SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
โปรแกรม Microsoft Excel 2003 เป็นโปรแกรมที่ใช้
สาหรับการคานวณ โดยมีเครื่องมือให้ใช้มากมาย ทังในรูปของ
สูตรหรือฟังก์ชันสามารถใช้ในรูปแบบอัตโนมัติ หรือสามารถ
กาหนดให้ด้วยตนเอง โดยที่สูตรเราจะหมายถึงการคานวณทาง
คณิตศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วยเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์
เครื่องหมายในการเปรียบเทียบ เชื่อมข้อความและการอ้างอิง
เช่น การบวก ลบ คูณ หาร เป็นต้น ส่วนฟังก์ชัน เราจะ
หมายถึง คาสั่งสาเร็จรูปที่ใช้ในการคานวณ เช่น Sum
Average Min Max ฯลฯ
ชนิดของสูตร
 1. สูตรในการคานวณทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Formula)
เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่างสูตร
+ บวก =40 + 10 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 50
- ลบ = 40 – 10 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 30
* คูณ =40*2 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 80
/ หาร = 40/2 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 20
% เปอร์เซ็นต์ = 40% จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 0.4
^ ยกกาลัง =40^2 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 1600
โปรแกรม Microsoft Excel 2003 แบ่งชนิดของสูตร
ออกเป็น 4 ชนิด คือ
ชนิดของสูตร
2. สูตรในการเปรียบเทียบ (Comparision Formula) )
เครื่อง
หมาย
ความหมาย ตัวอย่างสูตร
= เท่ากับ = 40=30 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ False
> มากกว่า =40>30 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ True
< น้อยกว่า =40<30 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ False
>= มากกว่าหรือเท่ากับ =40>=30 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ True
<= น้อยกว่าหรือเท่ากับ =40<=30 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ False
< > ไม่เท่ากับ 40< >40 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ False
ชนิดของสูตร
3. เครื่องหมายในการเชื่อมข้อความสองข้อความหรือมากกว่านั้น
(Text Formula)
เครื่อง
หมาย
ความหมาย ตัวอย่างสูตร
& เชื่อมหรือนาคาสองคา
มาต่อกันให้เกิดค่า
ข้อความต่อเนื่องที่เป็น
ค่าเดียวกัน
=STORY&BOARD จะได้ผลลัพธ์
เท่ากับ STORYBOARD
ชนิดของสูตร
4. สูตรในการอ้างอิง (Text Formula)
เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่างสูตร
: (Colon)
เว้นวรรค
(Insection)
, (Comma)
บอกช่วงของข้อมูล
กาหนดพื้นที่ทับกัน 2 ช่วง
เอาข้อมูลทั้ง 2 ช่วงมาเชื่อมต่อกัน
=(B1:B5)
=SUM(B1:C1 D1:E5)
=Sum(C1:C5,D7:D8)
ขั้นตอนการคานวณด้วยตาราง
1. การกาหนดเซลล์สาหรับเก็บผลลัพธ์
โดยการเลื่อนตัวชี้เซลล์นั้นแล้วคลิก
2. ใส่สูตรเข้าในเซลล์สาหรับเก็บผลลัพธ์
สูตรจะต้องเริ่มต้นด้วยเครื่องหมาย =
ลาดับความสาคัญของเครื่องหมายการคานวณลาดับ ความหมาย รายละเอียด
1 ( ) วงเล็บ
2 ^ ยกกาลัง
