใหญ่เราก็ไม่กลัวท่านเลยแม้แต่น้อย 
เจ้าขู่เราด้วยเสียงที่ไม่ดังพอที่จะทา ให้เรากลัวได้เพราะว่าท่านไม่ยอมเปิดปากกว้าง 
นั้นเอง” 
ด้วยความที่ไม่รู้ว่านั่นเป็นแผนการของกระต่าย จระเข้บันดาลโทสะ 
จึงอ้าปากกว้างและทาเสียงดัง ทันทีที่จระเข้อ้าปากกว้างขึ้นเท่านั้น กระต่ายก็ 
กระโดดออกมาอย่างรวดเร็วพร้อมกับเล็บที่คมของมันก็กระชากลิ้นของจระเข้ 
ออกมาด้วย ในทันทีที่ได้รับความเจ็บปวดอย่างมากจระเข้ก็หุบปากทันทีโดย 
สัญชาตญาณ 
ผลสุดท้ายปรากฏว่า กระต่ายสูญเสียหางที่สวยงามไปในขณะที่จระเข้ก็ต้อง 
สูญเสียลิ้นแลกกับการรู้ไม่ทันแผนของกระต่าย นับแต่นั้นเป็นต้นมากระต่ายก็ไม่มี 
หางยาวอีกเลยในขณะที่จระเข้ก็ไม่มีลิ้นยาวเหมือนอย่างสัตว์อื่น ๆ และเพราะความ 
กลัวอันตรายจากจระเข้นี้เอง กระต่ายก็ไม่ยอมดื่มน้า ในแม่น้า หรือลา คลองอีกเลย 
มันเลือก ที่จะดื่มน้า ค้างบนยอดหญ้าแทน 
(ที่มา: ลา ดวน (ธนพล) จาดใจดี นิทานพื้นบ้านชวนอ่านของไทย หน้า๒)
๔๑ 
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๕ 
๑. บังเอิญ……………………………………………………………………… 
๒. เงียบกริบ………………………………………………………………….. 
๓. หมายใจ………………………………………….…………………………… 
๔. สะทกสะท้าน………………………………………………………………… 
๕. จุดมุ่งหมายของผู้เขียน คือ 
................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
...................................................................................................................................... 
กระดาษคาตอบ 
ชุดที่ ๓ สารพันเลือกสรรตีความ
๔๒ 
แบบฝึกกิจกรรมเสริมทบทวนความรู้ การอ่านตีความ 
คา ชี้แจง นักเรียนเลือกเขียน ข้อความ ข่าว เนื้อเพลง นิทาน ที่ประทับใจ 
น่าสนใจแล้วตีความ 
………………………………. 
……………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………… 
ที่มา……………………………………………………… 
การตีความ 
๑. ความหมายของคา 
……………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………… 
๒.จุดมุ่งหมายของผู้เขียน 
……………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………… 
๓. ความสา คัญของเรื่อง 
……………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………
๔๓ 
แบบทดสอบหลังเรียน 
ชุดที่ ๓ สำรพันเลือกสรรตีควำม 
คาชี้แจง ๑. แบบทดสอบมี ๑๐ ข้อ 
๒. ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย กากบาท x) เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด 
จากข้อ ๑ - ๕ ให้พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อความใดที่ถูกต้องให้เขียน 
เครื่องหมาย/ และข้อความใดผิดให้เขียนเครื่องหาย x หน้าข้อความ 
............... ๑. การถอดคา ประพันธ์เป็นร้อยกรองเป็นการตีความ 
............... ๒. ทุกคนสามารถอ่านแล้วตีความในข้อความเดียวได้เหมือนกันทุกคน 
............... ๓. การสามารถบอกเจตนาของผู้พูดหรือผู้เขียนได้เป็นการตีความ 
............... ๔. ความสามารถในการบอกข้อคิดของเรื่องได้เป็นการตีความ 
............... ๕. คา ศัพท์ของข้อความจะมีความหมายตรงตามคา ที่ปรากฏเสมอ เช่น 
หมูหมายถึงสัตว์เท่านั้น 
๖. ข้อใดบอกความหมายของการอ่านตีความได้ชัดเจนที่สุด 
ก. การอ่านเพื่อให้ทราบความหมายหรือความคิดสา คัญของเรื่อง 
ข. การหาความหมายของคา ที่ซ้อนเร้น 
ค. การประเมินค่าข้อดีข้อบกพร่อง 
ง. การประเมินถ้อยคา หรือสา นวน
๔๔ 
๗. การอ่านตีความมีความสา คัญ ยกเว้นข้อใด 
ก. ช่วยฝึกการคิดหาเหตุผล 
ข. ทา ให้มีวิจารณญาณในการอ่าน 
ค. ทา ให้เข้าใจเรื่องได้หลายด้านหลายมุม 
ง. ช่วยฝึกประสบการณ์ในการอ่านเพิ่มมากขึ้น 
๘. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะคา ถามในการอ่านตีความ 
ก. รู้ความสาคัญของเรื่อง 
ข. รู้ความหมายของข้อความ 
ค. รู้ชื่อของผู้อ่านตีความ 
ง. รู้จุดมุ่งหมายของผู้เขียน 
๙. “ดอกไม้แทนหญิงงาม” เป็นการตีความในลักษณะใด 
ก. เสียง(คา ) 
ข. ภาพพจน์ 
ค. สัญลักษณ์ 
ง. พื้นหลังของเหตุการณ์ 
๑๐. “เรื่องนิราศภูเขาทอง สุนทรภู่แต่งขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๓” ข้อความดังกล่าวเป็น 
การตีความในลักษณะใด 
ก. เสียง(คา ) 
ข. ภาพพจน์ 
ค. สัญลักษณ์ 
ง. พื้นหลังของเหตุการณ์
๔๕ 
ภาคผนวก
๔๖ 
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 
แบบฝึกเสริมทักษะกำรอ่ำนภำษำไทย ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๑ 
ชุดที่ ๓ สำรพันเลือกสรรตีควำม 
ข้อ ก ข ค ง 
๑ X 
๒ X 
๓ X 
๔ X 
๕ X 
๖ X 
๗ X 
๘  
๙  
๑๐ X
๔๗ 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 
แบบฝึกเสริมทักษะกำรอ่ำนภำษำไทย ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๑ 
ชุดที่ ๓ สำรพันเลือกสรรตีควำม 
ข้อ ก ข ค ง 
๑ X 
๒ X 
๓  
๔  
๕ X 
๖ X 
๗ X 
๘ X 
๙ X 
๑๐ X
๔๘ 
ตอนที่ ๑ เฉลย 
แบบฝึกกิจกรรมที่ ๑ 
๑. ..../.....การอ่านตีความหมายถึงการหาความหมายที่แท้จริงของสาร 
๒. ..../.....การอ่านตีความ มีความสาคัญคือช่วยฝึกการคิดไตร่ตรองหาเหตุผล 
๓. ....X... ลักษณะของคา ถามในการอ่านตีความจะถามประวัติผู้เขียนเสมอ 
๔. ... X....ผู้อ่านสามารถตีความหมายสิ่งที่อ่านได้จากความรู้สึก 
๕. ..../.....การอ่านตีความ ที่แตกต่างกัน เกิดจากประสบการณ์และความรู้
๔๙ 
๑. ฟาดแข้ง หมายถึง ลงแข่งขันฟุตบอล 
๒. นักหวดลูกหนัง หมายถึง เป็นนักกีฬาเทนนิส 
๓. ไข่ในหิน หมายถึง เลี้ยงดู ดูแลอย่างดีมิให้ได้รับความกระทบกระเทือน 
๔. พระพรหม หมายถึง ผู้ให้ 
๕. น้าไม่ใช่น้าลาย หมายถึงน้า ซึ่งดื่มไม่ใช่คา พูดที่สัญญาว่าจะให้ 
เฉลยแบบฝึกกิจกรรมที่ ๑ 
ตอนที่ ๒
๕๐ 
เฉลยแบบฝึกกิจกรรมที่ ๒ 
๑. จิตใจกา ลังคิดถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ปัจจุบัน 
๒. การจัดเตรียมสิ่งของหลายอย่างเพื่อจัดกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง 
๓. ยุ่ง ชุลมุน สับสน 
๔. มองไม่เห็นจุดหมายปลายทางข้างหน้า 
๕. ไม่สนใจ อยู่เพียงลา พัง 
เฉลยแบบฝึกกิจกรรมที่ ๓ 
๑. อาหารรสจัด 
๒. การย่อยสลาย 
๓. การแปรรูปผลผลิต 
๔. รับรอง แน่ชัด 
๕. การทา ให้เกิดกา ลังมากขึ้น
๕๑ 
เก่งจังเลย 
เฉลยแบบฝึกกิจกรรมที่ ๔ 
๑. ไม่แคร์ หมายถึง ไม่สนใจ 
๒. ปวดร้าว หมายถึง ได้รับความทุกข์ ทรมาน 
๓. จุดมุ่งหมายของผู้เขียนคือ 
การได้รับความทุกข์ ทรมาน เพราะผิดหวัง ในความรัก 
๔. ความหมายของเพลง คือ 
การมีความรักให้กับคนที่เขาไม่รักตนกลับ 
๕. สรุปเนื้อหาของเพลง 
เกิดความทุกข์ ทรมานกับการหลงรักคนที่เขาไม่รักตอบ
๕๒ 
เฉลยแบบฝึกกิจกรรมที่ ๕ 
การตีความ 
๑. บังเอิญ ความหมายของคา ไม่ตั้งใจ 
๒. เงียบกริบ ความหมายของคา เงียบมาก ไม่มีเสียงใดในขณะนั้น 
๓. หมายใจ ความหมายของคา ตั้งใจ จองกระทา 
๔. สะทกสะท้าน ความหมายของคา ไม่รู้สึกกลัวแต่อย่างใด 
