SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 4
Baixar para ler offline
ระยะระหว่างจุดสองจุด
บนเส้นจานวน ถ้าจุด แทนจานวนจริง และจุด แทนจานวนจริง
ระยะทางระหว่างจุด และ คือค่าสัมบูรณ์ของ - เขียนแทน ด้วย หรือ | |
=
สาหรับจุด 2 จุด , และ , ใดๆ ที่ ขนาน
กับแกน x หรือขนานกับแกน y สามารถแสดงได้ว่า
1) ถ้า ขนานกับแกนx จะได =
2)ถ้า ขนานกับแกน y จะได้ =
ซึ่งแสดงให้จริงได้ดังนี้
ถ้าจุด , และจุด , อยู่บนเส้นตรงซึ่งขนานกับแกน x
ให้ A และ B เป็นจุดที่ และ ตั้งฉากกับแกน X ตามลาดับ
จะได้จุด A มีพิกัด เป็น ,0)
จุด B มีพิกัดเป็น ( ,0)
ดังนั้น AB =
แต่ และ เป็นด้านตรงข้างของสี่เหลี่ยมผืนผ้า BA
ดังนั้น = AB นั่นคือ =
ในทานอนเดียวกัน ถ้าจุด , และจุด , อยู่บนเส้นตรง
ซึ่งขนานกับแกน Y
จะได้ =
ในกรณีที่จุด , และ , อยู่บนเส้นตรงซึ่งไม่ขนาน
กับแกน X และไม่ขนานกับแกน Y เราจะหา ได้ดังนี้
ลากส่วนเส้นตรง และ ให้ขนานกับแกน X และแกน Y ตามลาดับ จุด Q จะมี
พิดกัดเป็น , และมุม เป็นมุมฉาก จากทฤษฏีบทปีทาโกรัส จะได้ว่า
=
=
= เนื่องจาก =
ข้อสังเกต ในกรณีที่จุด และ อยู่บนเส้นตรงที่ขนานกับแกน X จะใช้สูตรนี้ก็ได้เพราะ = จะ
ได้ = =
ทานองเดียวกัน ในกรณีที่จุด และ อยู่บนเส้นตรงที่ขนาน
กับแกน Y จะใช้สูตรนี้ก็ได้เพราะ =
จะได้ = =
ดังนั้นจึงสรุปเป็น ทฤษฎีบทได้ดังนี้
ทฤษฏีบท
ถ้า , และ ( , ) เป็นจุดในระนาบ ระยะระหว่าง
จุด และ เท่ากับ
การวัดระยะทาง
เมื่อจุดที่อยู่คนละตาแหน่งถึงเป็นคนละจุดกัน เราจึงควรจะมีวิธีวัดว่าจุดสองจุด “ต่างกันเท่าไร” ความ
แตกต่างระหว่างจุดสองจุดเรียกว่า “ระยะทาง” หมายถึงถ้าเอาไม้บรรทัดไปทาบ จุดเริ่มต้นอยู่ที่จุดไหนสักจุด
แล้ววัดไปจนถึงอีกจุดหนึ่งแบบตรงๆ ไม่เลี้ยวไปไหน แล้วอ่านค่าออกมาว่าได้ตัวเลขเท่าไหร่
ในทางคณิตศาสตร์มีคาอีกคาหนึ่ง เรียกว่า Geodesic มีความหมายว่าเป็น “ความยาวของเส้นทางที่สั้นที่สุดที่
ใช้ในการเดินทางเปลี่ยนตาแหน่ง” ลองนึกภาพการเดินทางจากบ้านเราเองไปโรงเรียน บางครั้งเราไม่
สามารถเดินทางเป็นเส้นตรงได้ ความยาวของเส้นทางที่สั้นที่สุดจึงอาจจะไม่ใช่ระยะทางตามแนวเส้นตรง
แต่ต้องลัดเลาะไปตามทางเท้า หรือวิ่งตามถนนซึ่งเลี้ยวไปเลี้ยวมา ก็ต้องไปวัดระยะทางตามแนวที่คดไปคด
มานั้น
เพื่อนของเราที่บอกว่าจะวัดระยะทางในแนวเส้นตรงได้ยังไงชื่อว่า “พิธากอรัส” สมัยมัธยมต้นเราเคยรู้ว่า
ทฤษฎีหรือ “สูตร” ของพิธากอรัสใช้หาความยาวด้านใดๆของสามเหลี่ยมมุมฉากเมื่อรู้ความยาวสองด้านที่
เหลือ ความรู้เดียวกันนี้ประยุกต์มาใช้ในการคานวณระยะทางด้วย เพราะระบบแกนพิกัดของเราทามุม
“ฉาก” กันอยู่แล้ว จึงมีมุมฉากให้เรียกใช้เมื่อไหร่ก็ได้ แค่มีเส้นตรงเส้นเดียวก็เหมือนกับมีรูปสามเหลี่ยมมุม
ฉากเกิดขึ้นมาทันที
จุดสองจุดที่อยู่ต่างที่กัน ไม่ตรงกันทั้งในแนวราบและแนวดิ่ง ค่า x จะต่างกัน และค่า y ก็จะต่างกัน
เช่นเดียวกัน ผลต่างของค่า x และค่า y นี่แหละที่สร้างด้านสองด้านของ “สามเหลี่ยมมุมฉาก” และเจ้า
ระยะทางระหว่างจุดสองจุดนั้นคือความยาว “ด้านตรงข้ามมุมฉาก” ของสามเหลี่ยมนี้ ทาให้เราได้สูตรการ
หาระยะทางระหว่างสองจุดออกมาแบบนี้
ระยะทางระหว่าง กับ =
ตัวอย่างโจทย์
ตัวอย่างที่1 จงหาระยะระหว่างจุด P1 (1,7) และ P2 (-5,2)
วิธีทา =
=
7.8102
หมายเหตุ เป็นคาตอบที่ถูกต้องแต่ 7.8102 เป็นค่าโดยประมาณ
ที่มา :
http://dit.dru.ac.th/math/lesson5/waypoint.html
https://fltsolver.wordpress.com/tag/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B0%E0%B8
%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A3B8%B8%E0%B8%94/
http://dit.dru.ac.th/math/lesson5/waypoint_Example.html

Mais conteúdo relacionado

Mais de Siwimol Wannasing

บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆ
บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆบทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆ
บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆSiwimol Wannasing
 
ระบบพิกัดทรงกลม
ระบบพิกัดทรงกลมระบบพิกัดทรงกลม
ระบบพิกัดทรงกลมSiwimol Wannasing
 
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรง
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรงระยะระหว่างจุดและเส้นตรง
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรงSiwimol Wannasing
 
ระบบพิกัดเชิงขั้ว
ระบบพิกัดเชิงขั้วระบบพิกัดเชิงขั้ว
ระบบพิกัดเชิงขั้วSiwimol Wannasing
 

Mais de Siwimol Wannasing (8)

บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆ
บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆบทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆ
บทที่ 4 จริงๆๆๆๆๆ
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
ระบบพิกัดทรงกลม
ระบบพิกัดทรงกลมระบบพิกัดทรงกลม
ระบบพิกัดทรงกลม
 
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรง
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรงระยะระหว่างจุดและเส้นตรง
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรง
 
ระบบพิกัดเชิงขั้ว
ระบบพิกัดเชิงขั้วระบบพิกัดเชิงขั้ว
ระบบพิกัดเชิงขั้ว
 

ระยะระหว่างจุดสองจุด

  • 1. ระยะระหว่างจุดสองจุด บนเส้นจานวน ถ้าจุด แทนจานวนจริง และจุด แทนจานวนจริง ระยะทางระหว่างจุด และ คือค่าสัมบูรณ์ของ - เขียนแทน ด้วย หรือ | | = สาหรับจุด 2 จุด , และ , ใดๆ ที่ ขนาน กับแกน x หรือขนานกับแกน y สามารถแสดงได้ว่า 1) ถ้า ขนานกับแกนx จะได = 2)ถ้า ขนานกับแกน y จะได้ = ซึ่งแสดงให้จริงได้ดังนี้ ถ้าจุด , และจุด , อยู่บนเส้นตรงซึ่งขนานกับแกน x ให้ A และ B เป็นจุดที่ และ ตั้งฉากกับแกน X ตามลาดับ จะได้จุด A มีพิกัด เป็น ,0) จุด B มีพิกัดเป็น ( ,0) ดังนั้น AB = แต่ และ เป็นด้านตรงข้างของสี่เหลี่ยมผืนผ้า BA ดังนั้น = AB นั่นคือ = ในทานอนเดียวกัน ถ้าจุด , และจุด , อยู่บนเส้นตรง ซึ่งขนานกับแกน Y จะได้ =
  • 2. ในกรณีที่จุด , และ , อยู่บนเส้นตรงซึ่งไม่ขนาน กับแกน X และไม่ขนานกับแกน Y เราจะหา ได้ดังนี้ ลากส่วนเส้นตรง และ ให้ขนานกับแกน X และแกน Y ตามลาดับ จุด Q จะมี พิดกัดเป็น , และมุม เป็นมุมฉาก จากทฤษฏีบทปีทาโกรัส จะได้ว่า = = = เนื่องจาก = ข้อสังเกต ในกรณีที่จุด และ อยู่บนเส้นตรงที่ขนานกับแกน X จะใช้สูตรนี้ก็ได้เพราะ = จะ ได้ = = ทานองเดียวกัน ในกรณีที่จุด และ อยู่บนเส้นตรงที่ขนาน กับแกน Y จะใช้สูตรนี้ก็ได้เพราะ = จะได้ = = ดังนั้นจึงสรุปเป็น ทฤษฎีบทได้ดังนี้ ทฤษฏีบท ถ้า , และ ( , ) เป็นจุดในระนาบ ระยะระหว่าง จุด และ เท่ากับ
  • 3. การวัดระยะทาง เมื่อจุดที่อยู่คนละตาแหน่งถึงเป็นคนละจุดกัน เราจึงควรจะมีวิธีวัดว่าจุดสองจุด “ต่างกันเท่าไร” ความ แตกต่างระหว่างจุดสองจุดเรียกว่า “ระยะทาง” หมายถึงถ้าเอาไม้บรรทัดไปทาบ จุดเริ่มต้นอยู่ที่จุดไหนสักจุด แล้ววัดไปจนถึงอีกจุดหนึ่งแบบตรงๆ ไม่เลี้ยวไปไหน แล้วอ่านค่าออกมาว่าได้ตัวเลขเท่าไหร่ ในทางคณิตศาสตร์มีคาอีกคาหนึ่ง เรียกว่า Geodesic มีความหมายว่าเป็น “ความยาวของเส้นทางที่สั้นที่สุดที่ ใช้ในการเดินทางเปลี่ยนตาแหน่ง” ลองนึกภาพการเดินทางจากบ้านเราเองไปโรงเรียน บางครั้งเราไม่ สามารถเดินทางเป็นเส้นตรงได้ ความยาวของเส้นทางที่สั้นที่สุดจึงอาจจะไม่ใช่ระยะทางตามแนวเส้นตรง แต่ต้องลัดเลาะไปตามทางเท้า หรือวิ่งตามถนนซึ่งเลี้ยวไปเลี้ยวมา ก็ต้องไปวัดระยะทางตามแนวที่คดไปคด มานั้น เพื่อนของเราที่บอกว่าจะวัดระยะทางในแนวเส้นตรงได้ยังไงชื่อว่า “พิธากอรัส” สมัยมัธยมต้นเราเคยรู้ว่า ทฤษฎีหรือ “สูตร” ของพิธากอรัสใช้หาความยาวด้านใดๆของสามเหลี่ยมมุมฉากเมื่อรู้ความยาวสองด้านที่ เหลือ ความรู้เดียวกันนี้ประยุกต์มาใช้ในการคานวณระยะทางด้วย เพราะระบบแกนพิกัดของเราทามุม “ฉาก” กันอยู่แล้ว จึงมีมุมฉากให้เรียกใช้เมื่อไหร่ก็ได้ แค่มีเส้นตรงเส้นเดียวก็เหมือนกับมีรูปสามเหลี่ยมมุม ฉากเกิดขึ้นมาทันที จุดสองจุดที่อยู่ต่างที่กัน ไม่ตรงกันทั้งในแนวราบและแนวดิ่ง ค่า x จะต่างกัน และค่า y ก็จะต่างกัน เช่นเดียวกัน ผลต่างของค่า x และค่า y นี่แหละที่สร้างด้านสองด้านของ “สามเหลี่ยมมุมฉาก” และเจ้า ระยะทางระหว่างจุดสองจุดนั้นคือความยาว “ด้านตรงข้ามมุมฉาก” ของสามเหลี่ยมนี้ ทาให้เราได้สูตรการ หาระยะทางระหว่างสองจุดออกมาแบบนี้ ระยะทางระหว่าง กับ =
  • 4. ตัวอย่างโจทย์ ตัวอย่างที่1 จงหาระยะระหว่างจุด P1 (1,7) และ P2 (-5,2) วิธีทา = = 7.8102 หมายเหตุ เป็นคาตอบที่ถูกต้องแต่ 7.8102 เป็นค่าโดยประมาณ ที่มา : http://dit.dru.ac.th/math/lesson5/waypoint.html https://fltsolver.wordpress.com/tag/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B0%E0%B8 %97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A3B8%B8%E0%B8%94/ http://dit.dru.ac.th/math/lesson5/waypoint_Example.html