3 * และ / คูณและหาร
4 + และ - บวกและลบ
5 & ตัวเชื่อม
6 =,<,<= เท่ากับ น้อยกว่า น้อยกว่าหรือเท่ากับ
7 > ,>=, < > มากกว่า มากกว่าหรือเท่ากับ ไม่เท่ากับ
หมายเหตุ การทางานที่อยู่ในระดับเดียวกัน จะคานวณจากซ้ายไปขวาตามลาดับ
ตัวอย่างการคานวณ
รูปภาพแสดงตัวอย่าง การใช้สูตรในการคานวณ
ข้อสังเกตเกี่ยวกับการใส่สูตร
1. สูตรที่ใส่ในเซลล์จะปรากฏให้เห็นในแถบ
สูตร
2. ค่าที่เป็นผลลัพธ์ของสูตรจะปรากฏในเซลล์
สาหรับเก็บผลลัพธ์
3. กรณีที่มีนิพจน์หลายเครื่องหมายจะทางาน
ตามลาดับเครื่องหมาย
การป้ อนสูตรในการคานวณ1. คลิกเมาส์เลือกเซลล์ที่จะป้อนสูตรคานวณหาผลรวม
2. พิมพ์เครื่องหมาย = ตามด้วยตาแหน่งของเซลล์ที่ต้องการ
นามาคานวณหาผลรวม เช่น =D4+D5+D6+D7+D8
3. กด Enter เมื่อเขียนสูตรเสร็จ ถ้าพิมพ์สูตรผิด Excel ไม่
สามารถคานวณได้ จะแสดง ERR! ในเซลล์ที่ใช้สูตรคานวณ
นั้น
การป้ อนสูตรคานวณในแถบสูตร คลิกที่เซลล์ต้องการป้อนสูตร
พิมพ์สูตรคานวณในแถบสูตรกด Enter
การป้ อนสูตรคานวณโดยใช้เมาส์ช่วย
1. คลิกเมาส์ที่เซลล์ต้องการป้อนสูตรคานวณและพิมพ์
เครื่องหมาย =
2. นาเมาส์คลิกเซลล์ใช้คานวณ
3. พิมพ์เครื่องหมาย + คลิกเซลล์ที่ใช้บวกต่อไปพิมพ์
เครื่องหมาย + คลิกเซลล์ที่ใช้
4. กด Enter
สรุปการป้ อนสูตรในการคานวณ
1. ถ้าค่าที่คานวณเป็นตัวเลขเกิน 10หลัก และรูปแบบตัวเลขเป็นแบบทั่วไป คอมพิวเตอร์
จะเขียนให้เป็นเลขยกกาลัง เช่น 8.98 E + 10107 ถ้าต้องการให้แสดงเป็นตัวเลขปกติ
ต้องเปลี่ยนรูปแบบเซลล์เป็นแบบตัวเลข
2. ถ้านาข้อมูลต่างประเภทกันมาคานวณ คอมพิวเตอร์จะแจ้งข้อความว่าผิดพลาดเป็น #
VALUE
3. ข้อมูลประเภทตัวอักษรในแต่ละเซลล์นามาเชื่อมกันได้โดยใช้เครื่องหมาย &
4. ถ้าใช้สัญลักษณ์ในการคานวณที่คอมพิวเตอร์ไม่รู้จักจะแจ้งการผิดพลาดเป็น
#NAME ถ้าอ้างอิงไม่ถูกต้อง #REF!
5. การเปรียบเทียบค่าระหว่างเซลล์ คอมพิวเตอร์จะแจ้งว่า จริง (True) หรือไม่จริง
(False) เท่านั้น
การอ้างอิงเซลล์หรืองช่วงเซลล์ในสูตร
การคานวณโดยการอ้างอิงเซลล์ หรือช่วงเซลล์ที่กาหนด จะทาให้เกิดความรวดเร็วในการ
คานวณ เนื่องจากไม่ต้องแก้ไขสูตรทุกครั้ง เมื่อทาการเปลี่ยนแปลงค่าคงที่อยู่ในเซลล์
โปรแกรมจะคานวณอัตโนมัติ การเขียนสูตรโดยการใช้ตาแหน่งอ้างอิงของเซลล์จะ
ดีกว่าการใช้ข้อมูลที่อยู่ในแต่ละเซลล์โดยตรง เพราะเมื่อค่าที่เป็นตัวตั้งในสูตรเปลี่ยนไป
ผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณจะเปลี่ยนตามโดยอัตโนมัติ
อ้างอิงแบบสัมพัทธ์
อ้างอิงแบบสัมพัทธ์ (Relative) หมายความว่า เซลล์ใด
ที่มีการอ้างอิงแบบสัมพัทธ์ เมื่อถูกสาเนาไปยังเซลล์ใหม่
เซลล์ที่ถูกอ้างอิงในสูตรจะมีการเปลี่ยนแปลง เช่น ในเซลล์ C1
กาหนดสูตร =A1+B1 ถ้าทาสาเนาสูตรจาก C1 ไป C2
ได้สูตร =A2+B2 ถ้าไปไว้ที่ D1 จะได้สูตร =B1+C1 ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
การอ้างอิงแบบสัมบูรณ์
 การอ้างอิงแบบสัมบูรณ์(Absolute) หมายความว่าเซลล์ใดที่มีการอ้างอิงแบบ
สัมบูรณ์ เมื่อถูกสาเนาไปยังเซลล์ใหม่ เซลล์ที่ถูกอ้างอิงในสูตรแบบสัมบูรณ์จะไม่มีการ