๕. จุดมุ่งหมายของผู้เขียน คือตัวละครทั้งจระเข้และกระต่ายต่างก็ได้รับความ 
เจ็บปวดจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น จนกลายเป็นเรื่องเล่ากล่าวขานถึงบุคลิก 
ของจระเข้และกระต่าย
๕๓ 
แนวการตอบแบบฝึกเสริมทักษะทบทวนความรู้ การอ่านตีความ 
เขียนข้อความ ข่าว เนื้อเพลง นิทาน ที่ประทับใจ น่าสนใจแล้วตีความ 
……………………………… 
………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………. 
ที่มา……………………………………………………… 
การตีความ 
๑. ความหมายของคา 
……………………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… 
๒. จุดมุ่งหมายของผู้เขียน 
………………………………………………………………………………………………… 
………………………………………………………………………………………………… 
๓. ความสาคัญของเรื่อง 
…………………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………………
๕๔ 
แบบฝึกกิจกรรมเสริมทบทวนความรู้ 
เรื่อง การอ่านตีความ 
ตัวอย่าง 
คา ชี้แจง ให้นักเรียนตีความหมายของคา จากเนื้อเพลงที่กา หนดให้ 
เพลง เพื่อนกันวันสุดท้าย (ศิลปินนักร้อง พั้นช์) 
กี่ปีแล้วที่เราเป็นเพื่อนกันมา เมื่อลองคิดคานวณดูก็เนิ่นนานจะเดือดร้อน จะ 
กังวล จะเบิกบานก็ไม่พ้นมาบรรยายให้กันฟัง กี่ปีแล้วที่เรามานั่งมองตา ได้ทะเลาะ 
และเฮฮาด้วยกันก็นานแล้วที่เธอเดินอยู่ข้างฉัน อยู่อย่างเพื่อกันมานานพอแล้วก็จะดี 
ไหม ถ้าฉันและเธอจะลองขยับเรื่องราว ถ้าหากฉันไม่ขอเป็นเพื่อนเธอเหมือนเก่า จะ 
ยอมรับไหม ถ้าวันพรุ่งนี้ จะเรียกเธอว่าแฟน ก็จะดีไหม ถ้าฉันและเธอจะลองขยับที่ทาง 
เข้ามาชิดและใกล้กันยิ่งกว่าที่เคยให้เป็นเหมือนเขา กิจวัตรประจา วันที่ผ่านมา ก็ไม่พ้น 
ต้องเป็นเธอที่ยุ่งเกี่ยว เท่าที่เห็นก็มีแต่เธอ แค่คนเดียว ให้คิดถึงและไว้ใจได้ทุกที 
ก็นานแล้วที่เธอเดินอยู่ข้างฉัน อยู่อย่างเพื่อนกันมานานพอแล้ว
๕๕ 
แนวการตอบ 
แบบฝึกกิจกรรมเสริมทบทวนความรู้ 
เรื่อง การอ่านตีความ 
ตัวอย่าง 
คานวณ การคิดอย่างละเอียด 
ขยับ การเคลื่อนที่ให้ใกล้ ให้ชิดมากกว่าเดิม 
ยอมรับ ยินยอม เห็นด้วย 
กิจวัตร งานที่ทา เป็นประจา 
จุดมุ่งหมายของผู้เขียนคือ มีหญิงชายที่คบเป็นเพื่อนกันมานาน ฝ่ายหญิงจึงบอก 
กับฝ่ายชายว่าเราน่าจะเลื่อนฐานะในความเป็นเพื่อน 
มาเป็นแฟนกัน 
ความหมายของเพลงคือ คนที่รู้จักเป็นเพื่อนกันมานาน อยากเปลี่ยนความรู้สึก 
เป็นคนรัก 
สรุปเนื้อหาของเพลง เพื่อนมีความสนิทสนมกันจนเกิดความรู้สึกเปลี่ยนไป
๕๖ 
เกณฑ์การประเมินการอ่านตีความ 
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 
คาชี้แจง ระบุคะแนนลงในช่องรายการประเมินและทาเครื่องหมาย / ลงในช่องสรุปการประเมิน 
รายการ 
เกณฑ์การให้คะแนน 
๔ 
๓ 
๒ 
๑ 
๑.ลักษณะ 
การตีความ 
อธิบายลักษณะคาถาม การอ่านตีความได้ ๑๐ ข้อ โดยเรียงลาดับ ความสาคัญ 
อธิบายลักษณะคาถาม การอ่านตีความได้ ๑๐ ข้อโดยไม่เรียงลาดับ ความสาคัญ 
อธิบายลักษณะคาถาม การอ่านตีความได้ ๕ ข้อ โดยเรียงลาดับ ความสาคัญ 
อธิบายลักษณะคาถาม การอ่านตีความได้ ๕ ข้อ โดยไม่เรียงลาดับ ความสาคัญ 
๒.ประเภท 
การตีความ 
อธิบายประเภทของ การตีความได้ถูกต้อง ชัดเจนครบถ้วนมี การยกตัวอย่าง 
อธิบายประเภทของการ ตีความได้ถูกต้อง ชัดเจนครบถ้วน ไม่มี การยกตัวอย่าง 
อธิบายประเภทของ การตีความได้ชัดเจนแต่ ไม่ครบถ้วน 
อธิบายประเภทของ การตีความได้แต่ไม่ ชัดเจน 
๓. กลวิธี 
การตีความ 
ตีความจากเรื่องที่อ่านโดย ใช้กลวิธีในการตีความ ครบทั้ง ๓ ข้อ 
ตีความจากเรื่องที่อ่าน โดยใช้กลวิธีใน การตีความ ๒ ข้อ 
ตีความจากเรื่องที่อ่าน โดยใช้กลวิธีใน การตีความเพียง ๑ ข้อ 
ตีความจากเรื่องที่อ่าน โดยไม่พิจารณาถึง กลวิธีการตีความ 
๔. การตีความ 
อ่านเรื่องที่กาหนดให้แล้ว สามารถตีความได้ โดยหา ความหมายที่แท้จริงและ ความหมายที่ซ้อนเร้นได้ ชัดเจนครบถ้วนตาม เจตนาของผู้เรียน 
อ่านเรื่องที่กาหนดให้ แล้วสามารถตีความได้ โดยหาความหมายที่ แท้จริงและความหมาย ที่ซ้อนเร้นของผู้เขียน ได้ ชัดเจนแต่ไม่ ครบถ้วน 
อ่านเรื่องที่กาหนดให้ แล้วสามารถตีความได้ โดยหาความหมาย ที่แท้จริงและ ความหมายที่ซ้อนเร้น ของผู้เขียนได้แต่ยังไม่ ชัดเจน 
อ่านเรื่องที่กาหนดให้ แล้วไม่สามารถตีความ หรือหาความหมาย ที่แท้จริงของผู้เขียน 
๕. นิสัยรัก 
การอ่าน 
อ่านข้อความ อ่านข่าว อ่านเนื้อเพลง อ่านนิทาน แล้วสามารถตีความ ได้ ถูกต้องชัดเจน 
อ่านข้อความ อ่านข่าว อ่านเนื้อเพลงแล้ว สามารถตีความ ได้ถูกต้อง ชัดเจน 
อ่านข้อความ อ่านข่าว แล้วสามารถตีความ ได้ถูกต้องชัดเจน 
อ่านข้อความแล้ว สามารถตีความความ ได้ถูกต้องชัดเจน 
หมายเหตุ การแปลความหายของคะแนนรวม คะแนน ๒๐ คะแนน เฉลี่ย ๑๐ คะแนนดังนี้ 
คะแนน ๘ - ๑๐ หมายถึง ดี คะแนน ๕ - ๗ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๑ - ๔ หมายถึง ปรับปรุง
๕๗ 
แบบประเมินการอ่านตีความ 
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 
คาชี้แจง ระบุคะแนนลงในช่องรายการประเมินและทาเครื่องหมาย / ลงในช่องสรุปการประเมิน 
ที่ 
รายการประเมิน 
รวม คะแนน ๒๐ เฉลี่ย 
๑๐ คะแนน 
สรุปผลการประเมิน 
ลักษณะ การตีความ 
๔ 
ประเภท การตีความ 
๔ 
กลวิธี การ ตีความ 
๔ 
การ ตีความ 
๔ 
นิสัยรัก 
การอ่าน 
๔ 
ดี 
พอใช้ 
ปรับปรุง 
๑ 
๒ 
๓ 
๔ 
๕ 
๖ 
๗ 
๘ 
๙ 
๑๐ 
๑๑ 
๑๒ 
๑๓ 
๑๔ 
๑๕ 
๑๖ 
๑๗ 
๑๘ 
๑๙ 
๒๐ 
๒๑ 
๒๒ 
๒๓ 
๒๔
๕๘ 
ที่ 
รายการประเมิน 
รวม คะแนน ๒๐ เฉลี่ย 
๑๐ คะแนน 
สรุปผลการประเมิน 
ลักษณะ การตีความ 
๔ 
ประเภท การตีความ 
๔ 
กลวิธีการ ตีความ 
๔ 
การ ตีความ 
๔ 
นิสัยรัก 
การอ่าน 
๔ 
ดี 
พอใช้ 
ปรับปรุง 
๒๕ 
๒๖ 
๒๗ 
๒๘ 
๒๙ 
๓๐ 
๓๑ 
๓๒ 
๓๓ 
๓๔ 
๓๕ 
๓๖ 
๓๗ 
๓๘ 
ลงชื่อ.................................................ผู้ประเมิน 
(.............................................. ) 
............../.................../............. 
หมายเหตุ การแปลความหมายของคะแนนรวม คะแนน ๒๐ คะแนน เฉลี่ย ๑๐ คะแนนดังนี้ 
คะแนน ๘-๑๐ หมายถึง ดี 
คะแนน ๕-๗ หมายถึง พอใช้ 
คะแนน ๑-๔ หมายถึง ปรับปรุง
๕๙ 
บรรณานุกรม 
กระทรวงศึกษาธิการ. แผนการสอนภาษาไทย ท ๑๐๑ . ม.ป.ท. , ม.ป.ป. 
งามพรรณ เวชชาวีวะ. ความสุขของกะทิ ตอนตามหาพระจันทร์. พิมพ์ครั้งที่ ๑๗. กรุงเทพฯ: 
แพรว, ๒๕๕๐. 
ไทยรัฐ. ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๑. 
ธนพล (ลา ดวน) จาดใจดี. นิทานพื้นบ้านชวนอ่านของไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๔ . หจก. ไทยเจริญ 
การพิมพ์, ๒๕๕๐. 
มติชน. ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑. 
อินเตอร์เน็ต 
กินพริกจะช่วยให้ลดความอ้วนได้จริง. [online]. Accessed 1 September 2008. Available from 
htpp: //www. guru.sanook.com 
ต้นไม้ของพ่อ. [online]. Accessed 9 December 2008. Available from ๙ ธันวาคม ๒๕๕๑. 
htpp:// www.Musicstation.kapook.com

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานKu'kab Ratthakiat
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑bangonchin
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดNam M'fonn
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1krubuatoom
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖baicha1006
 
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีSantichon Islamic School
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพSurapong Klamboot
 

Mais procurados (20)

8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
 
Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
 
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 

Destaque

บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความAj.Mallika Phongphaew
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความThanit Lawyer
 
การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความการอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความmayavee16
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 

Destaque (11)

บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
 
การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความการอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความ
 
ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 

Semelhante a สารพันเลือกสรรตีความ

ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญPiyarerk Bunkoson
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนkuneena
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยLhin Za
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5กชนุช คำเวียง
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายjiratt
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบปNamfon Wannapa
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความmarisa724
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรมPrapa Khangkhan
 

Semelhante a สารพันเลือกสรรตีความ (20)

ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอน
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอน
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมาย
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
Pan14
Pan14Pan14
Pan14
 
การเขียน
การเขียนการเขียน
การเขียน
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 

Mais de พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

Mais de พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

สารพันเลือกสรรตีความ

  • 1. แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ชุดที่ ๓ สารพันเลือกสรรตีความ มารินทร์ จานแก้ว ตาแหน่งครู วิทยฐานะชานาญการพิเศษ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 2. คานา การอ่านเป็นทักษะกระบวนการเรียนรู้พื้นฐานที่สาคัญ ผู้เรียนสามารถ เกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ผู้อ่านจึงต้องมีความรู้และทักษะการอ่านเพื่อให้เกิดความเข้าใจ ในเรื่องที่อ่านได้อย่างลึกซึ้ง การอ่านมีจุดมุ่งหมายหลายประการ ตามลาดับขั้นความยากง่าย สาหรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ผู้เรียนต้องมี ความรู้ ความเข้าใจเรื่องการอ่านตามจุดประสงค์ที่ชัดเจน ซึ่งจะช่วยให้เกิดทักษะการเรียนรู้ ที่รวดเร็วและเกิดประสิทธิภาพ ผู้สอนจึงจัดทาแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย จานวน ๕ ชุด ประกอบด้วย ๑ อ่านในใจลาดับความคิด ๒ จับประเด็นพินิจใจความสาคัญ ๓ สารพันเลือกสรรตีความ ๔ แยกตามข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ๕ มุ่งเน้นการคิดวิเคราะห์ แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย เรื่อง สารพันเลือกสรรตีความ เป็นแบบฝึก เสริมทักษะการอ่านภาษาไทยชุดที่ ๓ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ สามารถฝึกทักษะ ได้ด้วยตนเอง สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้และเพื่อเป็นสื่อช่วยในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนบรรลุตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ ขอขอบพระคุณนายโอภาส เจริญเชื้อ ผู้อานวยการโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี นางยุพดี สุขกรม นางลาวรรณ สกุลกรุณาอารีย์ นางอารมย์ บุญเรืองรอด นางมัทนา มงคล นายวสันต์ บานเย็น นางวรรณนิภา อารักษ์ นางสาวจงใจ ศรีวิเชียร นางจรินทร์ พึ่งจงเจริญสุข ครูผู้เชี่ยวชาญ และคณะ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๒ และผู้เกี่ยวข้อง ตลอดจนครอบครัวที่ให้คาปรึกษา ช่วยเหลือ สนับสนุน การทาผลงานทางวิชาการในครั้งนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี มารินทร์ จานแก้ว โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๘
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้า คาชี้แจงการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ๑ จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒ แบบทดสอบก่อนเรียน ๓ ใบความรู้เรื่องการอ่านตีความ ๕ แบบฝึกเสริมทักษะ ชุดที่ ๓ สารพันเลือกสรรตีความ ๑๐ แบบฝึกกิจกรรมที่ ๑ หลักการอ่านตีความ ๑๓ แบบฝึกกิจกรรมที่ ๒ การตีความจากการอ่านข้อความ ๑๗ แบบฝึกกิจกรรมที่ ๓ การตีความจากการอ่านข่าว ๒๑ แบบฝึกกิจกรรมที่ ๔ การตีความจากการอ่านเนื้อเพลง ๒๕ แบบฝึกกิจกรรมที่ ๕ การตีความจากการอ่านนิทาน ๓๙ แบบฝึกกิจกรรมทบทวนความรู้การอ่านตีความ ๔๒ แบบทดสอบหลังเรียน ๔๓ ภาคผนวก ๔๕ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ๔๖ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ๔๗ เฉลยแบบฝึกกิจกรรมที่ ๑ - ๕ ๔๘ เฉลยแบบฝึกกิจกรรมทบทวนความรู้เรื่องการอ่านตีความ ๕๔ เกณฑ์การประเมินการอ่านตีความ ๕๖ แบบประเมินการอ่านตีความ ๕๗ บรรณานุกรม ๕๙
  • 4. ๑ คำชี้แจง แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ชุดที่ ๓ สำรพันเลือกสรรตีควำม จัดทา ขึ้น เพื่อให้นักเรียนสามารถตีความเรื่องที่อ่านได้ถูกต้อง รู้และเข้าใจเรื่อง ที่อ่านสามารถนา ไปปฏิบัติและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจา วัน ขั้นตอนกำรฝึก ๑. นักเรียนทา แบบทดสอบก่อนเรียน ๒. นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง การอ่านตีความ ๓. ปฏิบัติแบบฝึกกิจกรรมที่ ๑-๕ ๔. ทา แบบทดสอบหลังเรียน ๕. ตรวจแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ๖. บันทึกผลการทดสอบเพื่อพัฒนา
  • 5. ๒ จุดประสงค์การเรียนรู้ เมื่อนักเรียนศึกษาแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยเล่มนี้แล้ว นักเรียนจะมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องต่อไปนี้ ๑. อธิบายหลักการอ่านตีความ ๒. ตีความหมายของคา สา นวน จากเรื่องที่อ่านได้ ๓. อธิบายจุดมุ่งหมายของผู้เขียน ๔. เขียนสรุปเรื่องที่ได้อ่าน ถูกต้อง ชัดเจน ๕. มีมารยาทที่ดีและมีนิสัยรักการอ่าน