เปลี่ยนแปลง ตังอย่าง ในเซลล์ B4 กาหนดสูตร =$B$2+$C$3 ถ้าทาการสาเนา
สูตร =$B$2+$C$3 จากเซลล์ B4 ไปยังเซลล์ C5 สูตรใน C5 เหมือนเดิม
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
การอ้างอิงแบบผสม
วิธีที่ 2
1. เลือกเซลล์ที่ต้องการเปลี่ยนการอ้างอิง
2. กดปุ่ม F2 เพื่อขอแก้ไขสูตร และกดปุ่ม
F4 จะปรากฏชนิดของการอ้างอิงแต่
ละชนิดตามที่ต้องการ โดยจะมีรูปแบบ
ของการใส่เครื่อง $ กากับเซลล์
3. กด Enter เมื่อเลือกชนิดตามที่
ต้องการได้แล้ว
วิธีที่ 1
1. เลือกเซลล์ที่ต้องการเปลี่ยน
การอ้างอิง
2. พิมพ์เปลี่ยนการอ้างอิงที่แถบ
ของสูตรตามที่ต้องการ
3. กด Enter
ข้อสังเกตเกี่ยวกับการใส่สูตร
1. สูตรที่ใส่ในเซลล์จะปรากฏให้เห็นในช่องของแถบ
สูตร
2. ค่าที่เป็นผลลัพธ์ของสูตรจะปรากฏอยู่ในเซลล์สาหรับ
เก็บผลลัพธ์
3. ค่าที่ใส่ในสูตรถ้าเป็นชื่อเซลล์จะหมายถึงการนาค่าที่
อยู่ในเซลล์นั้นมาคานวณ
การใช้ฟังก์ชันในตาราง
 ฟังก์ชัน (Function) หมายถึงสูตรพิเศษที่โปรแกรมสร้างไว้เพื่อให้คานวณค่า
ต่าง ๆ ตามจุดประสงค์ การใช้ฟังก์ชัน จะช่วยให้เขียนสูตรในการคานวณได้สั้นและง่าย
ขึ้น ตัวอย่าง เช่น หากต้องการรวมค่าจากเซลล์ A1 ถึง A5 แทนที่จะพิมพ์สูตร
=A1+A2+A3+A4+A5 ก็ใช้ฟังก์ชัน =SUM(A1:A5) หรือ การจะหา
ค่าเฉลี่ย สามารถหาได้จากผลรวมของทุกเซลล์หารด้วยจานวนทั้งหมดใส่สูตร =(
A1+A2+A3+A4+A5 )/5 หรือจะใช้ =SUM(A1:A5)/5 สามารถใช้ฟังก์ชัน
=AVERAGE(A1:A5) แทนได้
 การพิมพ์ฟังก์ชันด้วยตนเองจะพิมพ์ชื่อฟังก์ชันและชื่อเซลล์ด้วยตัวพิมพ์เล็กหรือใหญ่ก็
ได้ ต้องไม่มีช่องว่าง ในกรณีที่เราได้ตั้งชื่อกลุ่มเซลล์ไว้ เช่น เซลล์ E5 ถึง E7 มีชื่อ
เป็น TOT_MARเราก็สามารถใช้ชื่อกลุ่มเซลล์นั้นกับฟังก์ชันได้เลย
=SUM(TOT_MAR)
แนะนาส่วนประกอบของฟังก์ชัน
 ใน Excel มีฟังก์ชันมากกว่า 300 ฟังก์ชัน สาหรับทาหน้าที่ต่าง ๆ อาทิ เช่น การ
คานวณตัวเลข การวิเคราะห์ข้อมูลสถิติและการเงิน ฟังก์ชันที่เกี่ยวกับตัวเลขและ
ตัวอักษร ฟังก์ชันเกี่ยวกับวันที่และเวลา ฟังก์ชันการจัดการฐานข้อมูล เป็นต้น ซึ่ง
ฟังก์ชันแต่ละตัวนั้นอาจมีรายละเอียดการใช้งานที่แตกต่างกันไป แต่พอสรุป
ส่วนประกอบได้ดังนี้
แนะนาส่วนประกอบของฟังก์ชัน
การใช้งานฟังก์ชันมีด้วยกัน 2 วิธี คือการใส่ฟังก์ชันด้วยตนเอง
หรือการใส่ฟังก์ชันวิซาร์ด
วิธีที่ 1 การใส่ฟังก์ชันด้วยตนเอง
1. คลิกเลือกเซลล์ที่ต้องหาผลลัพธ์โดยการใช้ฟังก์ชัน
2. ใส่เครื่องหมายเท่ากับ ( = ) ตามด้วยชื่อของฟังก์ชันและใส่วงเล็บ
ภายในขอบเขตของช่วงที่ต้องการหา
3. กด Enter
วิธีที่ 2 การใส่ฟังก์ชันวิซาร์ด
1. คลิกที่คาสั่งแทรก (Insert) บนเมนูบาร์ เลือกคาสั่ง ฟังก์ชัน (Function)
2. จะเกิดกรอบโต้ตอบ แทรกฟังก์ชัน (Insert Functions)คลิกเลือก
รูปแบบฟังก์ชันที่ต้องการ
3. สมมติถ้าเราต้องการเลือกฟังก์ชัน SUM ซึ่งใช้ในการหาผลรวม
ของข้อมูล จะปรากฏดังภาพ
ฟังก์ชัน SUM จะมีรูปแบบคือ SUM(number1,number 2,…number 30)
หรือคลิเมาส์ที่ คลิกปุ่ มตกลง
ฟังก์ชันที่ควรรู้จัก
 =AVERAGE(D5:D20) หมายถึง ค่าเฉลี่ยของค่าที่อยู่ในช่วงเซลล์ D6 ถึง D20