  • 6. ๓ แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ ๓ สำรพันเลือกสรรตีควำม คำชี้แจง ๑. แบบทดสอบมี ๑๐ ข้อ ๒. ให้นักเรียนทำเครื่องหมำย กำกบำท (x) เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด ๑. ข้อใดบอกความหมายของการอ่าน ตีความได้ชัดเจนที่สุด ก. การอ่านเพื่อให้ทราบความหมายหรือความคิดสาคัญของเรื่อง ข. การหาความหมายของคาที่ซ้อนเร้น ค. การประเมินค่าข้อดีข้อบกพร่อง ง. การประเมินถ้อยคาหรือสานวน ๒. การอ่านตีความมีความสาคัญ ยกเว้น ข้อใด ก. ช่วยฝึกการคิดหาเหตุผล ข. ทาให้มีวิจารณญาณในการอ่าน ค. ทาให้เข้าใจเรื่องได้หลายด้านหลายมุม ง. ช่วยฝึกประสบการณ์ในการอ่านเพิ่มมากขึ้น ๓. ข้อใดไม่ใช่ ลักษณะคาถามในการอ่านตีความ ก. รู้ความสาคัญของเรื่อง ข. รู้ชื่อของผู้อ่านตีความ ค. รู้ความหมายของข้อความ ง. รู้จุดมุ่งหมายของผู้เขียน
  • 7. ๔ ๔. “ดอกไม้แทนหญิงงาม” เป็นการตีความในลักษณะใด ก. เสียง(คา) ข. ภาพพจน์ ค. สัญลักษณ์ ง. พื้นหลังของเหตุการณ์ ๕. “เรื่องนิราศภูเขาทอง สุนทรภู่แต่งขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๓” ข้อความดังกล่าวเป็น การตีความในลักษณะใด ก. เสียง(คา) ข. ภาพพจน์ ค. สัญลักษณ์ ง. พื้นหลังของเหตุการณ์ จากข้อ ๖-๑๐ ให้พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อความใดที่ถูกต้องให้เขียนเครื่องหมาย/ และข้อความใดผิดให้เขียนเครื่องหาย x หน้าข้อความ ............... ๖. การถอดคาประพันธ์เป็นร้อยกรอง เป็นการตีความ ............... ๗. ทุกคนสามารถอ่านแล้วตีความในข้อความเดียวได้เหมือนกัน ทุกคน ............... ๘. การสามารถบอกเจตนาของผู้พูดหรือผู้เขียนได้เป็นการตีความ ............... ๙. ความสามารถในการบอกข้อคิดของเรื่องได้เป็นการตีความ ............... ๑๐. คาศัพท์ของข้อความจะมีความหมายตรงตามคาที่ปรากฏเสมอ เช่น หมู หมายถึงสัตว์เท่านั้น
  • 8. ๕ ใบควำมรู้ กำรอ่ำนตีควำม เป็นการอ่านเพื่อหาความหมายที่ซ่อนเร้น หรือหา ความหมายที่แท้จริงของสาร โดยพิจารณาข้อความที่อ่านว่าผู้เขียนมีเจตนาให้ผู้อ่าน เกิดความคิดหรือความรู้อะไรนอกเหนือไปจากการรู้เรื่อง กำรตีควำม คือการอ่านเพื่อให้ทราบความหมาย หรือความคิดที่สาคัญของ เรื่องการตีความมักเป็นไปตามประสบการณ์ และความรู้สึกของแต่ละคน ไม่จา เป็น ว่าทุกคนจะต้องตีความตรงกันเสมอไป กำรตีควำม ควรประเมินค่าและบอกได้ว่าสิ่งไหนมีความดีด้านใดและ บกพร่องในส่วนใด ควรพิจารณาถึงรูปแบบและจุดประสงค์ในการเขียนแล้ว จึงชี้ข้อดีข้อบกพร่องโดยพิจารณาให้เหมาะสมกับประเภทของงานของการเขียน นั้นๆ คุณภาพของถ้อยคา สา นวนที่ใช้มีความเหมาะสมหรือไม่เพียงใด เป็นต้น ควำมสำคัญของกำรอ่ำนตีควำม - ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องที่อ่านได้หลายด้านหลายมุม - ทา ให้เห็นคุณค่าและได้รับประโยชน์จากสิ่งที่อ่าน - ช่วยฝึกการคิดไตร่ตรองหาเหตุผล - ทา ให้มีวิจารณญาณในการอ่าน
  • 9. ๖ ลักษณะของคำถำมในเรื่องกำรอ่ำนตีควำม ๑. อาจจะถามเกี่ยวกับคา ถามดังต่อไปนี้ ๑. การตั้งชื่อเรื่อง (สามารถสรุปใจความสา คัญ ข้อความที่อ่านได้) ๒. รู้จุดมุ่งหมายของผู้เขียน ๓. รู้ความหมายของข้อความ ๔. รู้ความสาคัญของเรื่อง ๕. รู้ความหมายของคา ศัพท์ ๖. รู้รายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ๗. ระเบียบวิธีคิด (คือการวิเคราะห์และประเมินผลได้) ๘. ความสัมพันธ์ระหว่างย่อหน้าและระหว่างประโยค ๙. วิธีนา เสนอเรื่อง(อธิบายตามลา ดับขั้น ยกตัวอย่าง ชี้ผลลัพธ์ ที่สัมพันธ์กันให้คา นิยาม ด้วยถ้อยคา ที่แปลกออกไป) ๑๐. การประเมินข้อความ เนื้อเรื่องที่อ่าน.
  • 10. ๗ ประเภทของกำรอ่ำนตีควำม กำรอ่ำนตีควำม แบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภท คือ ๑. การอ่านออกเสียงอย่างตีความ (การอ่านตีบท) เป็นการอ่านแบบทา เสียง ให้สมบทบาทใส่อารมณ์กับบทที่อ่านและความรู้สึกให้เหมาะสม ๒. การอ่านตีความเป็นการอ่านที่ต้องศึกษาทา ความเข้าใจงานเขียน ทุกแง่ทุกมุม กำรอ่ำนออกเสียงอย่ำงตีควำม ควำมรู้เกี่ยวกับกำรอ่ำนตีควำม เสียง (คา ) และความหมาย เสียงของคา สา นวน ที่แตกต่างกัน ย่อม สื่อความหมายที่แตกต่างกัน ผู้อ่านต้องวิเคราะห์ว่าเสียงของคาที่ผู้เขียน ใช้นั้น สัมพันธ์กับความหมายอย่างไร ภาพพจน์ ผู้อ่านต้องมีความรู้ความ เข้าใจเรื่องภาพพจน์ ซึ่งจะช่วยให้การอ่านตีความ มีความกว้างขวาง ลึกซึ้งยิ่งขึ้น เช่น ภาพพจน์ อุปมำ อุปลักษณ์ นำมนัย อธิพจน์ บุคลำธิษฐำน เป็นต้น
  • 11. ๘ สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ในทางวรรณกรรม หมายถึง สิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งมักจะเป็นรูปธรรม ที่เป็นเครื่องแทนนามธรรม เช่น ดอกไม้แทน หญิงงาม พระเพลิงแทนความร้องแรง ฯลฯ แบ่งเป็นสัญลักษณ์ตามแบบแผน และ สัญลักษณ์ส่วนตัว พื้นหลังของเหตุการณ์ คือ ความเป็นไปในสมัย ที่งานเขียน เรื่องนั้นได้แต่งขึ้น รวมถึงลัทธิความเชื่อ สภาพภูมิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์และความเป็นอยู่ของยุคสมัยนั้น ๆ ความรู้อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกำรอ่ำนตีควำม ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับประวัติ ผู้แต่ง ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ จิตวิทยา ปรัชญา ศาสนา องค์ประกอบที่ทาให้การอ่านตีความแตกต่างกัน ได้แก่ ความสนใจ ประสบการณ์ จินตนาการ เจตคติ ระดับสติปัญญา ความรู้และวัย เกณฑ์การพิจารณาการอ่านตีความ การตีความงานเขียน ความผิดถูกไม่ใช่ เรื่องสา คัญอยู่ที่มีความลึกซึ้งกว้างขวาง และมีความสมเหตุสมผล
  • 12. ๙ กลวิธีกำรอ่ำนตีควำม (กระบวนกำรอ่ำนตีควำม) กำรวิเครำะห์เพื่อกำรตีควำม หมายถึง การพิจารณารูปแบบเนื้อหา กลวิธี การแต่ง และการใช้ภาษาของงานเขียน พิจารณารายละเอียดของงานเขียน จะต้องพิจารณารายละเอียดต่าง ๆ คือ ๑. พิจำรณำว่ำส่วนใดเป็นข้อเท็จจริง เรื่องใดเป็นข้อคิดเห็น ตลอดจน ความรู้สึกและอารมณ์ของผู้เขียน ซึ่งอาจแสดงออกโดยตรง หรือแสดงออก โดยผ่านพฤติกรรมของตัวละคร ๒. วิเครำะห์และรวบรวมปฏิกิริยำของผู้อ่ำนที่มีต่องำนเขียน เป็นการที่ผู้อ่าน วิเคราะห์ตัวเอง ๓. กำรพิจำรณำควำมคิดแทรก หมายถึง การพิจารณาข้อความรู้ความคิด ที่ผู้เขียนมีไว้ในใจ แต่ไม่ได้เขียนไว้ในงานเขียนนั้นตรง ๆ กำรตีควำมงานเขียน นา ข้อมูลต่าง ๆ ประมวลเข้าด้วยกัน เพื่อทา ให้ เกิดความเข้าใจแล้วตีความงานเขียน ว่าผู้เขียนส่งสารอะไรมาให้แก่ผู้อ่าน การแสดงความคิดเสริม เป็นการที่ผู้อ่านแสดงความคิดของผู้อ่านเองโดย ที่กระบวนการอ่านตีความนั้นมีส่วนยั่วยุให้คิด เป็นความรู้ ความคิดเห็น ความรู้สึกหรืออารมณ์ที่เกิดขึ้นใหม่
  • 13. ๑๐ ใบควำมรู้ เรื่องกำรอ่ำนตีควำม คำ ชี้แจง ให้นักเรียนอธิบายความหมายของคา ที่ ขีดเส้นใต้ ตัวอย่ำงที่๑ ๑. “ เขามีเส้นทา ให้เขาได้ทา งาน ” คา ว่า เส้น หมายถึง.................................................................................... ๒. “ ถึงแม้กล่องจะใหญ่แต่ก็เบาเหมือนนุ่น ” คา ว่านุ่น หมายถึง...................................................................................... ๓. “สักวาหวานอื่นมีหมื่นแสน ไม่เหมือนแม้นพจมานที่หวานหอม กลิ่นประเทียบเปรียบดวงพวงพะยอม อาจจะน้อมจิตโน้มด้วยโลมลม” คา ประพันธ์ข้างต้นหมายถึงสิ่งใด .................................................................. ๔. “คดีที่มีคู่ คือไก่หมูเจ้าสุภา ใครเอาข้าวปลามา ให้สุภาก็ว่าดี” คา ประพันธ์ข้างต้นตีความได้ว่าอย่างไร.................................................... ๕. “ เธอเป็นช้ำงเผือกในป่า ” คา ว่า ช้ำงเผือก หมายถึง ............................................................................
  • 14. ๑๑ จำกข้อ ๖ - ๑๐ ให้นักเรียนตีควำมหมำยจำกสำนวนที่กำหนดให้ ๖. ซื้อง่ำยขำยคล่อง หมายถึง................................................................................................... ๗. ชักแม่น้ำทั้งห้ำ หมายถึง..................................................................................................... ๘. ข้ำเก่ำเต่ำเลี้ยง หมายถึง...................................................................................................... ๙. ชักใบให้เรือเสีย หมายถึง...................................................................................................... ๑๐. แขวนนวม หมายถึง ......................................................................................................
  • 15. ๑๒ แนวการตอบ ตัวอย่างที่ ๑ ๑. เส้น หมายถึง พวกพ้อง พรรคพวก ๒. นุ่น หมายถึง น้า หนักน้อย เบา ๓. คา ประพันธ์ข้างต้น หมายถึง คา พูดที่ไพเราะ อ่อนหวาน ๔. คา ประพันธ์ข้างต้นตีความได้ว่า ผู้มีคดีความนา สินบนมาให้ การตัดสินคดีความก็จะชนะ ๕. ช้างเผือก หมายถึง สิ่งที่หายากซึ่งมีคุณสมบัติครบถ้วน จากข้อ ๖-๑๐ ให้นักเรียนตีความหมายจากสานวนที่กาหนดให้ ๖. ซื้อง่ายขายคล่อง หมายถึง ขายของดี ๗. ชักแม่น้าทั้งห้า หมายถึง พูดจาหว่านล้อม ๘. ข้าเก่าเต่าเลี้ยง หมายถึง เป็นคนรับใช้เก่าแก่ ๙. ชักใบให้เรือเสีย หมายถึง กรีดขวางหรือขัดขวางไม่ให้ทา งาน ๑๐. แขวนนวม หมายถึง การเลิกประกอบอาชีพชกมวย
  • 16. ๑๓ จุดประสงค์ อธิบายหลักการอ่านตีความได้ ตอนที่ ๑ แบบฝึกกิจกรรมที่ ๑ คาชี้แจง ให้นักเรียนทา เครื่องหมาย ( / )หน้าข้อความที่ถูก ( X )หน้าข้อความที่ผิด ( ๕ คะแนน ) ๑. ..........การอ่านตีความหมายถึงการหาความหมายที่แท้จริงของสาร ๒. ..........การอ่านตีความ มีความสาคัญคือช่วยฝึกการคิดไตร่ตรองหาเหตุผล ๓. ..........ลักษณะของคา ถามในการอ่านตีความจะถามประวัติผู้เขียนเสมอ ๔. ..........ผู้อ่านสามารถตีความหมายสิ่งที่อ่านได้จากความรู้สึก ๕. ..........การอ่านตีความ ที่แตกต่างกัน เกิดจากประสบการณ์และความรู้
  • 17. ๑๔ แบบฝึกกิจกรรมที่ ๑ ตอนที่ ๒ คาชี้แจง ให้นักเรียนตีความหมายของคา จากประโยคต่อไปนี้ (๕ คะแนน) ๑. เดวิด เบ็คแฮม นักเตะลูกหนังลงฟาดแข้งในนัดนี้ด้วย ฟาดแข้ง หมายถึง................................................................................................... ๒. ภราดร ศรีชาพันธ์ นักหวดลูกหนังไทย กล่าวว่าเด็กไทยรุ่นใหม่เท่ห์ได้โดยไม่ต้อง ใช้ยาเสพติด นักหวดลูกหนัง หมายถึง......................................................................................... ๓. พ่อแม่รักและถนอมลูกน้อยดังไข่ในหิน ดังไข่ในหิน หมายถึง........................................................................................................... ๔. พ่อแม่คือพระพรหมของลูก พระพรหม หมายถึง........................................................................................................... ๕. พวกเราต้องการน้าไม่ใช่น้าลาย น้า ไม่ใช่น้า ลาย หมายถึง ........................................................................................
  • 18. ๑๕ ใบความรู้ ตัวอย่างที่๒ เรื่อง การอ่านตีความ คา ชี้แจง ให้นักเรียนเขียนตีความหมายของคา จากข้อความที่กา หนดให้อ่าน “คนเราพอมีพิษเข้าก็ชอบเอาแต่ใจตัว แล้วก็ขี้โกรธ อยากจะให้คนอื่น เขานับถือ เกรงกลัว แต่ใครจะนับถือความโกรธได้ ถ้าฉันปล่อยให้เธอ วางอา นาจปล่อยหางเธอไว้ เธออาจจะต่อยตัวเองตามอย่างพ่อของเธอเองก็ได้” ( ที่มา : แผนการสอนภาษาไทย ท ๑๐๑ หน้า ๙๐) การตีความหมายของคา คา ว่า “พิษ” หมายถึง……………………………………… คา ว่า “ปล่อยหาง” หมายถึง……………………………………… คา ว่า “ต่อยตัวเอง” หมายถึง................................................................
  • 19. ๑๖ แนวการตอบ คา ว่า “พิษ” หมายถึง มีอา นาจ คา ว่า “ปล่อยหาง” หมายถึง มีอิสระ ทา อะไรตามใจตนเอง คา ว่า “ต่อยตัวเอง” หมายถึง ทา ความเดือดร้อนให้กับตนเอง คิดดีๆ ก่อนตอบ นะจ๊ะ
  • 20. ๑๗ แบบฝึกกิจกรรมที่ ๒ จุดประสงค์ ตีความจากข้อความที่กา หนดให้อ่านได้ คา ชี้แจง นักเรียนเขียนตีความหมายของคา สา นวน จากการอ่าน ข้อความต่อไปนี้ ( ๕ คะแนน) “กะทินั่งตาลอยอยู่ที่ศาลาริมน้า ในใจรู้สึกเลื่อนลอย แม้ว่าทุกคน จะมาอยู่พร้อมหน้าที่บ้านริมคลอง และช่วยยายเตรียมงานใหญ่จนดู โกลาหลไปทั้งบ้านกะทิวิ่งตามแม่ไปไกลเหลือเกินในฝันเมื่อคืนก่อน แม่หัวเราะและโบกมือให้กะทิวิ่งตามไปบนทางคดเคี้ยวที่ทอดยาวไป ข้างหน้าเหมือนไม่รู้จบ กะทิวิ่งตามจนเหนื่อย แต่แม่เหมือนไม่ยอมหยุด สักที จนกะทิต้องร้องบอกให้รอกะทิด้วย อย่าทิ้งกะทิไว้คนเดียว” (ที่มา : งามพรรณ เวชชาชีวะ “ความสุขของกะทิ ตอนตามหาพระจันทร์ ” หน้า ๕๔) ๑. ในใจเลื่อนลอย หมายถึง.................................................................................... ๒. เตรียมงานใหญ่ หมายถึง................................................................................... ๓. โกลาหล หมายถึง................................................................................... ๔. บนทางคดเคี้ยวที่ทอดยาวไปข้างหน้าเหมือนไม่รู้จบ หมายถึง ........................ .......................................................................................................................... ๕. ทิ้ง หมายถึง.....................................................................................
  • 21. ๑๘ กระดำษคำตอบ ชุดที่ ๓ สำรพันเลือกสรรตีควำม แบบฝึกกิจกรรมที่ ๒ ๑. ในใจเลื่อนลอย หมายถึง.................................................................................... ๒. เตรียมงานใหญ่ หมายถึง................................................................................... ๓. โกลาหล หมายถึง................................................................................... ๔. บนทางคดเคี้ยวที่ทอดยาวไปข้างหน้าเหมือนไม่รู้จบ หมายถึง .......................................................................................................... ............................................................................................................................ ๕. ทิ้ง หมายถึง................................................................................................... ............................................................................................................................
  • 22. ๑๙ ใบความรู้ ตัวอย่างที่ ๓ เรื่อง การอ่านตีความ คา ชี้แจง ให้นักเรียนตีความหมายของคา จากข่าวที่กา หนดให้ (ที่มา: หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ปีที่ ๕๙ฉบับที่ ๑๘๕๑๕ วันอังคารที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๑ หน้า๗)
  • 23. ๒๐ แนวการตอบ ตัวอย่างที่ ๓ ทารุณ การทรมานให้ได้รับความเจ็บปวด เดือดร้อน ฟังไม่ขึ้น ผู้ฟังไม่เห็นด้วย เหลวไหล ไม่มีประโยชน์ ไม่มีเนื้อหาสาระ จุดมุ่งหมำยของผู้เขียนคือ กลุ่มเมตตาต่อสัตว์ เรียกร้องให้การทา ไอศกรีม ที่เคยทา จากนมวัวซึ่งถือว่าเป็นการทา ร้ายวัว จึงมีความ คิดเห็นให้หันมาทา จากนมคนแทน
  • 24. ๒๑ แบบฝึกกิจกรรมที่ ๓ จุดประสงค์ ตีความจากข่าวที่กา หนดให้อ่านได้ คา ชี้แจง นักเรียนตีความจากข่าวที่กา หนดให้ต่อไปนี้ กินพริกแล้วจะช่วยให้ลดควำมอ้วนได้จริง จากการศึกษาพบว่า Capsaicin เป็นสารในพริกที่ให้รสเผ็ดร้อน ดังนั้น จึงมีผู้นาพริก หรือสารสกัดจากพริกมาใช้เป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อลด น้า หนัก โดยมักจะกล่าวอ้างว่า Capsaicin ในพริกช่วยเพิ่มการเผำผลำญอาหาร และลดความอยากอาหาร จากการศึกษาในคนพบว่า อาหารรสเผ็ดที่มี Capsaicin อาจ ช่วยลดปริมาณอาหารที่รับประทานได้ประมาณ 200 กิโลแคลอรี่ นอกจากนี้ยังพบอีกว่าการรับประทานอาหารรสเผ็ดไม่มีผลเปลี่ยนแปลง การใช้ออกซิเจน การใช้ไขมันของร่างกาย หรืออุณหภูมิของร่างกาย และยังไม่มี หลักฐานทางวิชาการสนับสนุนการใช้ Capsaisin เป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจะมี ผลเพิ่มการเผาผลาญพลังงำนของร่างกายได้ และทางการแพทย์ยังไม่มีข้อมูล ยืนยันชัดเจนอีกด้วย ดังนั้นผู้บริโภคควรพิจารณาให้รอบคอบก่อนตัดสินใจหรือ บริโภค ที่มา : http://guru.sanook.com/ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๑
  • 25. ๒๒ กระดำษคำตอบ ชุดที่ ๓ สำรพันเลือกสรรตีควำม แบบฝึกกิจกรรมที่ ๓ ๑. รสเผ็ดร้อน หมายถึง .............................................................................................................. ๒. เผาผลาญ หมายถึง.............................................................................................................. ๓. ผลิตภัณฑ์ หมายถึง ............................................................................................................ ๔. ยืนยัน หมายถึง ........................................................................................................... ๕. พลังงาน หมายถึง ..............................................................................................................
  • 26. ๒๓ ใบความรู้ เรื่อง การอ่านตีความ ตัวอย่างที่ ๔ คา ชี้แจง ให้นักเรียนตีความจากเนื้อเพลงที่กา หนดให้ เพลง ต้นไม้ของพ่อ (ศิลปินนักร้อง เบิร์ด ธงชัย แมคอินไตย) นานมาแล้ว พ่อได้ปลูกต้นไม้ไว้ให้เรา เพื่อวันหนึ่งจะบังลมหนาว และคอยเป็นร่มเงา ปลูกไว้ให้พวกเรา ทุกทุกคน พ่อใช้เหงื่อแทนน้า รดลงไป เพื่อให้ผลิดอกใบออกผล ให้เราทุกทุกคนเติบโตอย่างร่มเย็นในบ้านเรา ผ่านมาแล้ว ห้าสิบปี ต้นไม้นั้นสูงใหญ่ ลมแรงเท่าไรก็บรรเทา ออกผลให้เก็บกินแตกใบเพื่อให้ร่มเงา คอยดูแลเรา ให้เรายังมีวันต่อไป จนวันนี้ ใต้เงาแห่งต้นไม้ต้นใหญ่ ลูกได้อยู่ได้คอยอาศัย แผ่นดินอันกว้างไกล แต่เหมือนว่าหัวใจพ่อกว้างกว่า ลูกที่เกิดตรงนี้นั้นยังอยู่ และยังอยู่เพื่อคอยรักษา จะรวมใจเข้ามา จะมีเพียงสัญญาในหัวใจ **จากวันนี้สักหมื่นปี ต้นไม้ที่พ่อปลูก ต้องสวยต้องงดงามและยิ่งใหญ่ สืบสานและติดตาม จากรอยที่พ่อตั้งใจ เหงื่อเราจะเทไป จากหัวใจ เหงื่อเราจะเท ไป ให้ต้นไม้ของพ่อ ยังงดงาม** ที่มา : musicstation.kapook.com/ต้นไม้ของพ่อ.html
  • 27. ๒๔ แนวการตอบ การตีความหมายของคา ๑. พ่อ หมายถึง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ๒. ต้นไม้ หมายถึง พืชทีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสร้างขึ้น ๓. ร่มเงา ความร่มเย็น ความสุขสบาย ๔. แผ่นดิน พื้นที่ในประเทศไทย ๕. แตกใบ ความเจริญรุ่งเรือง ความเจริญก้าวหน้า จุดมุ่งหมายของผู้เขียนคือ การราลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ได้ทาคุณประโยชน์ให้ประชาชนของพระองค์ โดยไม่นึกถึงความ เหน็ดเหนื่อย
  • 28. ๒๕ แบบฝึกกิจกรรมที่ ๔ จุดประสงค์ ตีความจากเนื้อเพลงที่กา หนดให้อ่านได้ คา ชี้แจง ให้นักเรียนตีความของคา จากเนื้อเพลงที่กา หนดให้อ่านต่อไปนี้(๑๐ คะแนน) เพลง ไม่ผิดใช่ไหม ที่รักเธอ (ศิลปิน กอล์ฟ – ไมค์) ไม่เคยรู้เลย เธอไม่เคยรู้เลย ว่าฉันมันรักเธอมากแค่ไหน ที่เธอทาเป็นเหมือน ไม่แคร์เหมือนฉันไม่เคยน่าสนใจ ช่วยตอบได้ไหม ทา ไมใจร้าย ก็รู้ ว่าเธอ ไกลฉันไปทุกที ไม่รู้ ความหวังฉันเหลือแค่ไหน และไม่รู้อีกนาน เท่าไหร่ เธอนั้นจะมองฉันสักที ผู้ชายคนนี้ ปวดร้าว เหลือเกิน ต้นไม้ไม่เคย รดน้าเลย ไม่รู้จะอยู่อย่างไร และฉันก็เป็นต้นไม้ที่รอคอยเธอ ขอเพียงแค่มีเธอ ขอเพียงได้ รักเธอ อยากให้รู้ ว่าเธอสาคัญแค่ไหน แค่เพียง หนึ่งวินาที ที่เธอเดินหายไป เธอเคยรู้ไหมว่าเธอ ทาให้ฉันเหมือนใจจะขาดก็รู้ ไม่ดี ฉันมันคนไม่ดี ไม่มีเหตุผล เหมือนคนอื่นเขา แต่เป็นคนที่มีหัวใจ และรักเธอหมดทั้งหัวใจ ไม่ผิดใช่ไหม ( ไม่ผิดใช่ไหม ) ที่รักเธอ ต้นไม้ไม่เคยรดน้า เลย ไม่รู้จะอยู่อย่างไรและฉันก็เป็นต้นไม้ที่รอคอยเธอ ขอเพียงแค่มีเธอ ขอเพียงได้รักเธอ อยากให้รู้ ว่าเธอสา คัญแค่ไหน แค่เพียงหนึ่ง วินาที ที่เธอเดินหายไป เธอเคยรู้ไหมว่าเธอ ทา ให้ฉันเหมือนใจจะขาด เธอเคยรู้ ไหมว่าเธอ ทา ให้ฉันเหมือนใจจะขาด
  • 29. ๒๖ กระดำษคำตอบ ชุดที่ ๓ สำรพันเลือกสรรตีควำม แบบฝึกกิจกรรมที่ ๔ ๑. ไม่แคร์ หมายถึง .................................................................................. ๒. ปวดร้าว หมายถึง .......................................................................................... ๓. จุดมุ่งหมายของผู้เขียนคือ.............................................................................. ๔. ความหมายของเพลง คือ................................................................................. ๕. สรุปเนื้อหาของเพลง ....................................................................................
  • 30. ๒๗ ใบความรู้ เรื่อง การอ่านตีความ ตัวอย่างที่ ๕ คา ชี้แจง นักเรียนตีความจากนิทานที่กา หนดให้ นิทานเรื่อง รอยพระพุทธบาท (นิทานพื้นบ้านชวนอ่านของไทย เรื่องรอยพระพุทธบาท หน้า ๒๓๘)
  • 32. ๒๙ ในครั้งนั้น มีพระสงฆ์ไทยคณะหนึ่ง มีจิตศรัทธาอันแรงกล้า ที่จะนมัสการรอยพระพุทธบาทจึงเดินทางไปประเทศศรีลังกาเพื่อ นมัสการรอยพระพุทธบาท
  • 33. ๓๐ เมื่อเดินทางกลับมาถึงประเทศไทยแล้ว คณะสงฆ์กลุ่มนี้ก็ได้นา ความเข้ากราบทูลแด่พระเจ้าทรงธรรม ถึงเรื่องราวที่พวกตนได้ รับการบอกกล่าวจากพระสงฆ์ลังกา พระเจ้าทรงธรรมจึงได้มี พระบรมราชโองการให้พนักงานทั่วประเทศออกค้นหารอย พระพุทธบาท และหลังจากออกค้นหากันทั่วทุกหนทุกแห่ง มาระยะหนึ่งแต่ก็ไม่พบอะไร
  • 34. ๓๑ ต่อมาภายหลังมีนายพรานผู้มีความเจนจัดในการล่าสัตว์คนหนึ่ง ชื่อว่าพรานบุญได้ออกไปล่าสัตว์ในบริเวณใกล้กับเชิงเขาสุวรรณ บรรพต ในขณะที่เขาไต่ขึ้นไปบนเชิงเขาเข้าไปยังป่าทึบเขาได้ ใช้ธนูยิงเนื้อได้ตัวหนึ่ง
  • 35. ๓๒ เนื้อที่ถูกยิงตัวนั้นได้วิ่งไปในพุ่มไม้แล้วหายไปพักหนึ่ง เป็นที่น่า ประหลาดใจว่าเนื้อตัวเดียวกันนั้นออกมาจากพุ่มไม้และไม้ได้แสดง อาการให้เห็นว่าบาดเจ็บแม้แต่น้อย พรานบุญพิจารณาใคร่ครวญ ถึง เหตุประหลาดมหัศจรรย์อยู่หลายอย่าง เพราะว่าโดยปกติแล้วหลังจาก ถูกยิงโอกาสรอดของเนื้อนั้นมีน้อยมาก
  • 36. ๓๓ เพื่อดูให้แน่ว่าเกิดอะไรขึ้นพรานบุญจึงเข้าไปดูบริเวณที่เนื้อถูกยิง แล้วหายไป ก็ได้พบแอ่งเล็กๆบนโขดหินมีน้า ใสสะอาดอยู่เต็ม หลังจากพินิจพิเคราะห์โดยถ้วนถี่ก็พบว่าแท้ที่จริงแล้วเป็นรอยเท้า คนขนาดใหญ่
  • 37. ๓๔ ฉับพลันเขาก็ สังหรณ์ใจ ว่ารอยเท้าวิเศษนี้แน่นอน ที่ช่วยให้เนื้อ บาดเจ็บรอดชีวิตมาได้หลังจากดื่มน้า ศักด์ิสิทธ์ิ จากรอยเท้านี้ ดังนั้น เขาจึงวักน้า จากรอยเท้านั้นมาประพรมไปทั่วทั้งตัว และเขาก็ต้อง ประหลาดใจ ที่พบว่าโรคผิวหนังและ แผลตามตัวของเขาได้หายไป ทันที เขาคิดว่าคงจะเป็นรอยพระพุทธบาทที่ทางการกา ลังค้น
  • 39. ๓๖ ซึ่งพระองค์ก็บังเกิดความโสมนัสเป็นล้นพ้นต่อข่าวการค้นพบนี้จึงได้ โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเจดีย์ครอบรอยพระพุทธบาทเอาไว้ พร้อมกับ ทรงให้สร้างวัดคู่กับพระพุทธบาท ที่นั้นด้วย
  • 40. ๓๗ หลังจากค้นพบโดยพรานบุญในปีพ.ศ.๒๑๖๖ เป็นต้นมา ทุกๆปี ประชาชนจากทั่วประเทศจะไปสักการะกราบไหว้รอยพระพุทธบาท ที่จังหวัดสระบุรี ซึ่งห่างจาก กรุงเทพ ฯ ไปเพียง ๑๕๐ กิโลเมตรเท่านั้น และเรื่องพรานบุญก็ได้รับการเล่าขานต่อๆกัน มาซ้าแล้วซ้าอีกจนถึง ทุกวันนี้
  • 41. ๓๘ แนวการตอบ ตีความหมายหมายของคา ใคร่ครวญ หมายถึง คิดอย่างรอบคอบ มหัศจรรย์ หมายถึง สิ่งที่แปลกประหลาดเกิดขึ้น พินิจพิเคราะห์ หมายถึง พิจารณาอย่างถ้วนถี่ สังหรณ์ หมายถึง สิ่งที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ประหลาดใจ หมายถึง แปลกใจ โสมนัส หมายถึง ความยินดี ดีใจ จุดมุ่งหมายของผู้เขียน พรานบุญมีอาชีพล่าสัตว์ พบรอยเท้าขนาดใหญ่ซึ่งคิดว่าเป็นรอยเท้า ของพระพุทธเจ้าพระเจ้าทรงธรรมจึงสร้างเจดีย์ครอบรอยพระพุทธบาท
  • 42. ๓๙ แบบฝึกกิจกรรมที่ ๕ จุดประสงค์ ตีความจากนิทานที่กา หนดให้อ่านได้ คา ชี้แจง นักเรียนตีความจากนิทานที่กา หนดให้อ่านต่อไปนี้ (๕ คะแนน) นิทานเรื่องกระต่ายกับจระเข้ กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว กระต่ายเคยเป็นสัตว์ที่มีหางยาวและสวยงามเหมือน อย่างหางกระรอกและในกาลครั้งนั้นจระเข้ก็ยังเป็นสัตว์ที่มีลิ้นยาวอย่างสัตว์ทั่ว ๆ ไปบนพื้นพิภพนี้ แต่โดยบังเอิญโชคร้ายวันหนึ่งในขณะที่กระต่ายกา ลังดื่มน้า อยู่ที่ริมฝั่งแม่น้า โดยมิได้ทันระวังถึงอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นได้นั้น ก็ปรากฏว่ามีจระเข้ใหญ่ตัวหนึ่ง ขยับเข้ามาหามันอย่างช้า ๆ และเงียบกริบ มันว่ายน้าใกล้เข้ามายังกระต่ายน้อย ผู้น่าสงสารทันใดนั้น เจ้าจระเข้ยักษ์ก็กระชากกระต่ายน้อยเข้าปากหมายใจว่าจะกิน มันอย่างช้า ๆ แต่ก่อนที่จะกลืนเหยื่อลงไปในคอ เจ้าจระเข้ก็ขู่กระต่ายผู้น่าสงสารด้วยเสียงดัง โดยไม่ยอมเปิดปากกว้างและถึงแม้ว่าจะกลัวจนตัวสั่นเจ้ากระต่ายก็แกล้งทาเป็น ไม่สะทกสะท้านกับความตายที่คืบคลานเข้ามาหามันและตะโกนออกไปว่า
  • 43. ๔๐ “เจ้าจระเข้ผู้น่าสงสาร ถึงแม้ว่าเจ้าจะตัวใหญ่เราก็ไม่กลัวท่านเลยแม้แต่น้อย เจ้าขู่เราด้วยเสียงที่ไม่ดังพอที่จะทา ให้เรากลัวได้เพราะว่าท่านไม่ยอมเปิดปากกว้าง นั้นเอง” ด้วยความที่ไม่รู้ว่านั่นเป็นแผนการของกระต่าย จระเข้บันดาลโทสะ จึงอ้าปากกว้างและทาเสียงดัง ทันทีที่จระเข้อ้าปากกว้างขึ้นเท่านั้น กระต่ายก็ กระโดดออกมาอย่างรวดเร็วพร้อมกับเล็บที่คมของมันก็กระชากลิ้นของจระเข้ ออกมาด้วย ในทันทีที่ได้รับความเจ็บปวดอย่างมากจระเข้ก็หุบปากทันทีโดย สัญชาตญาณ ผลสุดท้ายปรากฏว่า กระต่ายสูญเสียหางที่สวยงามไปในขณะที่จระเข้ก็ต้อง สูญเสียลิ้นแลกกับการรู้ไม่ทันแผนของกระต่าย นับแต่นั้นเป็นต้นมากระต่ายก็ไม่มี หางยาวอีกเลยในขณะที่จระเข้ก็ไม่มีลิ้นยาวเหมือนอย่างสัตว์อื่น ๆ และเพราะความ กลัวอันตรายจากจระเข้นี้เอง กระต่ายก็ไม่ยอมดื่มน้า ในแม่น้า หรือลา คลองอีกเลย มันเลือก ที่จะดื่มน้า ค้างบนยอดหญ้าแทน (ที่มา: ลา ดวน (ธนพล) จาดใจดี นิทานพื้นบ้านชวนอ่านของไทย หน้า๒)
  • 44. ๔๑ แบบฝึกกิจกรรมที่ ๕ ๑. บังเอิญ……………………………………………………………………… ๒. เงียบกริบ………………………………………………………………….. ๓. หมายใจ………………………………………….…………………………… ๔. สะทกสะท้าน………………………………………………………………… ๕. จุดมุ่งหมายของผู้เขียน คือ ................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... กระดาษคาตอบ ชุดที่ ๓ สารพันเลือกสรรตีความ
  • 45. ๔๒ แบบฝึกกิจกรรมเสริมทบทวนความรู้ การอ่านตีความ คา ชี้แจง นักเรียนเลือกเขียน ข้อความ ข่าว เนื้อเพลง นิทาน ที่ประทับใจ น่าสนใจแล้วตีความ ………………………………. ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ที่มา……………………………………………………… การตีความ ๑. ความหมายของคา ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ๒.จุดมุ่งหมายของผู้เขียน ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ๓. ความสา คัญของเรื่อง ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………
  • 46. ๔๓ แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ ๓ สำรพันเลือกสรรตีควำม คาชี้แจง ๑. แบบทดสอบมี ๑๐ ข้อ ๒. ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย กากบาท x) เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด จากข้อ ๑ - ๕ ให้พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อความใดที่ถูกต้องให้เขียน เครื่องหมาย/ และข้อความใดผิดให้เขียนเครื่องหาย x หน้าข้อความ ............... ๑. การถอดคา ประพันธ์เป็นร้อยกรองเป็นการตีความ ............... ๒. ทุกคนสามารถอ่านแล้วตีความในข้อความเดียวได้เหมือนกันทุกคน ............... ๓. การสามารถบอกเจตนาของผู้พูดหรือผู้เขียนได้เป็นการตีความ ............... ๔. ความสามารถในการบอกข้อคิดของเรื่องได้เป็นการตีความ ............... ๕. คา ศัพท์ของข้อความจะมีความหมายตรงตามคา ที่ปรากฏเสมอ เช่น หมูหมายถึงสัตว์เท่านั้น ๖. ข้อใดบอกความหมายของการอ่านตีความได้ชัดเจนที่สุด ก. การอ่านเพื่อให้ทราบความหมายหรือความคิดสา คัญของเรื่อง ข. การหาความหมายของคา ที่ซ้อนเร้น ค. การประเมินค่าข้อดีข้อบกพร่อง ง. การประเมินถ้อยคา หรือสา นวน
  • 47. ๔๔ ๗. การอ่านตีความมีความสา คัญ ยกเว้นข้อใด ก. ช่วยฝึกการคิดหาเหตุผล ข. ทา ให้มีวิจารณญาณในการอ่าน ค. ทา ให้เข้าใจเรื่องได้หลายด้านหลายมุม ง. ช่วยฝึกประสบการณ์ในการอ่านเพิ่มมากขึ้น ๘. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะคา ถามในการอ่านตีความ ก. รู้ความสาคัญของเรื่อง ข. รู้ความหมายของข้อความ ค. รู้ชื่อของผู้อ่านตีความ ง. รู้จุดมุ่งหมายของผู้เขียน ๙. “ดอกไม้แทนหญิงงาม” เป็นการตีความในลักษณะใด ก. เสียง(คา ) ข. ภาพพจน์ ค. สัญลักษณ์ ง. พื้นหลังของเหตุการณ์ ๑๐. “เรื่องนิราศภูเขาทอง สุนทรภู่แต่งขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๓” ข้อความดังกล่าวเป็น การตีความในลักษณะใด ก. เสียง(คา ) ข. ภาพพจน์ ค. สัญลักษณ์ ง. พื้นหลังของเหตุการณ์
  • 49. ๔๖ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกเสริมทักษะกำรอ่ำนภำษำไทย ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๑ ชุดที่ ๓ สำรพันเลือกสรรตีควำม ข้อ ก ข ค ง ๑ X ๒ X ๓ X ๔ X ๕ X ๖ X ๗ X ๘  ๙  ๑๐ X
  • 50. ๔๗ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกเสริมทักษะกำรอ่ำนภำษำไทย ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๑ ชุดที่ ๓ สำรพันเลือกสรรตีควำม ข้อ ก ข ค ง ๑ X ๒ X ๓  ๔  ๕ X ๖ X ๗ X ๘ X ๙ X ๑๐ X
  • 51. ๔๘ ตอนที่ ๑ เฉลย แบบฝึกกิจกรรมที่ ๑ ๑. ..../.....การอ่านตีความหมายถึงการหาความหมายที่แท้จริงของสาร ๒. ..../.....การอ่านตีความ มีความสาคัญคือช่วยฝึกการคิดไตร่ตรองหาเหตุผล ๓. ....X... ลักษณะของคา ถามในการอ่านตีความจะถามประวัติผู้เขียนเสมอ ๔. ... X....ผู้อ่านสามารถตีความหมายสิ่งที่อ่านได้จากความรู้สึก ๕. ..../.....การอ่านตีความ ที่แตกต่างกัน เกิดจากประสบการณ์และความรู้
  • 52. ๔๙ ๑. ฟาดแข้ง หมายถึง ลงแข่งขันฟุตบอล ๒. นักหวดลูกหนัง หมายถึง เป็นนักกีฬาเทนนิส ๓. ไข่ในหิน หมายถึง เลี้ยงดู ดูแลอย่างดีมิให้ได้รับความกระทบกระเทือน ๔. พระพรหม หมายถึง ผู้ให้ ๕. น้าไม่ใช่น้าลาย หมายถึงน้า ซึ่งดื่มไม่ใช่คา พูดที่สัญญาว่าจะให้ เฉลยแบบฝึกกิจกรรมที่ ๑ ตอนที่ ๒
  • 53. ๕๐ เฉลยแบบฝึกกิจกรรมที่ ๒ ๑. จิตใจกา ลังคิดถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ปัจจุบัน ๒. การจัดเตรียมสิ่งของหลายอย่างเพื่อจัดกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ๓. ยุ่ง ชุลมุน สับสน ๔. มองไม่เห็นจุดหมายปลายทางข้างหน้า ๕. ไม่สนใจ อยู่เพียงลา พัง เฉลยแบบฝึกกิจกรรมที่ ๓ ๑. อาหารรสจัด ๒. การย่อยสลาย ๓. การแปรรูปผลผลิต ๔. รับรอง แน่ชัด ๕. การทา ให้เกิดกา ลังมากขึ้น
  • 54. ๕๑ เก่งจังเลย เฉลยแบบฝึกกิจกรรมที่ ๔ ๑. ไม่แคร์ หมายถึง ไม่สนใจ ๒. ปวดร้าว หมายถึง ได้รับความทุกข์ ทรมาน ๓. จุดมุ่งหมายของผู้เขียนคือ การได้รับความทุกข์ ทรมาน เพราะผิดหวัง ในความรัก ๔. ความหมายของเพลง คือ การมีความรักให้กับคนที่เขาไม่รักตนกลับ ๕. สรุปเนื้อหาของเพลง เกิดความทุกข์ ทรมานกับการหลงรักคนที่เขาไม่รักตอบ
  • 55. ๕๒ เฉลยแบบฝึกกิจกรรมที่ ๕ การตีความ ๑. บังเอิญ ความหมายของคา ไม่ตั้งใจ ๒. เงียบกริบ ความหมายของคา เงียบมาก ไม่มีเสียงใดในขณะนั้น ๓. หมายใจ ความหมายของคา ตั้งใจ จองกระทา ๔. สะทกสะท้าน ความหมายของคา ไม่รู้สึกกลัวแต่อย่างใด ๕. จุดมุ่งหมายของผู้เขียน คือตัวละครทั้งจระเข้และกระต่ายต่างก็ได้รับความ เจ็บปวดจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น จนกลายเป็นเรื่องเล่ากล่าวขานถึงบุคลิก ของจระเข้และกระต่าย
  • 56. ๕๓ แนวการตอบแบบฝึกเสริมทักษะทบทวนความรู้ การอ่านตีความ เขียนข้อความ ข่าว เนื้อเพลง นิทาน ที่ประทับใจ น่าสนใจแล้วตีความ ……………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………. ที่มา……………………………………………………… การตีความ ๑. ความหมายของคา ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ๒. จุดมุ่งหมายของผู้เขียน ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ๓. ความสาคัญของเรื่อง …………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………
  • 57. ๕๔ แบบฝึกกิจกรรมเสริมทบทวนความรู้ เรื่อง การอ่านตีความ ตัวอย่าง คา ชี้แจง ให้นักเรียนตีความหมายของคา จากเนื้อเพลงที่กา หนดให้ เพลง เพื่อนกันวันสุดท้าย (ศิลปินนักร้อง พั้นช์) กี่ปีแล้วที่เราเป็นเพื่อนกันมา เมื่อลองคิดคานวณดูก็เนิ่นนานจะเดือดร้อน จะ กังวล จะเบิกบานก็ไม่พ้นมาบรรยายให้กันฟัง กี่ปีแล้วที่เรามานั่งมองตา ได้ทะเลาะ และเฮฮาด้วยกันก็นานแล้วที่เธอเดินอยู่ข้างฉัน อยู่อย่างเพื่อกันมานานพอแล้วก็จะดี ไหม ถ้าฉันและเธอจะลองขยับเรื่องราว ถ้าหากฉันไม่ขอเป็นเพื่อนเธอเหมือนเก่า จะ ยอมรับไหม ถ้าวันพรุ่งนี้ จะเรียกเธอว่าแฟน ก็จะดีไหม ถ้าฉันและเธอจะลองขยับที่ทาง เข้ามาชิดและใกล้กันยิ่งกว่าที่เคยให้เป็นเหมือนเขา กิจวัตรประจา วันที่ผ่านมา ก็ไม่พ้น ต้องเป็นเธอที่ยุ่งเกี่ยว เท่าที่เห็นก็มีแต่เธอ แค่คนเดียว ให้คิดถึงและไว้ใจได้ทุกที ก็นานแล้วที่เธอเดินอยู่ข้างฉัน อยู่อย่างเพื่อนกันมานานพอแล้ว
  • 58. ๕๕ แนวการตอบ แบบฝึกกิจกรรมเสริมทบทวนความรู้ เรื่อง การอ่านตีความ ตัวอย่าง คานวณ การคิดอย่างละเอียด ขยับ การเคลื่อนที่ให้ใกล้ ให้ชิดมากกว่าเดิม ยอมรับ ยินยอม เห็นด้วย กิจวัตร งานที่ทา เป็นประจา จุดมุ่งหมายของผู้เขียนคือ มีหญิงชายที่คบเป็นเพื่อนกันมานาน ฝ่ายหญิงจึงบอก กับฝ่ายชายว่าเราน่าจะเลื่อนฐานะในความเป็นเพื่อน มาเป็นแฟนกัน ความหมายของเพลงคือ คนที่รู้จักเป็นเพื่อนกันมานาน อยากเปลี่ยนความรู้สึก เป็นคนรัก สรุปเนื้อหาของเพลง เพื่อนมีความสนิทสนมกันจนเกิดความรู้สึกเปลี่ยนไป
  • 59. ๕๖ เกณฑ์การประเมินการอ่านตีความ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ คาชี้แจง ระบุคะแนนลงในช่องรายการประเมินและทาเครื่องหมาย / ลงในช่องสรุปการประเมิน รายการ เกณฑ์การให้คะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑.ลักษณะ การตีความ อธิบายลักษณะคาถาม การอ่านตีความได้ ๑๐ ข้อ โดยเรียงลาดับ ความสาคัญ อธิบายลักษณะคาถาม การอ่านตีความได้ ๑๐ ข้อโดยไม่เรียงลาดับ ความสาคัญ อธิบายลักษณะคาถาม การอ่านตีความได้ ๕ ข้อ โดยเรียงลาดับ ความสาคัญ อธิบายลักษณะคาถาม การอ่านตีความได้ ๕ ข้อ โดยไม่เรียงลาดับ ความสาคัญ ๒.ประเภท การตีความ อธิบายประเภทของ การตีความได้ถูกต้อง ชัดเจนครบถ้วนมี การยกตัวอย่าง อธิบายประเภทของการ ตีความได้ถูกต้อง ชัดเจนครบถ้วน ไม่มี การยกตัวอย่าง อธิบายประเภทของ การตีความได้ชัดเจนแต่ ไม่ครบถ้วน อธิบายประเภทของ การตีความได้แต่ไม่ ชัดเจน ๓. กลวิธี การตีความ ตีความจากเรื่องที่อ่านโดย ใช้กลวิธีในการตีความ ครบทั้ง ๓ ข้อ ตีความจากเรื่องที่อ่าน โดยใช้กลวิธีใน การตีความ ๒ ข้อ ตีความจากเรื่องที่อ่าน โดยใช้กลวิธีใน การตีความเพียง ๑ ข้อ ตีความจากเรื่องที่อ่าน โดยไม่พิจารณาถึง กลวิธีการตีความ ๔. การตีความ อ่านเรื่องที่กาหนดให้แล้ว สามารถตีความได้ โดยหา ความหมายที่แท้จริงและ ความหมายที่ซ้อนเร้นได้ ชัดเจนครบถ้วนตาม เจตนาของผู้เรียน อ่านเรื่องที่กาหนดให้ แล้วสามารถตีความได้ โดยหาความหมายที่ แท้จริงและความหมาย ที่ซ้อนเร้นของผู้เขียน ได้ ชัดเจนแต่ไม่ ครบถ้วน อ่านเรื่องที่กาหนดให้ แล้วสามารถตีความได้ โดยหาความหมาย ที่แท้จริงและ ความหมายที่ซ้อนเร้น ของผู้เขียนได้แต่ยังไม่ ชัดเจน อ่านเรื่องที่กาหนดให้ แล้วไม่สามารถตีความ หรือหาความหมาย ที่แท้จริงของผู้เขียน ๕. นิสัยรัก การอ่าน อ่านข้อความ อ่านข่าว อ่านเนื้อเพลง อ่านนิทาน แล้วสามารถตีความ ได้ ถูกต้องชัดเจน อ่านข้อความ อ่านข่าว อ่านเนื้อเพลงแล้ว สามารถตีความ ได้ถูกต้อง ชัดเจน อ่านข้อความ อ่านข่าว แล้วสามารถตีความ ได้ถูกต้องชัดเจน อ่านข้อความแล้ว สามารถตีความความ ได้ถูกต้องชัดเจน หมายเหตุ การแปลความหายของคะแนนรวม คะแนน ๒๐ คะแนน เฉลี่ย ๑๐ คะแนนดังนี้ คะแนน ๘ - ๑๐ หมายถึง ดี คะแนน ๕ - ๗ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๑ - ๔ หมายถึง ปรับปรุง
  • 60. ๕๗ แบบประเมินการอ่านตีความ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ คาชี้แจง ระบุคะแนนลงในช่องรายการประเมินและทาเครื่องหมาย / ลงในช่องสรุปการประเมิน ที่ รายการประเมิน รวม คะแนน ๒๐ เฉลี่ย ๑๐ คะแนน สรุปผลการประเมิน ลักษณะ การตีความ ๔ ประเภท การตีความ ๔ กลวิธี การ ตีความ ๔ การ ตีความ ๔ นิสัยรัก การอ่าน ๔ ดี พอใช้ ปรับปรุง ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔
  • 61. ๕๘ ที่ รายการประเมิน รวม คะแนน ๒๐ เฉลี่ย ๑๐ คะแนน สรุปผลการประเมิน ลักษณะ การตีความ ๔ ประเภท การตีความ ๔ กลวิธีการ ตีความ ๔ การ ตีความ ๔ นิสัยรัก การอ่าน ๔ ดี พอใช้ ปรับปรุง ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ลงชื่อ.................................................ผู้ประเมิน (.............................................. ) ............../.................../............. หมายเหตุ การแปลความหมายของคะแนนรวม คะแนน ๒๐ คะแนน เฉลี่ย ๑๐ คะแนนดังนี้ คะแนน ๘-๑๐ หมายถึง ดี คะแนน ๕-๗ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๑-๔ หมายถึง ปรับปรุง
  • 62. ๕๙ บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. แผนการสอนภาษาไทย ท ๑๐๑ . ม.ป.ท. , ม.ป.ป. งามพรรณ เวชชาวีวะ. ความสุขของกะทิ ตอนตามหาพระจันทร์. พิมพ์ครั้งที่ ๑๗. กรุงเทพฯ: แพรว, ๒๕๕๐. ไทยรัฐ. ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๑. ธนพล (ลา ดวน) จาดใจดี. นิทานพื้นบ้านชวนอ่านของไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๔ . หจก. ไทยเจริญ การพิมพ์, ๒๕๕๐. มติชน. ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑. อินเตอร์เน็ต กินพริกจะช่วยให้ลดความอ้วนได้จริง. [online]. Accessed 1 September 2008. Available from htpp: //www. guru.sanook.com ต้นไม้ของพ่อ. [online]. Accessed 9 December 2008. Available from ๙ ธันวาคม ๒๕๕๑. htpp:// www.Musicstation.kapook.com