 =MAX(D6:D20) หมายถึง ค่าสูงสุดของค่าที่อยู่ในช่วงเซลล์ D6 ถึง D20
 =MIN(D6:D20) หมายถึง ค่าต่าสุดของค่าที่อยู่ในช่วงเซลล์ D6 ถึง D20
 =STDEVP(D6:D20) หมายถึง ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของคาในช่วงเซลล์ D6ถึงD20
 =COUNTIF(ช่วงเขตข้อมูล,ค่าที่ต้องการนับ) เช่น
 =COUNTIF($J$6:$J$20,4) หมายถึง ช่ว 16 ถึง J20 มีเลข 4 กี่เซลล์ (ให้ค่าเป็นจานวนนับ)
 =RANK(I6,I$6:I$20,0) หมายถึง ค่าลาดับของตัวเลขในเซลล์ I6 ที่อยู่ในรายการตัวเลข
ในช่วงเซลล์ I6 ถึง I20 ส่วนตัวเลขศูนย์เป็นการระบุวิธีการจัดเรียงรายการตัวเลขในช่วงที่
กาหนดจากมากไปหาน้อย(ถ้าเป็นค่าอื่นที่ไม่ใช่ศูนย์จะเป็นการจัดเรียงรายการ
 =IF(เงื่อนไข,ค่าที่แสดงเมื่อเงื่อนไขจริง,ค่าที่แสดงเมื่อเงื่อนไขเท็จ) เช่นตัวเลขจากน้อยไปมาก
 =IF(I6>=80,4,IF(I6>=70,3,IF(I6>=60,2,IF(I6>=50,1,0)))) หมายถึง การหาผลการเรียนตาม
เงื่อนไข โดยให้คะแนนรวมอยู่ในเซลล์ I6
การจัดรูปแบบมีเงื่อนไข
 การหาผลรวมแบบมีเงื่อนไข
การหาผลรวมแบบมีเงื่อนไขเราใช้ฟังก์ชัน SUMIF ซึ่งมีรูปแบบการใช้ดังนี้
SUMIF(range,criteria,sum_range)
range คือช่วงข้อมูลที่จะนามากาหนดเป็นเงื่อนไข ซึ่งจะครอบคลุม ข้อมูลทั้งหมด
เช่น ชื่อสินค้า หรือราคาสินค้าก็ได้
criteria คือเกณฑ์ที่มีเงื่อนไขที่กาหนด เช่น มากกว่า 500(">500")
sum_range คือช่วงข้อมูลตัวเลขที่จะนามารวมกัน เช่น ราคา เป็นต้น
การกาหนดเงื่อนไขสามารถทาได้หลายลักษณะ ดังนี้
1. ให้เลือกข้อมูลที่เหมือนกับเงื่อนไขทุกประการ
2. ให้เปรียบเทียบข้อมูลกับเงื่อนไขที่กาหนด
สูตรการหาวันเวลา
การกาหนดวันเดือนปีและเวลาปัจจุบันใช้สูตร =now()
 การหาปี ค.ศ. ปัจจุบัน
 ฟังก์ชั่น TODAY() บอก วันเดือน ปี ปัจจุบัน เป็น ระบบ ค.ศ.
 ฟังก์ชั่น YEAR() รับค่า วันเดือนปี และ ส่งค่าเฉพาะ ปี ออกมาให้
 ดังนั้น ถ้าส่งค่า TODAY() เข้าสู่ฟังก์ชั่น YEAR ก็จะได้ ปี ค.ศ. ปัจจุบัน ดังนี้
 =YEAR(TODAY())
ตัวอย่าง
2. การหาปีเกิด ของสมาชิก เป็นปี ค.ศ.
 ส่งค่า วัน เดือน ปี เกิดของสมาชิก ซึ่งจากตัวอย่าง อยู่ในช่อง C2 เข้าฟังก์ชั่น
YEAR() เพื่อ คานวณหาปีเกิด ดังนี้
 YEAR(C2)
 แต่เนื่องจาก ค่าที่ได้คือ ค.ศ. 2525 จึงต้องลบออกเสีย 542 ปี เพื่อให้ถูกต้อง จึงเป็น
 YEAR(C2)-543
3. การคานวณหาอายุ
 นาค่าที่ได้จาก 2 ไปลบออกจาก 1 ก็จะได้ จานวนปีของสมาชิกรายนี้
 วิธีการ
 1. คลิกที่ช่อง D2 ซึ่งจะบอกจานวนปี
 2. พิมพ์ สูตรเพื่อคานวณหาอายุ ในช่อง Formula Bar ดังนี้ พิมพ์วันเดือนปีเกิด
C3 และพิมพ์สูตรที่ D3 =YEAR(TODAY())-(YEAR(C3)-543)
 คลิกขวาที่D3 คลิกจัดรูปแบบ
เซลล์>ตัวเลข (Number)>ทั่วไป
(Genernal)
4. การหาส่วนต่าง ระหว่างเวลา
 ก็คือ DateDif( วันเริ่ม , วันสุดท้าย , ประเภทของช่วงเวลาที่ต้องการ )
 ให้ B2 เป็นวันเริ่มต้น แล้ว C2 เป็นวันสุดท้ายสังเกตประเภทของช่วงเวลาที่เรา
ต้องการหาจะเปลี่ยนไป
 1. หาจานวนปี =DATEDIF(B2,C2,"Y")
 2. หาจานวนเดือน =DATEDIF(B2,C2,"YM")
 3. หาจานวนวัน =DATEDIF(B2,C2,"MD")
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel

More Related Content

What's hot

คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...Suphot Chaichana
 
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุนApirak Potpipit
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังyingsinee
 
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยโครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยกก กอล์ฟ
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปกshikapu
 
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"Pinmanas Kotcha
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1อนุชิต ไชยชมพู
 
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยโครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยJirathorn Buenglee
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญneeranuch wongkom
 
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตNuunamnoy Singkham
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยkhanidthakpt
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดKroo R WaraSri
 

What's hot (20)

คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
 
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยโครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
 
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยโครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
 
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กด
 

Similar to การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel

53011213098
5301121309853011213098
53011213098jeabchat
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098jeabchat
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงานใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงานMeaw Sukee
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Thank Chiro
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3KEk YourJust'one
 
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้น
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้นการคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้น
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้นชญานิษฐ์ ทบวัน
 

Similar to การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel (20)

53011213098
5301121309853011213098
53011213098
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
53011213007
5301121300753011213007
53011213007
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
Excel2007
Excel2007Excel2007
Excel2007
 
53011213095
5301121309553011213095
53011213095
 
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงานใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
53011213084
5301121308453011213084
53011213084
 
นางสาวธนพร เฟื่องขจร
นางสาวธนพร เฟื่องขจรนางสาวธนพร เฟื่องขจร
นางสาวธนพร เฟื่องขจร
 
Function
FunctionFunction
Function
 
53011213054
5301121305453011213054
53011213054
 
53011213075
5301121307553011213075
53011213075
 
53011213075
5301121307553011213075
53011213075
 
ครูนัท
ครูนัทครูนัท
ครูนัท
 
Know1 3
Know1 3Know1 3
Know1 3
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
 
Static excel
Static excelStatic excel
Static excel
 
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้น
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้นการคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้น
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้น
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel