SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 89
Baixar para ler offline
Outlook
มุมมองเศรษฐกิจป 2023 ณ ไตรมาส 1 ป 2023
Q1/2023
ในป 2023 เศรษฐกิจไทยมีแนวโนมฟนตัวตอเนื่อง 3.9%
แรงขับเคลื่อนหลักมาจากภาคทองเที่ยวและภาคบริการ
ชวยสนับสนุนการบริโภคและตลาดแรงงาน
วิธีใชงาน Interactive PDF
กลับสูหนาสารบัญ ไปยังเนื้อหาที่ตองการ
1
หนา
แนวโนมเศรษฐกิจ
ไตรมาส 1 ป 2023
Q4/2021
Q1/2023
ไปยัง Outlook เลมอื่น ๆ เขาสูเว็บไซต EIC
หนา หนา หนา
หนา
หนา
4
Executive
Summary 5 38
เศรษฐกิจโลก
ป 2023
เศรษฐกิจไทย
ป 2023
20
เศรษฐกิจสหรัฐฯ
26
เศรษฐกิจยุโรป
30
เศรษฐกิจญี่ปุน
33
เศรษฐกิจจีน
เรื่องในเลม
Q4/2021
Q1/2023
แนวโนม
ตลาดการเงิน 79
Outlook
4
Executive Summary
เศรษฐกิจโลกมีแนวโนมขยายตัวไดดีกวาที่เคยประเมินไว จากขอมูลเศรษฐกิจที่ออกมาดีกวาคาดและการเปดประเทศของจีน SCB EIC จึงปรับเพิ่มประมาณการการเติบโตของเศรษฐกิจโลก
ในป 2023 เปน 2.3% (เดิม 1.8%) โดยมองวาความเสี่ยงจากปญหาธนาคารบางแหงในสหรัฐฯ ขาดสภาพคลองที่อาจจะลุกลามจนกลายเปนวิกฤตการเงินในสหรัฐฯ เหมือนในป 2008 ยังมีนอย
แตถือเปนปจจัยเสี่ยงสําคัญที่ตองติดตามอยางใกลชิด สําหรับเงินเฟอทั่วไปมีแนวโนมขยายตัวชะลอลงในปนี้ แตเงินเฟอพื้นฐานมีแนวโนมชะลอลงในอัตราที่ชากวา ธนาคารกลางจึงมี
แนวโนมปรับดอกเบี้ยสูงขึ้นและนานขึ้นกวาที่เคยคาดไว ทั้งนี้ทิศทางเศรษฐกิจประเทศหลักปรับดีขึ้น เศรษฐกิจสหรัฐฯ มีแนวโนมขยายตัวชะลอลงมากขึ้น แตคาดวาจะสามารถหลีกเลี่ยงภาวะ
เศรษฐกิจถดถอยได เศรษฐกิจยูโรโซนมีแนวโนมหลีกเลี่ยงภาวะถดถอยไดเชนกัน จากความพยายามลดการพึ่งพาพลังงานจากรัสเซียที่กาวหนามาก เศรษฐกิจญี่ปุน มีแนวโนมขยายตัวชะลอลง
ภาคการผลิตและการสงออกจะเติบโตชะลอตัวตามอุปสงคโลก แตยังมีแรงหนุนจากภาคทองเที่ยว คาแรงที่เพิ่มสูงกวาในอดีตจะชวยสนับสนุนการบริโภคในยามเงินเฟอเรงตัวไดบาง
เศรษฐกิจจีน มีแนวโนมขยายตัวแข็งแกรงหลังยกเลิกนโยบาย Zero-COVID โดยการบริโภคภาคเอกชนเปนปจจัยขับเคลื่อนหลัก
SCB EIC คาดวาอัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทยจะทยอยปรับขึ้นอยางตอเนื่องในชวงครึ่งแรกของปสูระดับ 2% เนื่องจากเศรษฐกิจไทยมีแนวโนมฟนตัวตอเนื่อง และเงินเฟอไทยจะยังไมปรับ
ลดลงเร็วนัก ทั้งนี้ทิศทางอัตราดอกเบี้ยนโยบายขาขึ้น การทยอยสิ้นสุดมาตรการชวยเหลือทางการเงิน จะทําใหภาวะการเงินไทยมีแนวโนมตึงตัวตอเนื่อง เงินบาทมีแนวโนมออนคาในชวง
ครึ่งแรกของปนี้ แตจะปรับแข็งคาขึ้นไปอยูที่ 32-33 บาทตอดอลลารสหรัฐ ณ สิ้นปนี้ จากปจจัยพื้นฐานเศรษฐกิจไทยที่เขมแข็งขึ้น และเงินดอลลารสหรัฐที่จะกลับมาออนคา โดยเฉพาะหลัง
Fed เริ่มหยุดปรับขึ้นดอกเบี้ย
ในป 2023 เศรษฐกิจไทยมีแนวโนมฟนตัวตอเนื่อง 3.9% แรงขับเคลื่อนหลักมาจากภาคทองเที่ยวและภาคบริการ ชวยสนับสนุนการบริโภคและตลาดแรงงาน นักทองเที่ยวตางชาติคาดวา
จะอยูที่ 30 ลานคน โดยนักทองเที่ยวจีนจะกลับมาแตะ 4.8 ลานคนหลังจีนยกเลิกมาตรการ Zero-COVID เร็วขึ้น มูลคาการสงออกคาดวาจะยังขยายตัวได 1.2% ตามแนวโนมเศรษฐกิจโลกที่
ดีกวาคาดและอุปสงคจากจีนที่ฟนตัว การลงทุนภาคเอกชนมีแนวโนมขยายตัวตามความเชื่อมั่นภาคธุรกิจที่ปรับดีขึ้น ตลอดจนการขอรับและออกบัตรสงเสริมการลงทุนที่สูงขึ้น อัตราเงินเฟอ
ทั่วไปคาดวาจะอยูที่ 2.7% กลับมาอยูในกรอบเปาหมาย ตามราคาพลังงานโลกที่ปรับลดลงและมาตรการอุดหนุนราคาพลังงานในประเทศที่มีตอเนื่อง อัตราเงินเฟอพื้นฐานคาดวาจะชะลอลง
มาอยูที่ 2.4% แตยังอยูในระดับสูง สะทอนการทยอยสงผานตนทุนจากผูผลิตสูราคาผูบริโภคในชวงที่เศรษฐกิจไทยฟนตัวเขมแข็งขึ้นและแรงกดดันเงินเฟอจากดานอุปสงค
เศรษฐกิจโลก
ป 2023
6
3 ปจจัยสําคัญสําหรับเศรษฐกิจโลกป 2023
เศรษฐกิจโลกในป 2023 มีแนวโนมเติบโตดีกวาคาด และ
มีความเสี่ยงถดถอยนอยลง ปจจัยเสี่ยงที่ตองจับตา ไดแก
ความเสี่ยง Decoupling ระหวางสหรัฐฯ และจีน ที่อาจกระทบ
การฟนตัวของเศรษฐกิจ การคา และหวงโซอุปทานโลก
รวมถึงปญหา Bank run ในสหรัฐฯ และสหภาพยุโรป
ที่อาจกลายเปนความเสี่ยงระบบการเงินโลกได
ธนาคารกลางมีแนวโนมปรับดอกเบี้ยสูงขึ้นและนานขึ้น
แมอัตราเงินเฟอทั่วไปมีแนวโนมชะลอลงแลวตามราคา
พลังงานที่ปรับลดลง แตอัตราเงินเฟอพื้นฐานยังมีแนวโนม
ขยายตัวสูงและนานกวาคาด จากตัวเลขการจางงานที่ยัง
แข็งแกรง อยางไรก็ตาม ขนาดการปรับขึ้นดอกเบี้ยจะลดลง
จากปกอนมาก ภาวะการเงินโลกจะตึงตัวเพิ่มขึ้นอีกไมมากนัก
การเปดประเทศของจีนที่เร็วกวาคาดวาจะสงผลกระทบตอ
เศรษฐกิจโลกผาน 3 ชองทาง คือ (1) จํานวนนักทองเที่ยวจีน
จะเรงตัวขึ้น (2) ปริมาณการคาโลกจะไดรับอานิสงสเพิ่มขึ้น
จากการฟนตัวของอุปสงคในจีน และ (3) เงินเฟอโลกอาจ
ทรงตัวอยูในระดับสูงนานขึ้น จากราคาสินคาโภคภัณฑ
ที่กลับมาเรงตัวตามอุปสงคในจีน
Less gloomy
outlook
Higher
for longer
The impact of
China reopening
เศรษฐกิจโลกในป 2023 มีแนวโนมขยายตัวดีกวาคาด และความเสี่ยงเขาสูภาวะถดถอยนอยลง โดยยังตองติดตามความเสี่ยงสําคัญจากการแบงขั้วทางเศรษฐกิจ
ระหวางสหรัฐฯ และจีน รวมถึงปญหาขาดสภาพคลองของธนาคารบางแหงในสหรัฐฯ และสหภาพยุโรปในภาวะดอกเบี้ยขาขึ้น
Less gloomy outlook
8
เศรษฐกิจญี่ปุน
มีแนวโนมขยายตัวชะลอลงจากภาคการผลิต
และการสงออก แตยังมีแรงหนุนจากภาค
ทองเที่ยวและคาแรงที่ปรับเพิ่มขึ้น
BOJ มีแนวโนมปรับนโยบาย YCC เพิ่มเติม
หลังผูวาการใหมรับตําแหน�งในเดือน เม.ย.
เศรษฐกิจยูโรโซน
มีแนวโนมหลีกเลี่ยงภาวะถดถอยได จากความพยายาม
ลดการพึ่งพาพลังงานจากรัสเซียที่กาวหนามาก
เงินเฟอพื้นฐานขยายตัวสูงและนานกวาคาด
ECB มีแนวโนมขึ้นดอกเบี้ยไปถึงเดือน มิ.ย.
สูระดับสูงกวาที่คาดไวเดิม
Less Gloomy, More Tightening, with Upside from China Reopening
เศรษฐกิจสหรัฐฯ
มีแนวโนมขยายตัวในอัตราที่ชะลอลง แตคาดวาจะสามารถ
หลีกเลี่ยงภาวะเศรษฐกิจถดถอยได ทั้งนี้ ความเสี่ยงจาก
ปญหาธนาคารบางแหงขาดสภาพคลองที่อาจจะลุกลาม
เปนวิกฤตการเงินยังมีนอย แตเปนปจจัยเสี่ยงสําคัญที่ตอง
ติดตามใกลชิด
เงินเฟอยังสูงตอเนื่องและลดลงชา สงผลให Terminal
rate ของ Fed fund rate มีแนวโนมสูงกวาที่เคยคาดไว
เศรษฐกิจจีน
มีแนวโนมขยายตัวได 5.5% โดยการบริโภค
ภาคเอกชนเปนปจจัยขับเคลื่อนหลัก
หลังยกเลิกนโยบาย Zero-COVID
อยางไรก็ตาม ภาคสงออกมีแนวโนมขยายตัว
ชะลอลงและพื้นที่การคลังของรัฐบาล
ทองถิ่นเริ่มมีขอจํากัด
9
SCB EIC ปรับเพิ่มประมาณการเศรษฐกิจโลกป 2023 จากขอมูลเศรษฐกิจที่ดีกวาคาดและจีนเปดประเทศเร็ว
โดยตองติดตามความเสี่ยงเสถียรภาพระบบการเงินโลกและ Decoupling ระหวางสหรัฐ-จีน
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ CEIC และ Bloomberg
คาดการณการเติบโตของเศรษฐกิจโลก โดย SCB EIC
หน�วย : %YOY
ความน�าจะเปนที่จะเกิด Recession ใน 12 เดือนขางหนา
หน�วย : %, ขอมูล ณ วันที่ 16 มี.ค. 2023
ดัชนี Economic Surprise Index โดย Citi Group
หน�วย : ดัชนี. > 0 เลขเศรษฐกิจที่ออกมาจริงดีกวาเลขคาดการณ
GDP growth
(%YOY)
2021 2022
2023
Prev. latest
World 5.8% 3.0% 1.8% 2.3%
US 5.5% 2.1% 1.0% 1.6%
Euro 5.0% 3.5% -0.1% 0.8%
UK 7.5% 4.0% -1.0% -0.6%
Japan 1.9% 1.4% 1.4% 1.2%
China 7.8% 3.0% 4.3% 5.5%
India 8.8% 7.1% 5.6% 6.0%
Brazil 4.7% 1.9% 1.0% 1.2%
South Korea 4.0% 2.5% 2.0% 1.6%
Malaysia 3.0% 8.7% 4.0% 3.9%
Global Inflation 3.7% 7.0% 4.7% 4.5%
-120
-60
0
60
120
Mar-22 Jun-22 Sep-22 Dec-22 Mar-23
Global G10
US Euro zone
US, 60
EU, 40
UK, 75
China, 15
0
25
50
75
100
2018 2019 2020 2021 2022 2023
US
EU
UK
China
• ขอมูลกิจกรรมทางเศรษฐกิจของโลกออกมาดีกวาคาด
• เศรษฐกิจประเทศหลักมีความเสี่ยงถดถอยลดลง
• จีนเปดประเทศเร็วขึ้น
• เงินเฟอทั่วไปมีแนวโนมชะลอลง ตามราคาพลังงาน
และอาหาร
ปจจัยสนับสนุน
• ปญหาการขาดสภาพคลองของบางธนาคารในสหรัฐฯ อาจลุกลามเปนความเสี่ยงใน
ระบบการเงินโลก
• ความเสี่ยง Decoupling ระหวางสหรัฐฯ และจีน
• เงินเฟอพื้นฐานขยายตัวสูงและนานกวาคาด กดดันใหธนาคารกลางขึ้นดอกเบี้ยตออีก
• การคาโลกมีแนวโนมเติบโตชะลอลง
ปจจัยเสี่ยง
10
เศรษฐกิจโลกมีทิศทางพื้นตัว แมยังเปราะบาง โดยกิจกรรมภาคอุตสาหกรรมของโลกผานจุดตํ่าสุดแลว
และมีแนวโนมฟนตัวตอเนื่องในระยะตอไป
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
หมายเหตุ : *การแรเงาสีในแตละประเทศ พิจารณาจากขอมูลทางเศรษฐกิจประกอบดวย การบริโภคภาคเอกชน ยอดคาปลีก กิจกรรมภาคอุตสาหกรรม อัตราการวางงาน จํานวนผูมีงานทํา และดัชนีราคาผูบริโภค
ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ CEIC และ Moody’s
ชีพจรเศรษฐกิจโลก* มีทิศทางฟนตัว
หน�วย : ดัชนี, Pre-pandemic = 100, ขอมูล ณ ม.ค.-ก.พ.23
ดัชนีผูจัดการฝายจัดซื้อของโลก สะทอนวากิจกรรมเศรษฐกิจโลกผานจุดตํ่าสุดแลว
หน�วย : ดัชนี >50 หมายถึงสถานการณดีขึ้น, ปรับฤดูกาล
Economy Demand Side Supply Side Labor Market Prices
US
EU28
UK
China
Japan
Canada
South Korea
India
Indonesia
Vietnam
Brazil
Mexico
Indicators Mar-22 Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec Jan-23 Feb
Composite PMI 52.7 51.2 51.3 53.5 50.8 49.3 49.6 49.0 48.0 48.2 49.1 52.1
Manufacturing PMI 52.9 52.3 52.3 52.2 51.1 50.3 49.8 49.4 48.8 48.7 49.1 50.0
Delivery times 38.7 35.8 38.8 42.2 42.8 44.8 45.7 46.5 47.3 47.8 49.0 50.9
Output 51.0 48.7 49.6 52.4 50.1 49.4 48.7 48.7 47.8 48.5 48.9 50.8
Backlogs of work 52.7 52.8 52.7 50.0 49.5 49.3 49.0 47.4 46.8 46.9 47.6 48.1
Future output 62.5 61.8 60.7 59.2 58.7 60.1 57.9 56.7 57.9 60.0 62.3 62.8
Service PMI 53.4 52.2 51.9 53.8 51.0 49.2 50.0 49.2 48.1 48.1 50.1 52.6
Business activity 53.4 52.2 51.9 53.8 51.0 49.2 50.0 49.2 48.1 48.1 50.0 52.6
New business 54.6 52.3 53.0 51.9 52.0 50.3 50.5 49.9 48.2 48.2 50.6 52.0
แยกวา Pre-pandemic level ดีกวา Pre-pandemic level
11
อุปสงคโลกมีแนวโนมขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงเล็กนอยตามทิศทางเศรษฐกิจโลก ทั้งนี้ตลาดแรงงานที่ยัง
แข็งแกรงจะชวยหนุนการเติบโตของการบริโภคในระยะตอไป
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ CEIC
ดัชนีผูจัดการฝายจัดซื้อภาคการผลิต
หน�วย : ดัชนี >50 หมายถึงสถานการณดีขึ้น, ปรับฤดูกาล
ดัชนียอดคาปลีกของ G3
หน�วย : ดัชนี, 2015 =100, ปรับฤดูกาล
ดัชนีจํานวนผูมีงานทํา (Employed Persons Index)
สะทอนตลาดแรงงานที่ยังแข็งแกรง
หน�วย : ดัชนี, 2019 =100, ปรับฤดูกาล
49.3
48.3
40
42
44
46
48
50
52
54
56
New orders Export orders
ม.ค.-22 ก.พ.-23
80
90
100
110
120
130
140
150
160
Sep-14 Jun-17 Mar-20 Dec-22
EU US Japan
85
87
89
91
93
95
97
99
101
103
105
2018 2019 2020 2021 2022 2023
Japan South Korea
UK US
Canada Germany
Italy
12
ปริมาณการคาโลกมีแนวโนมเติบโตชะลอลงตามทิศทางเศรษฐกิจโลก รวมถึงผูบริโภคเปลี่ยนจากการบริโภค
สินคาเปนบริการมากขึ้น แตจะมีแรงหนุนจากอุปสงคในจีนหลังเปดประเทศ
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ Moody’s
QuantCube International Trade Index
หน�วย : %YOY (รายวัน, ดัชนี 6 ก.ค. 2012 = 100) ขอมูลลาสุด ณ 12 ก.พ. 2023 หน�วย : ดัชนี >50 หมายถึงสถานการณดีขึ้น, ปรับฤดูกาล
US Japan UK S.Korea
India Brazil China • WTO คาดวา ปริมาณการคาโลกมีแนวโนม
เติบโต 1.0% ในป 2023 ชะลอลงมากจาก
3.5% ในป 2022
• เครื่องชี้วัดการคาระหวางประเทศบงชี้วา
การคาโลกออนแอลงตอเนื่อง ยังไมเห็น
สัญญาณการฟนตัวที่ชัดเจน
• การคาระหวางประเทศของจีนมีทิศทางฟนตัว
แมชะลอลงบางในชวงตนปจากเทศกาลตรุษจีน
ที่ภาคธุรกิจหยุดยาว
QuantCube International Trade Index Manufacturing PMI (RHS)
ธนาคารกลางมีแนวโนมปรับขึ้นดอกเบี้ยสูงขึ้นและนานขึ้นกวาที่เคยคาดไว แมอัตราเงินเฟอทั่วไปมีแนวโนมขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงในปนี้ แตอัตราเงินเฟอพื้นฐาน
มีแนวโนมจะชะลอลงชากวา อยางไรก็ตาม ขนาดการปรับขึ้นดอกเบี้ยจะลดลงจากปกอนมาก ภาวะทางการเงินโลกจะมีแนวโนมตึงตัวขึ้นอีกไมมากนัก
Higher for longer
14
แมเงินเฟอทั่วไปและเงินเฟอพื้นฐานมีแนวโนมขยายตัวชาลง แตเงินเฟอพื้นฐานยังคงอยูในระดับสูง นําโดยสหรัฐฯ
ที่เงินเฟอภาคบริการยังขยายตัวตอเนื่อง ขณะที่เงินเฟอพื้นฐานในยูโรโซนและญี่ปุนยังไมผานจุดสูงสุด
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ CEIC
อัตราเงินเฟอทั่วไปและเงินเฟอพื้นฐาน
หน�วย : %YOY
0
2
4
6
8
10
12
Jan-19 Jan-23
US
CPI
Core CPI
0
2
4
6
8
10
12
Jan-19 Feb-23
Euro Area
0
2
4
6
8
10
12
Jan-19 Jan-23
UK
0
1
2
3
4
5
Jan-19 Jan-23
Japan
0
2
4
6
8
Jan-19 Feb-23
South Korea
0
5
10
Jan-19 Jan-23
Mexico
0
5
10
Jan-19 Jan-23
Indonesia
15
ธนาคารกลางจึงมีแนวโนมปรับขึ้นดอกเบี้ยสูงขึ้นและคงไวนานกวาที่เคยคาด แตขนาดดอกเบี้ยจะลดลงจากปกอนมาก
ภาวะทางการเงินจึงตึงตัวขึ้นอีกไมมากนัก
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
หมายเหตุ : *เสนประสีเทา คือ คาดการณ ณ พ.ย. 2022 เสนประตามสีแตละธนาคารกลาง คือ คาดการณลาสุด ณ มี.ค. 23
ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ CEIC และ Bloomberg
คาดการณการขึ้นดอกเบี้ยของธนาคารกลางสําคัญ*
หน�วย : %
ขนาดการขึ้นดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐฯ และสหภาพยุโรปคาดวาจะลดลงจากปกอน
หน�วย : Basis point
ดัชนีภาวะการเงินโลกตึงตัวนอยลง และมีแนวโนมตึงตัวขึ้นอีกไมมากนัก
หน�วย : ดัชนี
-5
-4
-3
-2
-1
0
1
2
Dec-21 Mar-22 Jun-22 Sep-22 Dec-22 Mar-23
FCI Global FCI US FCI UK FCI EU
ภาวะการเงินโลกตึงตัวขึ้น
4.5
3.5
5.25
-0.10
-1
1
2
3
4
5
6
2019 2020 2021 2022 2023 2024
BOE Fed ECB BOJ
0
100
200
300
400
500
2022 2023
US
Forecast (Mar-23)
0
100
200
300
400
500
2022 2023
EA
Forecast (Nov-22) Actual
การเปดประเทศของจีนที่เร็วกวาจะสงผลกระทบตอเศรษฐกิจโลกผาน 3 ชองทาง คือ
(1) การเติบโตของผูเดินทางจากจีนมีแนวโนมขยายตัวในอัตราเรง (2) ปริมาณการคาโลกจะไดรับอานิสงสเพิ่มเติมจากการฟนตัวของอุปสงคในจีน
และ (3) เงินเฟอโลกอาจทรงตัวอยูในระดับสูงนานขึ้น จากราคาสินคาโภคภัณฑที่อาจกลับมาเรงตัวตามอุปสงคในจีน
The impact of China reopening
17
จํานวนผูเดินทางระหวางประเทศของจีนมีแนวโนมขยายตัวในอัตราเรง หลังทางการจีนยกเลิก Zero-COVID
Policy โดยภูมิภาคเอเชียถือเปนจุดหมายปลายสําคัญลําดับตน ๆ
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
หมายเหตุ : RPK คือ จํานวนบรรทุกผูโดยสารของเที่ยวบินทั้งหมด คูณดวยจํานวนกิโลเมตรที่ทําการบินบนที่นั่งเหลานั้น โดยการเพิ่มขึ้นของ RPK หมายความวาผูโดยสารเดินทางโดยใชบริการของสายการบินมากขึ้น
ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ CEIC และ Thai AirAsia
ปริมาณการขนสงผูโดยสาร (Revenue Passenger Kilometers : RPK*) (แบงตามสายการบิน)
หน�วย : ดัชนี, 2019=100
ปริมาณนักทองเที่ยวจีนเดินทางไปในแตละประเทศ
หน�วย : แสนคน
0
2
4
6
8
10
12
14
16
18
20 Air China China Eastern Airline
China Southern Airline Hainan Airline
02/2023, 1.5
0.0
0.2
0.4
0.6
0.8
1.0
1.2
1.4
1.6
1.8
2.0
2021 2022 2023
Japan US Australia Indonesia
New Zealand Philippines South Korea Thailand
18
ปริมาณการคาโลกจะไดรับอานิสงสเพิ่มเติมจากการฟนตัวของอุปสงคในจีน โดยเฉพาะกลุมเศรษฐกิจเกิดใหม
ในเอเชีย ทั้งนี้คาดวาจะใชเวลาระยะหนึ่งกอนเห็นผลดังกลาวชัดเจนขึ้น
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ Bloomberg และ CEIC
ดัชนีผูจัดการฝายจัดซื้อภาคการผลิตของจีน
หน�วย : ดัชนี > 50 หมายความวาสถานการณดีขึ้น
มูลคาการสงออกสินคาไปยังจีน
หน�วย : % country GDP in 2021
40
42
44
46
48
50
52
54
56
58
60
2011 2015 2019 2023
Manufacturing PMI New Order
New Export Order Import
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
EM Asia ex India
Aus & NZ
LatAm
Japan
EA
Canada
UK
India
US
• ภาคการผลิตของจีนเริ่มเห็นการฟนตัวแลว Manufacturing PMI ของจีนใน ก.พ. สูงสุดในรอบ 10 ปที่ 52.6
• อุปสงคในจีนเริ่มมีทิศทางดีขึ้น สะทอนจากยอดคําสั่งซื้อใหม ยอดคําสั่งซื้อสินคาสงออกใหม และยอดการนําเขาของจีน
ที่กลับมาขยายตัวในรอบกวาครึ่งป
• กลุมเศรษฐกิจเกิดใหมในเอเชียมีแนวโนมไดรับประโยชนมากสุด จากการนําเขาสินคาของจีนที่ฟนตัว เนื่องจากสัดสวน
การสงออกไปจีนสูงถึง 8% ตอ GDP
• ประโยชนตอเศรษฐกิจสหรัฐฯ และ UK นอยกวา เนื่องจากสัดสวนการสงออกไปจีนตํ่ากวา 1% ของ GDP
Benefits in goods trade
19
เงินเฟอโลกอาจทรงตัวสูงนานกวาคาด จากราคาสินคาโภคภัณฑที่กลับมาเรงตัวตามการฟนตัวของอุปสงคจีน
ทั้งนี้ปญหาอุปทานคอขวดในจีนทยอยคลี่คลายจะชวยลดแรงกดดันดานราคาไดบาง
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ Bloomberg และ CEIC
ดัชนีราคาสินคาโภคภัณฑ
หน�วย : ดัชนี
จํานวนคอนเทนเนอร (Container ship) เขา-ออกทาเรือหลัก 20 แหงของจีน
หน�วย : %YOY
0
100
200
300
400
500
600
700
800
0
20
40
60
80
100
120
140
160
2018 2019 2020 2021 2022 2023
Brent Futures Price
Bloomberg Commodity Index (RHS)
-20
-15
-10
-5
0
5
10
15
20
25
Jan-20 May-20 Sep-20 Jan-21 May-21 Sep-21 Jan-22 May-22 Sep-22 Jan-23
Ship Arrival Ship Departure
เศรษฐกิจสหรัฐฯ มีแนวโนมขยายตัวชะลอลง แตคาดวาจะสามารถหลีกเลี่ยงภาวะเศรษฐกิจถดถอยได
เงินเฟอยังสูงตอเนื่องและลดลงชา สงผลให Terminal rate ของ Fed fund rate มีแนวโนมสูงกวาที่เคยคาดไว
เศรษฐกิจสหรัฐฯ
21
เศรษฐกิจสหรัฐฯ มีแนวโนมเติบโตสูงกวาที่ประเมินไว และคาดวาจะสามารถหลีกเลี่ยงภาวะถดถอยไดจากแรงหนุน
ของตลาดแรงงานและการบริโภค
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
หมายเหตุ : Recession zone วัดจากคาเฉลี่ยขอมูลของ Recession ในอดีต
ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ Bloomberg
Non-recession but the past 3 months
of data is worsening.
Recession zone and the past 3 months
of data is still bad.
Recession zone
but improving.
Non-recession zone
and improving
Consumer sentiment
Employment
Services
Consumer spending
Manufacturing
Industrial Production
Retail sales
Business sentiment
Existing home sales
Housing starts
Non-Recession
Deep Recession
Positive
trend
Negative
trend
ดัชนีชี้วัดภาวะเศรษฐกิจสหรัฐฯ (U.S. Economic indicators)
• ตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐฯ สวนใหญยังแข็งแกรงจากภาคบริการ เนื่องจากตลาดแรงงาน
ตึงตัวและคาจางยังสูงตอเนื่อง ชวยหนุนกําลังซื้อและการใชจายผูบริโภค
• เศรษฐกิจสหรัฐฯ มีแนวโนมขยายตัวชะลอลงในชวงครึ่งปหลัง แตจะสามารถ
หลีกเลี่ยงภาวะถดถอยได เนื่องจาก
1. ตลาดแรงงานยังแข็งแกรง ภาคธุรกิจมีแนวโนมลดการจางงานใหมและลด
ชั่วโมงทํางานพนักงานมากกวาปลดพนักงานออก เนื่องจากมีความเสี่ยงที่จะ
ไมสามารถหาแรงงานไดหากเศรษฐกิจปรับดีขึ้น สงผลใหการจางงานจะไมถูก
กระทบมาก
2. การใชจายผูบริโภคขยายตัวได เนื่องจากรายไดที่แทจริงมีแนวโนมกลับเปน
บวกตามเงินเฟอที่ชะลอลง ตลาดแรงงานที่ยังดี รายไดดอกเบี้ยสูงขึ้น และ
เงินชวยเหลือคาครองชีพจาก Social security payments ที่เพิ่มขึ้น
3. อุปสงคสินคาเพิ่มขึ้นหลังจีนเปดประเทศ ชวยใหภาคการผลิตสหรัฐฯ
กลับมาขยายตัวได โดยสหรัฐฯ มีสัดสวนการสงออกไปจีนราว 10% ของการ
สงออกทั้งหมด
22
135,000
145,000
155,000
165,000
2015
2016
2017
2018
2019
2020
2021
2022
2023
Labor supply
Labor Demand
ตลาดแรงงานสหรัฐฯ ยังคงแข็งแกรง ความตองการแรงงานยังมีสูง ขณะที่กําลังแรงงานมีแนวโนมตํ่ากวาอดีต
สรางแรงกดดันตอคาจางและเงินเฟอ
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ Bloomberg และ United States Department of Labor
กําลังแรงงาน (Labor supply) และความตองการแรงงาน (Labor demand)
หน�วย : พันคน
ดัชนีอัตราคาจางแรงงาน (The Employment Cost Index : ECI)
หน�วย : %
Fed ตองขึ้นดอกเบี้ย
เพื่อลด Labor demand
ความตองการแรงงานยังสูง
ตอเนื่อง ขณะที่กําลังแรงงาน
ยังคงตํ่ากวา Pre-COVID
5.2
5.1
2
4
6
Q1/19
Q2/19
Q3/19
Q4/19
Q1/20
Q2/20
Q3/20
Q4/20
Q1/21
Q2/21
Q3/21
Q4/21
Q1/22
Q2/22
Q3/22
Q4/22
ECI: Service-providing industry
ECI: Total
Total compensation
หลัง COVID-19 ที่แรงงานไดรับยัง
สูงตอเนื่อง โดยเฉพาะในภาคบริการ
การจางงานนอกภาคการเกษตรและอัตราการวางงาน
หน�วย : พันตําแหน�ง
การขยายตัวของคาจางแรงงาน
หน�วย : %
หน�วย : %
517
3.4
2
7
0
500
1,000
Jan-21
Mar-21
May-21
Jul-21
Sep-21
Nov-21
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
Jan-23
Nonfarm payrolls Unemployment rate (RHS)
5.9
4.4
-1
1
3
0
2
4
6
8
Jan-19
Apr-19
Jul-19
Oct-19
Jan-20
Apr-20
Jul-20
Oct-20
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Jan-23
Wage growth (MOM) RHS Wage growth (YOY)
23
เงินเฟอสหรัฐฯ สูงตอเนื่องและลดลงชา สงผลใหอัตราดอกเบี้ย (Terminal rate) มีแนวโนมสูงกวาที่เคยคาดไว
โดย SCB EIC คาดวา Fed จะขึ้นดอกเบี้ยไปสูระดับ 5-5.25% และเขา Restrictive zone ในไตรมาส 2
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ Bloomberg และ FRED
มาตรวัดเงินเฟอของ Fed : ดัชนีราคาจากรายจายเพื่อการบริโภคสวนบุคคล (PCE)
หน�วย : %YOY
อัตราดอกเบี้ยนโยบายจะเริ่มเขาสู Restrictive zone ในไตรมาส 2 นี้
หน�วย : %
4.7
5.4
4.6
1
2
3
4
5
6
7
Jan-21
Mar-21
May-21
Jul-21
Sep-21
Nov-21
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
Jan-23
Core PCE
PCE
PCE Core services ex-housing
1
6.1
0
3
6
9
12
Jan-21
Mar-21
May-21
Jul-21
Sep-21
Nov-21
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
Jan-23
CPI Core goods
CPI Core services less shelter
ดัชนีราคาผูบริโภค (Consumer Price Index : CPI) แยกฝงสินคาและบริการ
หน�วย : %YOY
Fed ’s target = 2%
เงินเฟอจากสินคาปรับลดลงมาก
แตเงินเฟอบริการยังสูงตอเนื่อง
ซึ่งคาดวาจะลดลงชัดเจนใน H2
• มาตรวัดเงินเฟอของ Fed ยังสูงตอเนื่องและลดลงชา โดยเฉพาะเงินเฟอภาคบริการไมรวมที่อยูอาศัย
ที่ยังเรงตัวตามตลาดแรงงานและขอมูลเศรษฐกิจที่ดีกวาคาด สงผลให Fed มีแนวโนมปรับดอกเบี้ย
สูงขึ้นกวาที่คาดไวเดิม
• SCB EIC คาดวา Fed จะขึ้นดอกเบี้ยอีก 1 ครั้ง สู Terminal rate ที่ 5-5.25% สงผลใหดอกเบี้ย
จะเริ่มเขาสู Restrictive zone (ดอกเบี้ยสูงกวาเงินเฟอ) ในไตรมาส 2 และคงระดับนี้ไปตลอดป
• SCB EIC มองวา มาตรการ Fed ที่ออกมาหลังเกิดเหตุการณ SVB จะสามารถแกปญหาไดตรงจุด
และจะชวยปองกันไมใหเกิด Domino effect ในระบบสถาบันการเงินของสหรัฐฯ ได โดยหาก Fed
สามารถเรียกความเชื่อมั่นกลับคืนมาเปนปกติได Fed มีแนวโนมที่จะขึ้นดอกเบี้ยเพื่อควบคุมเงินเฟอ
ตอไป
5 5.25 5.25 5.25
7
6.3
5.3
5.0 5.2
4.6
0
5
Mar-21
Jun-21
Sep-21
Dec-21
Mar-22
Jun-22
Sep-22
Dec-22
Mar-23
Jun-23
Sep-23
Dec-23
Fed funds rate (upper bound)
PCE (%YOY)
Core PCE (%YOY)
24
ผลกระทบของอัตราดอกเบี้ยที่สูงขึ้นมีแนวโนมสงผานไปยังระบบการเงินและเศรษฐกิจมากขึ้นในปนี้ (Lag effects)
โดยการลงทุนภาคเอกชนมีแนวโนมขยายตัวชะลอลง ซึ่งจะเปนปจจัยกดดันการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ Bloomberg และ Senior Loan Officer Opinion Survey on Bank Lending Practices
อัตราดอกเบี้ยกูยืมระหวางธนาคาร (LIBOR) และอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ
หน�วย : %
ความตองการสินเชื่อประเภทตาง ๆ (Loan demand) สํารวจจากสถาบันการเงิน
หน�วย : %
ปริมาณเงิน (Federal Reserve Money supply M2)
หน�วย : %YOY
5
4.75
0
2
4
6
2007
2008
2009
2010
2011
2012
2013
2014
2015
2016
2017
2018
2019
2020
2021
2022
2023
LIBOR USD 3M Fed funds rate
-25.9
-11.1
-31.3
-70
-50
-30
-10
10
30
2012
2013
2014
2015
2016
2017
2018
2019
2020
2021
2022
2023
Consumer Loans ex. Credit Card and Auto Loans
Credit Card
Commercial and Industrial Loans
-1.7
-2
8
18
28
2007
2008
2009
2010
2011
2012
2013
2014
2015
2016
2017
2018
2019
2020
2021
2022
2023
• ในป 2022 การปรับขึ้นดอกเบี้ยอาจยังไมสงผลกระทบสูระบบเศรษฐกิจอยางเต็มที่ ธนาคาร
มีแนวโนมสงผานตนทุนกูยืมระหวางธนาคารที่สูงขึ้นไปสูสินเชื่อมากขึ้นในปนี้
• การลงทุนภาคเอกชนอาจไดรับผลกระทบมากขึ้นในปนี้ สะทอนจากความตองการสินเชื่อที่เริ่ม
หดตัว ทําให Loan growth มีแนวโนมขยายตัวชะลอลงตอเนื่อง
• ปริมาณเงิน (M2) เริ่มหดตัว สะทอนสภาพคลองในระบบที่ตึงตัวตอเนื่อง ซึ่งอาจเปนสัญญาณ
การชะลอตัวของการหมุนเวียนเงินในระบบเศรษฐกิจ
M2 ลดลงสูระดับ
ตํ่าสุดตั้งแต
ป 1960
LIBOR แตะระดับสูงสุดที่ 5%
เปนครั้งแรกนับตั้งแตป 2008
25
เหตุการณ Bank run ในสหรัฐฯ สงผลใหความเชื่อมั่นตอ Banking sector ปรับลดลง และสรางความผันผวน
ในตลาดการเงิน ทั้งนี้ความเสี่ยงที่สถานการณจะลุกลามจนเปนวิกฤตการเงินโลกเหมือนในอดีตมีจํากัด
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ JP Morgan: Q4/2022
• SVB เผชิญกับการลดลงของเงินฝากหลัง Fed เรงขึ้นดอกเบี้ย เนื่องจากธนาคารมี
โครงสรางเงินฝากกระจุกตัวในฐานลูกคา Tech sector, Venture cap-backed startups
ลูกคากลุมนี้สวนใหญถอนเงินฝากอยางตอเนื่องจากสถานการณ Cash burn
ประกอบกับมีลูกคารายใหญถอนเงินฝากออกจาก SVB เขนกัน
• สินทรัพยกวา 50% ของ SVB ลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลระยะกลางถึงยาว ตางจากธนาคาร
สวนใหญในสหรัฐฯ ที่มีสัดสวนการลงทุนดังกลาวเพียง 30%
• SVB มีปญหาขาดสภาพคลองจากการที่ลูกคาถอนเงินฝากปริมาณมาก จึงตองขายพันธบัตร
รัฐบาลที่ถือครองอยู โดยการที่ Fed เรงขึ้นดอกเบี้ย สงผลให Bond yield ปรับสูงขึ้น
และราคาพันธบัตรฯ ปรับลดลง ทําให SVB เกิดผลขาดทุนราว 1.8 พันลานดอลลารสหรัฐ
จนตองประกาศเพิ่มทุนเพื่อชดเชยสวนของทุนที่หายไปจากการขาดทุนดังกลาว
• หลังตลาดรับรูขาวการเพิ่มทุนของ SVB สงผลใหเกิดความกังวลตอปญหาสภาพคลอง
ทําใหเกิดการแหถอนเงินออกจาก SVB ราว 4 หมื่นลานดอลลารสหรัฐ จนทางการตองสั่งปด
SVB เพื่อปองกันไมใหเกิดความเสียหายมากขึ้น
• นอกจากนี้ Signature Bank ซึ่งเปนผูใหบริการในอุตสาหกรรม Cryptocurrency
ถูกทางการสั่งปดเชนกัน เพื่อปองกันไมใหสถานการณ Bank run ลุกลามในภาคธนาคาร
• ทางการสหรัฐฯ ออกมาใหความเชื่อมั่นวาผูฝากเงินในธนาคารที่สั่งปดไปจะไดเงินฝากคืน
เต็มจํานวน ขณะที่ Fed ออก Bank Term Funding Program วงเงิน 2.5 พันลาน
ดอลลารสหรัฐ เพื่อชวยธนาคารที่ขาดสภาพคลอง โดยปลอยกูไมเกิน 1 ปจากการรับซื้อ
พันธบัตรรัฐบาลในราคา Par
สรุปเหตุการณ Silicon Valley Bank (SVB) ถูกสั่งปดกิจการ นัยตอตลาดการเงิน
• ความผันผวนในตลาดการเงินมีแนวโนมสูงขึ้นในชวงที่ความเชื่อมั่นตอ Banking sector ยังไมกลับ
เปนปกติ สินทรัพยเสี่ยงมีแนวโนมถูกขายจากภาวะ Risk-off โดยเฉพาะหุนกลุมธนาคาร
ขณะที่อุปสงคในสินทรัพยปลอดภัยสูงขึ้น เชน พันธบัตรรัฐบาล และทองคํา
• ความเสี่ยงที่สถานการณจะลุกลามเปนวิกฤตการเงินโลกเหมือนในป 2008 มีจํากัด
ปญหานี้เปนปญหาเฉพาะ (Idiosyncratic risk) ของ SVB ที่มีโครงสรางเงินฝากกระจุกตัว
ใน Tech sector และเกิดการบริหารสินทรัพยและหนี้สินผิดพลาด
Unrealized securities loss ที่มีตอ CET1 Capital ratio ของธนาคารในสหรัฐฯ
หน�วย : %
12%
0.3%
0%
3%
6%
9%
12%
JPM C SVB BAC WFC MTB CFG CMA ZION RF HBAN FITB PNC KEY TFC USB
Common Equity Tier 1 Capital Ratio Adjusted for unrealized losses, aftertax
เศรษฐกิจยูโรโซนมีแนวโนมหลีกเลี่ยงภาวะถดถอยได จากความพยายามลดการพึ่งพาพลังงานจากรัสเซียที่กาวหนามาก เงินเฟอทั่วไปมีแนวโนมเพิ่มขึ้นชาลงตอเนื่อง
ขณะที่เงินเฟอพื้นฐานมีแนวโนมขยายตัวสูงและนานกวาที่คาด ECB มีแนวโนมขึ้นดอกเบี้ยไปถึงเดือน มิ.ย. สูระดับสูงกวาที่คาดไวเดิม
เศรษฐกิจยุโรป
27
เศรษฐกิจยูโรโซนมีแนวโนมหลีกเลี่ยงภาวะถดถอยไดในปนี้ จากความกาวหนามากในการลดการพึ่งพา
พลังงานจากรัสเซีย
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ ECB, European Commission และ CEIC
การเติบโตของเศรษฐกิจสหภาพยุโรปและยูโรโซน
หน�วย : %QOQ
สัดสวนการนําเขากาซของสหภาพยุโรป
หน�วย : รอยละ
ดัชนีบรรยากาศทางธุรกิจ Ifo และดัชนีความเชื่อมั่นผูบริโภค
ของ Euro Area
หน�วย : ดัชนี, 2015 = 100, ปรับฤดูกาล สัดสวนการนําเขาอุปทานกาซของยุโรป (แบงตามแหลงที่มา)
หน�วย : รอยละ, คาเฉลี่ย ม.ค. – พ.ย. 2022
0.3
0.0
0.3
0.1
-0.5
0.0
0.5
1.0
1.5
2.0
2.5
1Q21 2Q21 3Q21 4Q21 1Q22 2Q22 3Q22 4Q22
สหภาพยุโรป (27)
ยูโรโซน (19)
-60
-40
-20
0
20
70
90
110
2012 2013 2015 2016 2018 2019 2021 2022
Business Climate
Business Expectations
Consumer confidence
ปจจัยเอื้อให EU เลี่ยงภาวะถดถอยได
GDP
เศรษฐกิจ EU หลีกเลี่ยง Technical recession ที่คาดวาจะเกิด
ในชวงครึ่งหลังของป 2022 ได โดย GDP (%QOQ) ขยายตัว
เล็กนอยในสหภาพยุโรป และทรงตัวในยูโรโซน (เดิมคาดวาจะหดตัว
ใน 4Q/2022) เศรษฐกิจป 2023 จึงมีจุดเริ่มตนเขมแข็งกวาที่เคย
ประเมินไว
Supply
side
EU ลดการนําเขากาซจากรัสเซียเหลือ 12.9% ในเดือน พ.ย.
จาก 40% ในชวงตนป และเฉลี่ยทั้งปเหลือเพียง 24.7% ลดลง
เกือบครึ่งของป 2021 (40%) โดยสหรัฐฯ เปนแหลงอุปทานใหม
ที่สําคัญ
Demand
side
ความตองการใชพลังงานในฤดูหนาวที่ผานมาตํ่ากวาคาเฉลี่ย
จากสภาพอากาศที่ไมหนาวจัด สงผลใหระดับกาซคงคลังสูงกวา
ปกติ ลดความจําเปนที่จะตองเรงหาพลังงานคงคลังในอนาคตได
Confidence
บรรยากาศทางธุรกิจและความเชื่อมั่นผูบริโภคดีขึ้นสูงสุด
นับตั้งแตเกิดสงครามรัสเซีย-ยูเครน สะทอนทิศทางเศรษฐกิจ
ในระยะตอไปที่ดีขึ้น
28
เงินเฟอทั่วไปของยูโรโซนมีแนวโนมลดลงในปนี้ ขณะที่เงินเฟอพื้นฐานจะสูงตอเนื่องและลดลงชา
จากตลาดแรงงานตึงตัวและราคาในภาคบริการที่ยังเรงตัว
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
อัตราเงินเฟอของยูโรโซน (HICP)
หน�วย : %YOY
การคาดการณราคาในอีก 3 เดือนขางหนา
หน�วย : % balance
ก.พ.-20 ก.พ.-23
Headline HICP 8.5
Core 5.6
Food & Beverages
Energy 13.7
ก.พ.-20 ก.พ.-23
Service price
Retail trade price
Industry price
ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ Bloomberg, CEIC และ ECB
เงินเฟอทั่วไปยูโรโซนมีแนวโนมลดลงตอเนื่อง ตามราคาพลังงานที่ปรับลดลง และคาดวาจะกลับเขาใกล
กรอบ 2% ชวงปลายป 2024
เงินเฟอพื้นฐานมีแนวโนมสูงตอเนื่องและลดลงชาจากอุปสงคภาคครัวเรือนที่ยังดีตามตลาดแรงงานที่ฟนตัว
แข็งแกรงเปนประวัติการณ รวมถึงแรงกดดันเงินเฟอภาคบริการตามอุปสงคภาคการทองเที่ยวที่เพิ่มขึ้น
ราคาในภาคบริการคาดวาจะเรงตัวตอเนื่องและยังไมผานจุดสูงสุด ขณะที่คาดการณราคาคาปลีกและราคา
สินคาภาคอุตสาหกรรม ผานจุดสูงสุดแลว แตมีแนวโนมสูงกวาคาเฉลี่ยในอดีตคอนขางมาก
อัตราการวางงานและการเปลี่ยนแปลงจํานวนผูวางงานของสหภาพยุโรป (27)
หน�วย : % หน�วย : พันคน
ดัชนีราคากาซธรรมชาติรายวัน
หน�วย : Euro/MWh, GBP/therm หน�วย : $/MMBtu
0
5
10
15
20
0
150
300
450
600
Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Jan-23 Mar-23
Dutch TTF UK NBP Henry Hub (RHS)
6.1
-1,000
0
1,000
2,000
4
6
8
10
12
2001 2003 2005 2007 2009 2011 2013 2015 2017 2019 2021 2023
Change in number of unemployed persons (RHS)
Unemployment Rate
29
ECB มีแนวโนมจะปรับขึ้นดอกเบี้ยตอเนื่องถึงเดือน มิ.ย. สูระดับ 3.5% ขณะที่ความเสี่ยงที่จะเกิดสถานการณ
เชนกรณี SVB มีจํากัด
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
หมายเหตุ : *Net Stable Funding Ratio คือสัดสวนแหลงเงินทุนที่มีแนวโนมวาจะคงอยูกับธนาคารนานกวาหนึ่งป โดยคํานวณ Available Stable Funding (ASF) เปน % ของ Required Stable Funding (RSF)
ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูล Goldman Sachs และ CEIC
สถานะทางการเงินของธนาคารพาณิชยในยุโรปและสหราชอาณาจักร
การปลอยสินเชื่อของ Monetary financial institutions (MFIs)
หน�วย : %YOY
Metric Requirement European
Banks
Euro
Area
Bank
UK Large
Cap
Banks
Liquidity Coverage Ratio 100% required 153% 158% 148%
Net Stable Funding Ratio* 100% required 128% 130% 138%
CET 1 Capital Ratio Bp above
regulatory min. 406 bp 418 bp 401 bp
Unrealized losses on HTM
Securities Mean 29 bp 19 bp 64 bp
• ECB มีแนวโนมปรับขึ้นดอกเบี้ยสูระดับ 3.5% (เดิมคาด 3.25%) โดยจะปรับขึ้น 0.25% อีก 2 ครั้ง ในเดือน พ.ค. และ มิ.ย.
• ความน�าจะเปนที่ ECB จะขึ้นดอกเบี้ยสูงกวา 3.5% ยังมีนอย เนื่องจากชวงครึ่งหลังของปยูโรโซนมีแนวโนมเผชิญแรงกดดันทั้งจากเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่จะชะลอลงมาก Lag effects การขึ้นดอกเบี้ยที่
จะสงผานไประบบเศรษฐกิจมากขึ้น สะทอนจากการปลอยสินเชื่อที่ลดลงในชวงที่ผานมา รวมถึงปญหาการขาดสภาพคลองของสถานบันการเงินที่ ECB มองวาเปนปจจัยเสี่ยงสําคัญที่ตองติดตาม
• ความเสี่ยงที่ยุโรปจะเกิดสถานการณแบบ SVB มีจํากัด เนื่องจาก (1) ระดับ CET1 ของธนาคารพาณิชย ในยุโรปสูงกวาเกณฑขั้นตํ่าอยางมีนัยสําคัญ (2) สภาพคลองและฐานะเงินทุนแข็งแกรงทั้งโดยรวม
และรายธนาคาร (3) Unrealized losses จากหลักทรัพยที่ยังไมครบกําหนดอายุอยูในระดับตํ่า และ (4) ธนาคารในยุโรปมีเงินฝากสวนเกินสูง โดย Loan to Deposit Ratio อยูที่ 88% สูงกวาสหรัฐฯ ที่ 67%
-5.0
-2.5
0.0
2.5
5.0
7.5
10.0
2011 2013 2015 2017 2019 2021 2023
Households Non Financial Sector
ECB tightening
cycle
เศรษฐกิจญี่ปุนมีแนวโนมขยายตัวชะลอลง ภาคการผลิตและการสงออกจะเติบโตชะลอตัวตามอุปสงคโลก แตยังมีแรงหนุนจากภาคทองเที่ยว
คาแรงที่เพิ่มสูงกวาในอดีตจะชวยสนับสนุนการบริโภคในยามเงินเฟอเรงตัวไดบาง
คาดวา BOJ จะปรับนโยบาย YCC เพิ่มเติมหลังผูวาการใหมรับตําแหน�งในเดือน เม.ย.
เศรษฐกิจญี่ปุน
31
เศรษฐกิจญี่ปุนมีแนวโนมขยายตัวชะลอลง ภาคการผลิตและสงออกจะเติบโตชะลอลงตามอุปสงคโลก แต
เศรษฐกิจยังพอมีแรงหนุนจากภาคทองเที่ยว และคาแรงที่เพิ่มขึ้นชวยสนับสนุนการบริโภคในภาวะเงินเฟอเรงตัว
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ CEIC และ BOJ Tankan
ดัชนีผูจัดการฝายจัดซื้อของญี่ปุนเริ่มฟนตัวในภาคบริการ
หน�วย : ดัชนี >50 หมายถึงสถานการณดีขึ้น, ปรับฤดูกาล
การสงออกของญี่ปุนยังชะลอตัว
หน�วย : % YOY
การเติบโตของคาแรงและอัตราการวางงานของญี่ปุนปรับดีขึ้น
หน�วย : %
อัตราเงินเฟอของญี่ปุนเรงตัว
หน�วย : %YOY
หน�วย : %YOY
30
40
50
60
Mar-20 Aug-20 Jan-21 Jun-21 Nov-21 Apr-22 Sep-22 Feb-23
Composite Service Manufacturing
-40
-20
0
20
40
Jun-20 Dec-20 Jun-21 Dec-21 Jun-22 Dec-22
Exports
Exports: Services
Exports: Goods
ภาคบริการเริ่มฟนตัวแลว
ภาคการผลิตหดตัวตอเนื่อง
4.1
2.5 2.0
4.0
6.0
-7.5
-5.0
-2.5
0.0
2.5
5.0
7.5
1990 1998 2006 2014 2022
Avg Monthly Cash Earnings (RHS) Unemployment Rate: sa
-3
-1
2
4
2013 2015 2017 2019 2021 2023
Headline CPI Core CPI Tokyo CPI Tokyo Core CPI
32
BOJ มีแนวโนมดําเนินนโยบายการเงินผอนคลายนอยลงในปนี้ โดยคาดวาจะเริ่มจากการปรับเงื่อนไข YCC เพิ่มเติม
หลังผูวาการคนใหมขึ้นดํารงตําแหน�ง (เม.ย.) ขณะที่จะยังคงนโยบายดอกเบี้ยติดลบอยางนอย 2-3 ป
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
หมายเหตุ : *หมายถึง BOJ ใหตลาดกูยืม JGB อีกครั้งเพื่อใหตลาดยังมีอุปทานอยู ขณะที่ผูขายกูยืมและขายคืนในตลาด โดยมีเพียง BOJ ที่จะซื้อกลับคืนอีกครั้ง
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ BOJ Tankan และ Financial Times
แบบสํารวจการทํางานของตลาดตราสารหนี้ โดย BOJ (Bond Market Survey) : Question = ระดับการทํางานของตลาดตราสารหนี้จากมุมมองของบริษัท
หน�วย : % point (high – low)
The degree of bond market functioning Aug-19 Nov-19 Feb-20 May-20 Aug-20 Nov-20 Feb-21 May-21 Aug-21 Nov-21 Feb-22 May-22 Aug-22 Nov-22 Feb-23
Diffusion Index: %points -38 -32 -27 -45 -27 -25 -24 -27 -27 -25 -21 -27 -40 -51 -64
percentage
High 1 1 1 0 4 4 4 3 3 1 4 3 1 1 0
Not Very High 60 66 70 55 64 67 68 67 67 72 71 67 58 46 36
Low 39 33 28 45 31 29 28 30 30 26 25 30 41 52 64
การถือพันธบัตรรัฐบาลระยะ 10 ปของ BOJ (10y-JGB)
หน�วย : % ของการออก 10y-JGB ทั้งหมดในแตละไตรมาส
0
20
40
60
80
100
120
140
4Q2021 1Q2022 2Q2022 3Q2022 4Q2022 1Q2023
• การทํางานของตลาดตราสารหนี้ญี่ปุนปรับแยลงแตะระดับตํ่าสุดหลัง BOJ ขยายกรอบ YCC เมื่อ ธ.ค. โดย BOJ ซื้อคืน
10y-JGB จํานวนมากและถือไวเกิน 100% แลว* ทําใหสภาพคลองในตลาดลดลงและบิดเบือนอัตราผลตอบแทนพันธบัตร
• แมนโยบายการเงินผอนคลายยังเหมาะสมตอการฟนตัวของเศรษฐกิจ แต BOJ จําเปนตองดําเนินนโยบายกลับสูระดับปกติ
มากขึ้น เพื่อสนับสนุนการทํางานของตลาดตราสารหนี้ใหมีประสิทธิภาพ
• BOJ มีแนวโนมปรับเงื่อนไข YCC หลังผูวาการคนใหมขึ้นรับตําแหน�ง (เม.ย.) โดยควบคุมอัตราผลตอบแทนระยะสั้นขึ้น
(เชน 2-5 ป) แตจะยังคงดอกเบี้ยนโยบายติดลบอยางนอย 2-3 ป ใหแน�ใจวาตนทุนการกูยืมระยะสั้นถึงปานกลาง
(ซึ่งสําคัญกวาสําหรับภาคเศรษฐกิจจริง) ยังอยูในระดับตํ่าเพื่อสนับสนุนการฟนตัวของเศรษฐกิจ
• โอกาสขยายกรอบ YCC เพิ่มอีกมีไมมาก เนื่องจากการขยายกรอบครั้งใหมจะตองใหญมากพอจะนํากลไกตลาดได
ซึ่งการขยายกรอบมากไปจะขัดหลักการ BOJ ในการควบคุมอัตราผลตอบแทนใหตํ่าเพื่อสนับสนุนการฟนตัวของเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจจีนมีแนวโนมขยายตัวได 5.5% โดยการบริโภคภาคเอกชนเปนปจจัยขับเคลื่อนหลักหลังยกเลิกนโยบาย Zero-COVID
ภาคอสังหาฯ มีแนวโนมฟนตัวคอยเปนคอยไป อยางไรก็ตาม ปจจัยกดดันเศรษฐกิจที่ตองจับตา
ไดแก ภาคการสงออกที่มีแนวโนมขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงและพื้นที่การคลังของรัฐบาลทองถิ่นที่เริ่มมีจํากัด
เศรษฐกิจจีน
34
SCB EIC ปรับเพิ่มประมาณการเศรษฐกิจจีนเปน 5.5% ในป 2023 ตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่แข็งแกรงขึ้น
หลังยกเลิกนโยบาย Zero-COVID โดยการบริโภคภาคเอกชนเปนปจจัยขับเคลื่อนหลัก
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ CEIC, S&P Global และ The People’s Bank of China
ดัชนี Caixin PMI
หน�วย : ดัชนี (>50 หมายถึงการขยายตัว)
มูลคาเงินออม (Savings)
หน�วย : พันลานหยวน
150,000
170,000
190,000
210,000
230,000
250,000
270,000
Jan-18
Jun-18
Nov-18
Apr-19
Sep-19
Feb-20
Jul-20
Dec-20
May-21
Oct-21
Mar-22
Aug-22
Jan-23
Actual Previous trend
47.0 49.4
46.7
48.3 49.0 48.0
51.1 49.2
52.9
54.2
51.6
55.0
0
10
20
30
40
50
60
Composite Manufacturing Services
Nov-22 Dec-22 Jan-23 Feb-23
เงินออมสวนเกิน
(Excess saving)
ประมาณ 30 ลาน
ลานหยวน เปนหนึ่ง
ปจจัยชวยกระตุน
การใชจายในปนี้ได
• ดัชนี PMI ในเดือน ก.พ. สะทอนการขยายตัวของเศรษฐกิจจีนที่แข็งแกรงขึ้น ทั้งภาคการผลิตและบริการ ตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ทยอยกลับมาเปนปกติหลังยกเลิกมาตรการ Zero-COVID ผลสํารวจ
เผยวา ธุรกิจภาคการผลิตและบริการมีคําสั่งซื้อเพิ่มขึ้น สงผลใหธุรกิจจางงานเพิ่ม ซึ่งเปนปจจัยบวกตอตลาดแรงงาน นอกจากนี้ ธุรกิจมีความเชื่อมั่นสูงในอีก 1 ปขางหนา
• การบริโภคภาคเอกชนจะเปนปจจัยหลักชวยสนับสนุนเศรษฐกิจจีนในปนี้ ตาม Pent-up demand และฐานตํ่าในปกอน ตลาดแรงงานจีนที่มีแนวโนมปรับดีขึ้นจะเปนปจจัยสนับสนุนรายไดและการใชจาย
ผูบริโภค รวมถึงเงินออมที่สูงขึ้นในชวงล็อกดาวน และตลาดอสังหาฯ ที่ทยอยฟนตัวจะชวยสนับสนุนความเชื่อมั่นผูบริโภค
35
ภาคอสังหาฯ มีแนวโนมฟนตัวจากฐานตํ่า จะเปนอีกปจจัยสนับสนุนเศรษฐกิจจีนในปนี้ ตามความเชื่อมั่น
ของผูซื้อบานที่ฟนตัวและนโยบายสนับสนุนจากภาครัฐ อยางไรก็ดี การฟนตัวจะคอยเปนคอยไปและใชเวลา
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
หมายเหตุ : *CRIC China Real Estate Bond Leadership Index
ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ Bloomberg และ China Real Estate Information Corp
ยอดขายและราคาขายเฉลี่ยของบริษัทอสังหาฯ จีนชั้นนํา
หน�วย : %YOY
ดัชนีราคาหุนกูสกุลเงิน USD ของบริษัทอสังหาฯ จีนชั้นนํา*
หน�วย : ดัชนี
-60
-40
-20
0
20
40
60
80
Mar-20
Jul-20
Nov-20
Mar-21
Jul-21
Nov-21
Mar-22
Jul-22
Nov-22
Property Sales Property Price
40
50
60
70
80
90
100
110
120
130
Jan-19
Jul-19
Jan-20
Jul-20
Jan-21
Jul-21
Jan-22
Jul-22
Jan-23
• ภาคอสังหาฯ จีนมีแนวโนมฟนตัวคอยเปนคอยไป
1. ความเชื่อมั่นผูซื้อบานทยอยเพิ่มขึ้น รายไดฟนตัว
และการเดินทางเยี่ยมชมโครงการอสังหาฯ
สะดวกขึ้น
2. รัฐบาลจีนผอนคลายขอจํากัดการกอหนี้ของบริษัท
อสังหาในชวงปลายป 2022 สงผลใหการระดมทุน
โครงการงายขึ้น
3. การฟนตัวจะใชเวลากอนกลับเขาใกลระดับในป
2021 แตจะไมกลับไปรอนแรงอีกครั้ง เนื่องจาก
รัฐบาลตองการลดการเก็งกําไรในตลาดนี้ลง
• การฟนตัวของภาคอสังหาฯ จะมีผลบวกอยางมากตอหลาย
ภาคสวนของเศรษฐกิจจีน อสังหาฯ เปนแหลงสะสมความมั่งคั่ง
หลักของชาวจีน ขณะที่ยอดขายที่ดินเปนรายไดหลักของ
รัฐบาลทองถิ่นและสถาบันการเงินปลอยกูในภาคอสังหาฯ สูง
มุมมองภาคอสังหาฯ จีนป 2023
ยอดขายอสังหาฯ จีนหดตัวสูง
ในอัตราชะลอลงตอเนื่อง
SCB EIC มองวาตลาดอสังหา
จะฟนตัวไดในครึ่งหลังของป
สวนหนึ่งจากปจจัยฐานตํ่า
ดัชนีราคาหุนกู
บริษัทอสังหาจีน
เพิ่มขึ้นหลังผอนคลาย
มาตรการ Zero-COVID
สะทอนความเชื่อมั่น
นักลงทุนที่ปรับเพิ่มขึ้น
36
เศรษฐกิจจีนยังมีปจจัยกดดันจากภาคการสงออกที่มีแนวโนมชะลอตัวตามเศรษฐกิจโลกและความสามารถ
ในการระดมทุนของรัฐบาลทองถิ่นที่ลดลง ซึ่งอาจกระทบตอการใชมาตรการกระตุนทางการคลัง
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ CEIC และสํานักขาวตางประเทศ
การสงออกจีน
หน�วย : %YOY
มูลคาการออกพันธบัตรใหมของรัฐบาลทองถิ่น
หน�วย : ลานหยวน
-20
-10
0
10
20
30
Jan-22
Feb-22
Mar-22
Apr-22
May-22
Jun-22
Jul-22
Aug-22
Sep-22
Oct-22
Nov-22
Dec-22
Jan-23
Feb-23
Volume Exports (USD) Exports (RMB)
0
500,000
1,000,000
1,500,000
2,000,000
Jan-19
Apr-19
Jul-19
Oct-19
Jan-20
Apr-20
Jul-20
Oct-20
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Jan-23
General Bond Special Bond
การระดมทุน
ของรัฐบาล
ทองถิ่นชะลอตัว
ในชวงครึ่งหลัง
ของป 2022
• การสงออกจีนหดตัวตอเนื่องในชวง 2 เดือนแรกของป 2023 ตามอุปสงคโลกที่ชะลอตัวจากผลกระทบเงินเฟอสูงและนโยบายการเงินตึงตัว แมการสงออกอาจปรับดีขึ้นในชวงครึ่งหลังของป แตจะขยายตัว
ตํ่ากวาปกอน
• รัฐบาลทองถิ่นจีนเผชิญปญหาพื้นที่ทางการคลัง เนื่องจากรายไดหายไปมากในชวงล็อกดาวนและตลาดอสังหาฯ ซบเซา ขณะที่รายจายสูงตอเนื่องจากความจําเปนในการเบิกจายเม็ดเงินกระตุนเศรษฐกิจ
SCB EIC คาดวารัฐบาลกลางจีนจะเขามาใหความชวยเหลือรัฐบาลทองถิ่นและจะไมเกิดการผิดนัดชําระหนี้ในวงกวาง อยางไรก็ตาม การเบิกจายเม็ดเงินเพื่อสนับสนุนโครงการลงทุนกระตุนเศรษฐกิจตาง ๆ
อาจขยายตัวชะลอลง ซึ่งจะกระทบตอการฟนตัวของเศรษฐกิจได
37
นโยบายการเงินจีนคาดวาจะยังคงผอนคลายตอเนื่อง เพื่อสนับสนุนการฟนตัวของเศรษฐกิจและภาคอสังหาฯ
ที่ยังเปราะบาง นโยบายการคลังจีนในระยะยาวจะมุงเนนการรักษาเสถียรภาพของเศรษฐกิจ
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ CEIC, Goldman Sachs และสํานักขาวตางประเทศ
อัตราดอกเบี้ยนโยบายและอัตราดอกเบี้ยสําคัญอื่น ๆ
หน�วย : %
อัตราเงินเฟอทั่วไปและพื้นฐาน
หน�วย : %YOY
0
2
4
6
8
10
12
Jan-20
May-20
Sep-20
Jan-21
May-21
Sep-21
Jan-22
May-22
Sep-22
Jan-23
1Yr Loan Prime Rate
5Yr Loan Prime Rate
1Yr Medium-term Lending Facity
Reserve Requirement Ratio
นโยบายการเงินอยูใน
ระดับผอนคลายตอเนื่อง
-2
0
2
4
6
Jan-20
May-20
Sep-20
Jan-21
May-21
Sep-21
Jan-22
May-22
Sep-22
Jan-23
Headline Core
คาเงินหยวนตอดอลลารสหรัฐ
หน�วย : USD/CNY
6.2
6.6
7.0
7.4
Jan-20
May-20
Sep-20
Jan-21
May-21
Sep-21
Jan-22
May-22
Sep-22
Jan-23
อัตราเงินเฟอยังอยู
ตํ่ากวากรอบ 3%
แรงกดดันเงินหยวนออน
คาลดลงจากปที่แลว
• ตั้งเปาการเติบโตของเศรษฐกิจจีนในป 2023 ตํ่ากวา
คาดการณของตลาด โดยกําหนดเปาเศรษฐกิจขยายตัว
5% ขาดดุลการคลัง 3% ของ GDP และการจางงาน
ในเขตเมือง 12 ลานตําแหน�ง (เปาหมายสวนใหญตั้งไว
ใกลเคียงปกอน แมแนวโนมเศรษฐกิจปนี้ดูดีกวา
อาจสะทอนวารัฐบาลตองการเรียกความเชื่อมั่นกลับมา
หลังเศรษฐกิจจีนชะลอกวาคาดในป 2022)
• จีนประกาศแผนควบรวมองคกรกํากับดูแลตลาดการเงิน
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการกํากับดูแล และเอื้อใหรัฐบาล
มีอํานาจควบคุมตลาดการเงินมากขึ้น (China Securities
Regulatory Commission ซึ่งกํากับดูแลตลาด
หลักทรัพยและการออกตราสารหนี้จะไมถูกควบรวมดวย
และไดยกระดับเปน State agency ขึ้นกับสภารัฐ
โดยตรง)
สรุปนโยบายเศรษฐกิจจีน
จากการประชุม NPC มี.ค. 2023
เศรษฐกิจไทย
ป 2023
39
SCB EIC ปรับเพิ่มประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2023 เปน 3.9% โดยมีแรงหนุนจากภาคการทองเที่ยว
และการบริโภคเอกชน อัตราเงินเฟอทั่วไปจะกลับมาอยูในกรอบตามราคาพลังงานโลกที่ปรับลดลงและมาตรการ
อุดหนุนราคาพลังงานในประเทศที่ยังมีตอเนื่อง
คาดการณผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP)
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ
ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และ CEIC
ประมาณการเศรษฐกิจ (กรณีฐาน) หน�วย 2021 2022
2023F
ณ พ.ย. ณ มี.ค.
2022 2023
GDP %YOY 1.6 2.6 3.4 3.9
การบริโภคภาคเอกชน %YOY 0.6 6.3 3.0 3.9
การบริโภคภาครัฐ %YOY 3.7 0.0 -1.0 -1.5
การลงทุนภาคเอกชน %YOY 3.0 5.1 2.5 3.0
การลงทุนภาครัฐ %YOY 3.4 -4.9 2.4 2.2
มูลคาสงออกสินคา (USD BOP basis) %YOY 19.2 5.5 1.2 1.2
มูลคานําเขาสินคา (USD BOP basis) %YOY 27.7 15.3 3.2 0.9
จํานวนนักทองเที่ยวตางชาติ ลานคน 0.4 11.2 28.3 30.0
อัตราเงินเฟอทั่วไป %YOY 1.2 6.1 3.2 2.7
อัตราเงินเฟอพื้นฐาน %YOY 0.2 2.5 2.7 2.4
ราคานํ้ามันดิบ Brent USD/Bbl. 70.5 100.9 84.7 77.8
อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (สิ้นป) % 0.5 1.25 2.0 2.0
เงินบาทตอดอลลารสหรัฐ (สิ้นป) THB/USD 33.2 34.6 34.5-35.5 32-33
ปจจัยสนับสนุน
• การฟนตัวของเศรษฐกิจจีนเร็วและแรงกวาคาด
• เศรษฐกิจโลกที่ขยายตัวดีกวาคาด
• การฟนตัวตอเนื่องของการบริโภค
• นโยบายควบคุม/จํากัดการสงออกสินคาของประเทศคูแขง
ปจจัยเสี่ยง
• ปญหา Geopolitics รุนแรงขึ้น
กระทบ Global supply chain และการสงออก
• ปญหาวิกฤตเสถียรภาพระบบการเงินโลกที่อาจลุกลาม
• นโยบายการเงินโลกตึงตัวแรงขึ้น จากเงินเฟอโลกลดลงชา
• หนี้ครัวเรือนกลับมาเรงตัวกดดันการบริโภค
• เงินเฟอสูง กระทบคาครองชีพและตนทุนธุรกิจ
• การเลือกตั้งและการจัดตั้งรัฐบาลใหม กระทบการใชจายภาครัฐ
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf
Outlook_1Q2023_Final.pdf

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Outlook_1Q2023_Final.pdf

Outlook ไตรมาส 4/2022
Outlook ไตรมาส 4/2022Outlook ไตรมาส 4/2022
Outlook ไตรมาส 4/2022SCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023SCBEICSCB
 
EIC_Monthly_July_20220712-final.pdf
EIC_Monthly_July_20220712-final.pdfEIC_Monthly_July_20220712-final.pdf
EIC_Monthly_July_20220712-final.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023SCBEICSCB
 
Industry insight_Petchem 2022_20220705.pdf
Industry insight_Petchem 2022_20220705.pdfIndustry insight_Petchem 2022_20220705.pdf
Industry insight_Petchem 2022_20220705.pdfSCBEICSCB
 
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfOutlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfSCBEICSCB
 
Outlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdfOutlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdfSCBEICSCB
 
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfOutlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfSCBEICSCB
 
Outlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdfOutlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdfSCBEICSCB
 
TH-Outlook-2Q22.pdf
TH-Outlook-2Q22.pdfTH-Outlook-2Q22.pdf
TH-Outlook-2Q22.pdfSCBEICSCB
 
Outlook-3Q2023-Onscreen.pdf
Outlook-3Q2023-Onscreen.pdfOutlook-3Q2023-Onscreen.pdf
Outlook-3Q2023-Onscreen.pdfSCBEICSCB
 
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdfPresentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdfSCBEICSCB
 
B-Focus — 5 ประเด็นเด่นเศรษฐกิจประจำสัปดาห์ 1 มิถุนายน 2564
B-Focus — 5 ประเด็นเด่นเศรษฐกิจประจำสัปดาห์ 1 มิถุนายน 2564B-Focus — 5 ประเด็นเด่นเศรษฐกิจประจำสัปดาห์ 1 มิถุนายน 2564
B-Focus — 5 ประเด็นเด่นเศรษฐกิจประจำสัปดาห์ 1 มิถุนายน 2564Bnomics
 
การนำเสนอข้อมูล
การนำเสนอข้อมูลการนำเสนอข้อมูล
การนำเสนอข้อมูลpumyam
 
TH-Outlook-1Q22-Final.pdf
TH-Outlook-1Q22-Final.pdfTH-Outlook-1Q22-Final.pdf
TH-Outlook-1Q22-Final.pdfSCBEICSCB
 

Semelhante a Outlook_1Q2023_Final.pdf (16)

Outlook ไตรมาส 4/2022
Outlook ไตรมาส 4/2022Outlook ไตรมาส 4/2022
Outlook ไตรมาส 4/2022
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023
 
EIC_Monthly_July_20220712-final.pdf
EIC_Monthly_July_20220712-final.pdfEIC_Monthly_July_20220712-final.pdf
EIC_Monthly_July_20220712-final.pdf
 
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
 
Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023Outlook ไตรมาส 2/2023
Outlook ไตรมาส 2/2023
 
Industry insight_Petchem 2022_20220705.pdf
Industry insight_Petchem 2022_20220705.pdfIndustry insight_Petchem 2022_20220705.pdf
Industry insight_Petchem 2022_20220705.pdf
 
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfOutlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
 
Outlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdfOutlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdf
 
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfOutlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
 
Outlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdfOutlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdf
 
TH-Outlook-2Q22.pdf
TH-Outlook-2Q22.pdfTH-Outlook-2Q22.pdf
TH-Outlook-2Q22.pdf
 
Outlook-3Q2023-Onscreen.pdf
Outlook-3Q2023-Onscreen.pdfOutlook-3Q2023-Onscreen.pdf
Outlook-3Q2023-Onscreen.pdf
 
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdfPresentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
 
B-Focus — 5 ประเด็นเด่นเศรษฐกิจประจำสัปดาห์ 1 มิถุนายน 2564
B-Focus — 5 ประเด็นเด่นเศรษฐกิจประจำสัปดาห์ 1 มิถุนายน 2564B-Focus — 5 ประเด็นเด่นเศรษฐกิจประจำสัปดาห์ 1 มิถุนายน 2564
B-Focus — 5 ประเด็นเด่นเศรษฐกิจประจำสัปดาห์ 1 มิถุนายน 2564
 
การนำเสนอข้อมูล
การนำเสนอข้อมูลการนำเสนอข้อมูล
การนำเสนอข้อมูล
 
TH-Outlook-1Q22-Final.pdf
TH-Outlook-1Q22-Final.pdfTH-Outlook-1Q22-Final.pdf
TH-Outlook-1Q22-Final.pdf
 

Mais de SCBEICSCB

ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletSCBEICSCB
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfSCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfSCBEICSCB
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCBEICSCB
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...SCBEICSCB
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นSCBEICSCB
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCBEICSCB
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfSCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงSCBEICSCB
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfSCBEICSCB
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfSCBEICSCB
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCBEICSCB
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...SCBEICSCB
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCBEICSCB
 
Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023SCBEICSCB
 

Mais de SCBEICSCB (20)

ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
 
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
 
Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023
 

Outlook_1Q2023_Final.pdf

  • 1. Outlook มุมมองเศรษฐกิจป 2023 ณ ไตรมาส 1 ป 2023 Q1/2023 ในป 2023 เศรษฐกิจไทยมีแนวโนมฟนตัวตอเนื่อง 3.9% แรงขับเคลื่อนหลักมาจากภาคทองเที่ยวและภาคบริการ ชวยสนับสนุนการบริโภคและตลาดแรงงาน
  • 2. วิธีใชงาน Interactive PDF กลับสูหนาสารบัญ ไปยังเนื้อหาที่ตองการ 1 หนา แนวโนมเศรษฐกิจ ไตรมาส 1 ป 2023 Q4/2021 Q1/2023 ไปยัง Outlook เลมอื่น ๆ เขาสูเว็บไซต EIC
  • 3. หนา หนา หนา หนา หนา 4 Executive Summary 5 38 เศรษฐกิจโลก ป 2023 เศรษฐกิจไทย ป 2023 20 เศรษฐกิจสหรัฐฯ 26 เศรษฐกิจยุโรป 30 เศรษฐกิจญี่ปุน 33 เศรษฐกิจจีน เรื่องในเลม Q4/2021 Q1/2023 แนวโนม ตลาดการเงิน 79 Outlook
  • 4. 4 Executive Summary เศรษฐกิจโลกมีแนวโนมขยายตัวไดดีกวาที่เคยประเมินไว จากขอมูลเศรษฐกิจที่ออกมาดีกวาคาดและการเปดประเทศของจีน SCB EIC จึงปรับเพิ่มประมาณการการเติบโตของเศรษฐกิจโลก ในป 2023 เปน 2.3% (เดิม 1.8%) โดยมองวาความเสี่ยงจากปญหาธนาคารบางแหงในสหรัฐฯ ขาดสภาพคลองที่อาจจะลุกลามจนกลายเปนวิกฤตการเงินในสหรัฐฯ เหมือนในป 2008 ยังมีนอย แตถือเปนปจจัยเสี่ยงสําคัญที่ตองติดตามอยางใกลชิด สําหรับเงินเฟอทั่วไปมีแนวโนมขยายตัวชะลอลงในปนี้ แตเงินเฟอพื้นฐานมีแนวโนมชะลอลงในอัตราที่ชากวา ธนาคารกลางจึงมี แนวโนมปรับดอกเบี้ยสูงขึ้นและนานขึ้นกวาที่เคยคาดไว ทั้งนี้ทิศทางเศรษฐกิจประเทศหลักปรับดีขึ้น เศรษฐกิจสหรัฐฯ มีแนวโนมขยายตัวชะลอลงมากขึ้น แตคาดวาจะสามารถหลีกเลี่ยงภาวะ เศรษฐกิจถดถอยได เศรษฐกิจยูโรโซนมีแนวโนมหลีกเลี่ยงภาวะถดถอยไดเชนกัน จากความพยายามลดการพึ่งพาพลังงานจากรัสเซียที่กาวหนามาก เศรษฐกิจญี่ปุน มีแนวโนมขยายตัวชะลอลง ภาคการผลิตและการสงออกจะเติบโตชะลอตัวตามอุปสงคโลก แตยังมีแรงหนุนจากภาคทองเที่ยว คาแรงที่เพิ่มสูงกวาในอดีตจะชวยสนับสนุนการบริโภคในยามเงินเฟอเรงตัวไดบาง เศรษฐกิจจีน มีแนวโนมขยายตัวแข็งแกรงหลังยกเลิกนโยบาย Zero-COVID โดยการบริโภคภาคเอกชนเปนปจจัยขับเคลื่อนหลัก SCB EIC คาดวาอัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทยจะทยอยปรับขึ้นอยางตอเนื่องในชวงครึ่งแรกของปสูระดับ 2% เนื่องจากเศรษฐกิจไทยมีแนวโนมฟนตัวตอเนื่อง และเงินเฟอไทยจะยังไมปรับ ลดลงเร็วนัก ทั้งนี้ทิศทางอัตราดอกเบี้ยนโยบายขาขึ้น การทยอยสิ้นสุดมาตรการชวยเหลือทางการเงิน จะทําใหภาวะการเงินไทยมีแนวโนมตึงตัวตอเนื่อง เงินบาทมีแนวโนมออนคาในชวง ครึ่งแรกของปนี้ แตจะปรับแข็งคาขึ้นไปอยูที่ 32-33 บาทตอดอลลารสหรัฐ ณ สิ้นปนี้ จากปจจัยพื้นฐานเศรษฐกิจไทยที่เขมแข็งขึ้น และเงินดอลลารสหรัฐที่จะกลับมาออนคา โดยเฉพาะหลัง Fed เริ่มหยุดปรับขึ้นดอกเบี้ย ในป 2023 เศรษฐกิจไทยมีแนวโนมฟนตัวตอเนื่อง 3.9% แรงขับเคลื่อนหลักมาจากภาคทองเที่ยวและภาคบริการ ชวยสนับสนุนการบริโภคและตลาดแรงงาน นักทองเที่ยวตางชาติคาดวา จะอยูที่ 30 ลานคน โดยนักทองเที่ยวจีนจะกลับมาแตะ 4.8 ลานคนหลังจีนยกเลิกมาตรการ Zero-COVID เร็วขึ้น มูลคาการสงออกคาดวาจะยังขยายตัวได 1.2% ตามแนวโนมเศรษฐกิจโลกที่ ดีกวาคาดและอุปสงคจากจีนที่ฟนตัว การลงทุนภาคเอกชนมีแนวโนมขยายตัวตามความเชื่อมั่นภาคธุรกิจที่ปรับดีขึ้น ตลอดจนการขอรับและออกบัตรสงเสริมการลงทุนที่สูงขึ้น อัตราเงินเฟอ ทั่วไปคาดวาจะอยูที่ 2.7% กลับมาอยูในกรอบเปาหมาย ตามราคาพลังงานโลกที่ปรับลดลงและมาตรการอุดหนุนราคาพลังงานในประเทศที่มีตอเนื่อง อัตราเงินเฟอพื้นฐานคาดวาจะชะลอลง มาอยูที่ 2.4% แตยังอยูในระดับสูง สะทอนการทยอยสงผานตนทุนจากผูผลิตสูราคาผูบริโภคในชวงที่เศรษฐกิจไทยฟนตัวเขมแข็งขึ้นและแรงกดดันเงินเฟอจากดานอุปสงค
  • 6. 6 3 ปจจัยสําคัญสําหรับเศรษฐกิจโลกป 2023 เศรษฐกิจโลกในป 2023 มีแนวโนมเติบโตดีกวาคาด และ มีความเสี่ยงถดถอยนอยลง ปจจัยเสี่ยงที่ตองจับตา ไดแก ความเสี่ยง Decoupling ระหวางสหรัฐฯ และจีน ที่อาจกระทบ การฟนตัวของเศรษฐกิจ การคา และหวงโซอุปทานโลก รวมถึงปญหา Bank run ในสหรัฐฯ และสหภาพยุโรป ที่อาจกลายเปนความเสี่ยงระบบการเงินโลกได ธนาคารกลางมีแนวโนมปรับดอกเบี้ยสูงขึ้นและนานขึ้น แมอัตราเงินเฟอทั่วไปมีแนวโนมชะลอลงแลวตามราคา พลังงานที่ปรับลดลง แตอัตราเงินเฟอพื้นฐานยังมีแนวโนม ขยายตัวสูงและนานกวาคาด จากตัวเลขการจางงานที่ยัง แข็งแกรง อยางไรก็ตาม ขนาดการปรับขึ้นดอกเบี้ยจะลดลง จากปกอนมาก ภาวะการเงินโลกจะตึงตัวเพิ่มขึ้นอีกไมมากนัก การเปดประเทศของจีนที่เร็วกวาคาดวาจะสงผลกระทบตอ เศรษฐกิจโลกผาน 3 ชองทาง คือ (1) จํานวนนักทองเที่ยวจีน จะเรงตัวขึ้น (2) ปริมาณการคาโลกจะไดรับอานิสงสเพิ่มขึ้น จากการฟนตัวของอุปสงคในจีน และ (3) เงินเฟอโลกอาจ ทรงตัวอยูในระดับสูงนานขึ้น จากราคาสินคาโภคภัณฑ ที่กลับมาเรงตัวตามอุปสงคในจีน Less gloomy outlook Higher for longer The impact of China reopening
  • 7. เศรษฐกิจโลกในป 2023 มีแนวโนมขยายตัวดีกวาคาด และความเสี่ยงเขาสูภาวะถดถอยนอยลง โดยยังตองติดตามความเสี่ยงสําคัญจากการแบงขั้วทางเศรษฐกิจ ระหวางสหรัฐฯ และจีน รวมถึงปญหาขาดสภาพคลองของธนาคารบางแหงในสหรัฐฯ และสหภาพยุโรปในภาวะดอกเบี้ยขาขึ้น Less gloomy outlook
  • 8. 8 เศรษฐกิจญี่ปุน มีแนวโนมขยายตัวชะลอลงจากภาคการผลิต และการสงออก แตยังมีแรงหนุนจากภาค ทองเที่ยวและคาแรงที่ปรับเพิ่มขึ้น BOJ มีแนวโนมปรับนโยบาย YCC เพิ่มเติม หลังผูวาการใหมรับตําแหน�งในเดือน เม.ย. เศรษฐกิจยูโรโซน มีแนวโนมหลีกเลี่ยงภาวะถดถอยได จากความพยายาม ลดการพึ่งพาพลังงานจากรัสเซียที่กาวหนามาก เงินเฟอพื้นฐานขยายตัวสูงและนานกวาคาด ECB มีแนวโนมขึ้นดอกเบี้ยไปถึงเดือน มิ.ย. สูระดับสูงกวาที่คาดไวเดิม Less Gloomy, More Tightening, with Upside from China Reopening เศรษฐกิจสหรัฐฯ มีแนวโนมขยายตัวในอัตราที่ชะลอลง แตคาดวาจะสามารถ หลีกเลี่ยงภาวะเศรษฐกิจถดถอยได ทั้งนี้ ความเสี่ยงจาก ปญหาธนาคารบางแหงขาดสภาพคลองที่อาจจะลุกลาม เปนวิกฤตการเงินยังมีนอย แตเปนปจจัยเสี่ยงสําคัญที่ตอง ติดตามใกลชิด เงินเฟอยังสูงตอเนื่องและลดลงชา สงผลให Terminal rate ของ Fed fund rate มีแนวโนมสูงกวาที่เคยคาดไว เศรษฐกิจจีน มีแนวโนมขยายตัวได 5.5% โดยการบริโภค ภาคเอกชนเปนปจจัยขับเคลื่อนหลัก หลังยกเลิกนโยบาย Zero-COVID อยางไรก็ตาม ภาคสงออกมีแนวโนมขยายตัว ชะลอลงและพื้นที่การคลังของรัฐบาล ทองถิ่นเริ่มมีขอจํากัด
  • 9. 9 SCB EIC ปรับเพิ่มประมาณการเศรษฐกิจโลกป 2023 จากขอมูลเศรษฐกิจที่ดีกวาคาดและจีนเปดประเทศเร็ว โดยตองติดตามความเสี่ยงเสถียรภาพระบบการเงินโลกและ Decoupling ระหวางสหรัฐ-จีน หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ CEIC และ Bloomberg คาดการณการเติบโตของเศรษฐกิจโลก โดย SCB EIC หน�วย : %YOY ความน�าจะเปนที่จะเกิด Recession ใน 12 เดือนขางหนา หน�วย : %, ขอมูล ณ วันที่ 16 มี.ค. 2023 ดัชนี Economic Surprise Index โดย Citi Group หน�วย : ดัชนี. > 0 เลขเศรษฐกิจที่ออกมาจริงดีกวาเลขคาดการณ GDP growth (%YOY) 2021 2022 2023 Prev. latest World 5.8% 3.0% 1.8% 2.3% US 5.5% 2.1% 1.0% 1.6% Euro 5.0% 3.5% -0.1% 0.8% UK 7.5% 4.0% -1.0% -0.6% Japan 1.9% 1.4% 1.4% 1.2% China 7.8% 3.0% 4.3% 5.5% India 8.8% 7.1% 5.6% 6.0% Brazil 4.7% 1.9% 1.0% 1.2% South Korea 4.0% 2.5% 2.0% 1.6% Malaysia 3.0% 8.7% 4.0% 3.9% Global Inflation 3.7% 7.0% 4.7% 4.5% -120 -60 0 60 120 Mar-22 Jun-22 Sep-22 Dec-22 Mar-23 Global G10 US Euro zone US, 60 EU, 40 UK, 75 China, 15 0 25 50 75 100 2018 2019 2020 2021 2022 2023 US EU UK China • ขอมูลกิจกรรมทางเศรษฐกิจของโลกออกมาดีกวาคาด • เศรษฐกิจประเทศหลักมีความเสี่ยงถดถอยลดลง • จีนเปดประเทศเร็วขึ้น • เงินเฟอทั่วไปมีแนวโนมชะลอลง ตามราคาพลังงาน และอาหาร ปจจัยสนับสนุน • ปญหาการขาดสภาพคลองของบางธนาคารในสหรัฐฯ อาจลุกลามเปนความเสี่ยงใน ระบบการเงินโลก • ความเสี่ยง Decoupling ระหวางสหรัฐฯ และจีน • เงินเฟอพื้นฐานขยายตัวสูงและนานกวาคาด กดดันใหธนาคารกลางขึ้นดอกเบี้ยตออีก • การคาโลกมีแนวโนมเติบโตชะลอลง ปจจัยเสี่ยง
  • 10. 10 เศรษฐกิจโลกมีทิศทางพื้นตัว แมยังเปราะบาง โดยกิจกรรมภาคอุตสาหกรรมของโลกผานจุดตํ่าสุดแลว และมีแนวโนมฟนตัวตอเนื่องในระยะตอไป หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ หมายเหตุ : *การแรเงาสีในแตละประเทศ พิจารณาจากขอมูลทางเศรษฐกิจประกอบดวย การบริโภคภาคเอกชน ยอดคาปลีก กิจกรรมภาคอุตสาหกรรม อัตราการวางงาน จํานวนผูมีงานทํา และดัชนีราคาผูบริโภค ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ CEIC และ Moody’s ชีพจรเศรษฐกิจโลก* มีทิศทางฟนตัว หน�วย : ดัชนี, Pre-pandemic = 100, ขอมูล ณ ม.ค.-ก.พ.23 ดัชนีผูจัดการฝายจัดซื้อของโลก สะทอนวากิจกรรมเศรษฐกิจโลกผานจุดตํ่าสุดแลว หน�วย : ดัชนี >50 หมายถึงสถานการณดีขึ้น, ปรับฤดูกาล Economy Demand Side Supply Side Labor Market Prices US EU28 UK China Japan Canada South Korea India Indonesia Vietnam Brazil Mexico Indicators Mar-22 Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec Jan-23 Feb Composite PMI 52.7 51.2 51.3 53.5 50.8 49.3 49.6 49.0 48.0 48.2 49.1 52.1 Manufacturing PMI 52.9 52.3 52.3 52.2 51.1 50.3 49.8 49.4 48.8 48.7 49.1 50.0 Delivery times 38.7 35.8 38.8 42.2 42.8 44.8 45.7 46.5 47.3 47.8 49.0 50.9 Output 51.0 48.7 49.6 52.4 50.1 49.4 48.7 48.7 47.8 48.5 48.9 50.8 Backlogs of work 52.7 52.8 52.7 50.0 49.5 49.3 49.0 47.4 46.8 46.9 47.6 48.1 Future output 62.5 61.8 60.7 59.2 58.7 60.1 57.9 56.7 57.9 60.0 62.3 62.8 Service PMI 53.4 52.2 51.9 53.8 51.0 49.2 50.0 49.2 48.1 48.1 50.1 52.6 Business activity 53.4 52.2 51.9 53.8 51.0 49.2 50.0 49.2 48.1 48.1 50.0 52.6 New business 54.6 52.3 53.0 51.9 52.0 50.3 50.5 49.9 48.2 48.2 50.6 52.0 แยกวา Pre-pandemic level ดีกวา Pre-pandemic level
  • 11. 11 อุปสงคโลกมีแนวโนมขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงเล็กนอยตามทิศทางเศรษฐกิจโลก ทั้งนี้ตลาดแรงงานที่ยัง แข็งแกรงจะชวยหนุนการเติบโตของการบริโภคในระยะตอไป หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ CEIC ดัชนีผูจัดการฝายจัดซื้อภาคการผลิต หน�วย : ดัชนี >50 หมายถึงสถานการณดีขึ้น, ปรับฤดูกาล ดัชนียอดคาปลีกของ G3 หน�วย : ดัชนี, 2015 =100, ปรับฤดูกาล ดัชนีจํานวนผูมีงานทํา (Employed Persons Index) สะทอนตลาดแรงงานที่ยังแข็งแกรง หน�วย : ดัชนี, 2019 =100, ปรับฤดูกาล 49.3 48.3 40 42 44 46 48 50 52 54 56 New orders Export orders ม.ค.-22 ก.พ.-23 80 90 100 110 120 130 140 150 160 Sep-14 Jun-17 Mar-20 Dec-22 EU US Japan 85 87 89 91 93 95 97 99 101 103 105 2018 2019 2020 2021 2022 2023 Japan South Korea UK US Canada Germany Italy
  • 12. 12 ปริมาณการคาโลกมีแนวโนมเติบโตชะลอลงตามทิศทางเศรษฐกิจโลก รวมถึงผูบริโภคเปลี่ยนจากการบริโภค สินคาเปนบริการมากขึ้น แตจะมีแรงหนุนจากอุปสงคในจีนหลังเปดประเทศ หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ Moody’s QuantCube International Trade Index หน�วย : %YOY (รายวัน, ดัชนี 6 ก.ค. 2012 = 100) ขอมูลลาสุด ณ 12 ก.พ. 2023 หน�วย : ดัชนี >50 หมายถึงสถานการณดีขึ้น, ปรับฤดูกาล US Japan UK S.Korea India Brazil China • WTO คาดวา ปริมาณการคาโลกมีแนวโนม เติบโต 1.0% ในป 2023 ชะลอลงมากจาก 3.5% ในป 2022 • เครื่องชี้วัดการคาระหวางประเทศบงชี้วา การคาโลกออนแอลงตอเนื่อง ยังไมเห็น สัญญาณการฟนตัวที่ชัดเจน • การคาระหวางประเทศของจีนมีทิศทางฟนตัว แมชะลอลงบางในชวงตนปจากเทศกาลตรุษจีน ที่ภาคธุรกิจหยุดยาว QuantCube International Trade Index Manufacturing PMI (RHS)
  • 13. ธนาคารกลางมีแนวโนมปรับขึ้นดอกเบี้ยสูงขึ้นและนานขึ้นกวาที่เคยคาดไว แมอัตราเงินเฟอทั่วไปมีแนวโนมขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงในปนี้ แตอัตราเงินเฟอพื้นฐาน มีแนวโนมจะชะลอลงชากวา อยางไรก็ตาม ขนาดการปรับขึ้นดอกเบี้ยจะลดลงจากปกอนมาก ภาวะทางการเงินโลกจะมีแนวโนมตึงตัวขึ้นอีกไมมากนัก Higher for longer
  • 14. 14 แมเงินเฟอทั่วไปและเงินเฟอพื้นฐานมีแนวโนมขยายตัวชาลง แตเงินเฟอพื้นฐานยังคงอยูในระดับสูง นําโดยสหรัฐฯ ที่เงินเฟอภาคบริการยังขยายตัวตอเนื่อง ขณะที่เงินเฟอพื้นฐานในยูโรโซนและญี่ปุนยังไมผานจุดสูงสุด หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ CEIC อัตราเงินเฟอทั่วไปและเงินเฟอพื้นฐาน หน�วย : %YOY 0 2 4 6 8 10 12 Jan-19 Jan-23 US CPI Core CPI 0 2 4 6 8 10 12 Jan-19 Feb-23 Euro Area 0 2 4 6 8 10 12 Jan-19 Jan-23 UK 0 1 2 3 4 5 Jan-19 Jan-23 Japan 0 2 4 6 8 Jan-19 Feb-23 South Korea 0 5 10 Jan-19 Jan-23 Mexico 0 5 10 Jan-19 Jan-23 Indonesia
  • 15. 15 ธนาคารกลางจึงมีแนวโนมปรับขึ้นดอกเบี้ยสูงขึ้นและคงไวนานกวาที่เคยคาด แตขนาดดอกเบี้ยจะลดลงจากปกอนมาก ภาวะทางการเงินจึงตึงตัวขึ้นอีกไมมากนัก หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ หมายเหตุ : *เสนประสีเทา คือ คาดการณ ณ พ.ย. 2022 เสนประตามสีแตละธนาคารกลาง คือ คาดการณลาสุด ณ มี.ค. 23 ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ CEIC และ Bloomberg คาดการณการขึ้นดอกเบี้ยของธนาคารกลางสําคัญ* หน�วย : % ขนาดการขึ้นดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐฯ และสหภาพยุโรปคาดวาจะลดลงจากปกอน หน�วย : Basis point ดัชนีภาวะการเงินโลกตึงตัวนอยลง และมีแนวโนมตึงตัวขึ้นอีกไมมากนัก หน�วย : ดัชนี -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 Dec-21 Mar-22 Jun-22 Sep-22 Dec-22 Mar-23 FCI Global FCI US FCI UK FCI EU ภาวะการเงินโลกตึงตัวขึ้น 4.5 3.5 5.25 -0.10 -1 1 2 3 4 5 6 2019 2020 2021 2022 2023 2024 BOE Fed ECB BOJ 0 100 200 300 400 500 2022 2023 US Forecast (Mar-23) 0 100 200 300 400 500 2022 2023 EA Forecast (Nov-22) Actual
  • 16. การเปดประเทศของจีนที่เร็วกวาจะสงผลกระทบตอเศรษฐกิจโลกผาน 3 ชองทาง คือ (1) การเติบโตของผูเดินทางจากจีนมีแนวโนมขยายตัวในอัตราเรง (2) ปริมาณการคาโลกจะไดรับอานิสงสเพิ่มเติมจากการฟนตัวของอุปสงคในจีน และ (3) เงินเฟอโลกอาจทรงตัวอยูในระดับสูงนานขึ้น จากราคาสินคาโภคภัณฑที่อาจกลับมาเรงตัวตามอุปสงคในจีน The impact of China reopening
  • 17. 17 จํานวนผูเดินทางระหวางประเทศของจีนมีแนวโนมขยายตัวในอัตราเรง หลังทางการจีนยกเลิก Zero-COVID Policy โดยภูมิภาคเอเชียถือเปนจุดหมายปลายสําคัญลําดับตน ๆ หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ หมายเหตุ : RPK คือ จํานวนบรรทุกผูโดยสารของเที่ยวบินทั้งหมด คูณดวยจํานวนกิโลเมตรที่ทําการบินบนที่นั่งเหลานั้น โดยการเพิ่มขึ้นของ RPK หมายความวาผูโดยสารเดินทางโดยใชบริการของสายการบินมากขึ้น ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ CEIC และ Thai AirAsia ปริมาณการขนสงผูโดยสาร (Revenue Passenger Kilometers : RPK*) (แบงตามสายการบิน) หน�วย : ดัชนี, 2019=100 ปริมาณนักทองเที่ยวจีนเดินทางไปในแตละประเทศ หน�วย : แสนคน 0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 Air China China Eastern Airline China Southern Airline Hainan Airline 02/2023, 1.5 0.0 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 1.2 1.4 1.6 1.8 2.0 2021 2022 2023 Japan US Australia Indonesia New Zealand Philippines South Korea Thailand
  • 18. 18 ปริมาณการคาโลกจะไดรับอานิสงสเพิ่มเติมจากการฟนตัวของอุปสงคในจีน โดยเฉพาะกลุมเศรษฐกิจเกิดใหม ในเอเชีย ทั้งนี้คาดวาจะใชเวลาระยะหนึ่งกอนเห็นผลดังกลาวชัดเจนขึ้น หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ Bloomberg และ CEIC ดัชนีผูจัดการฝายจัดซื้อภาคการผลิตของจีน หน�วย : ดัชนี > 50 หมายความวาสถานการณดีขึ้น มูลคาการสงออกสินคาไปยังจีน หน�วย : % country GDP in 2021 40 42 44 46 48 50 52 54 56 58 60 2011 2015 2019 2023 Manufacturing PMI New Order New Export Order Import 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 EM Asia ex India Aus & NZ LatAm Japan EA Canada UK India US • ภาคการผลิตของจีนเริ่มเห็นการฟนตัวแลว Manufacturing PMI ของจีนใน ก.พ. สูงสุดในรอบ 10 ปที่ 52.6 • อุปสงคในจีนเริ่มมีทิศทางดีขึ้น สะทอนจากยอดคําสั่งซื้อใหม ยอดคําสั่งซื้อสินคาสงออกใหม และยอดการนําเขาของจีน ที่กลับมาขยายตัวในรอบกวาครึ่งป • กลุมเศรษฐกิจเกิดใหมในเอเชียมีแนวโนมไดรับประโยชนมากสุด จากการนําเขาสินคาของจีนที่ฟนตัว เนื่องจากสัดสวน การสงออกไปจีนสูงถึง 8% ตอ GDP • ประโยชนตอเศรษฐกิจสหรัฐฯ และ UK นอยกวา เนื่องจากสัดสวนการสงออกไปจีนตํ่ากวา 1% ของ GDP Benefits in goods trade
  • 19. 19 เงินเฟอโลกอาจทรงตัวสูงนานกวาคาด จากราคาสินคาโภคภัณฑที่กลับมาเรงตัวตามการฟนตัวของอุปสงคจีน ทั้งนี้ปญหาอุปทานคอขวดในจีนทยอยคลี่คลายจะชวยลดแรงกดดันดานราคาไดบาง หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ Bloomberg และ CEIC ดัชนีราคาสินคาโภคภัณฑ หน�วย : ดัชนี จํานวนคอนเทนเนอร (Container ship) เขา-ออกทาเรือหลัก 20 แหงของจีน หน�วย : %YOY 0 100 200 300 400 500 600 700 800 0 20 40 60 80 100 120 140 160 2018 2019 2020 2021 2022 2023 Brent Futures Price Bloomberg Commodity Index (RHS) -20 -15 -10 -5 0 5 10 15 20 25 Jan-20 May-20 Sep-20 Jan-21 May-21 Sep-21 Jan-22 May-22 Sep-22 Jan-23 Ship Arrival Ship Departure
  • 21. 21 เศรษฐกิจสหรัฐฯ มีแนวโนมเติบโตสูงกวาที่ประเมินไว และคาดวาจะสามารถหลีกเลี่ยงภาวะถดถอยไดจากแรงหนุน ของตลาดแรงงานและการบริโภค หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ หมายเหตุ : Recession zone วัดจากคาเฉลี่ยขอมูลของ Recession ในอดีต ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ Bloomberg Non-recession but the past 3 months of data is worsening. Recession zone and the past 3 months of data is still bad. Recession zone but improving. Non-recession zone and improving Consumer sentiment Employment Services Consumer spending Manufacturing Industrial Production Retail sales Business sentiment Existing home sales Housing starts Non-Recession Deep Recession Positive trend Negative trend ดัชนีชี้วัดภาวะเศรษฐกิจสหรัฐฯ (U.S. Economic indicators) • ตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐฯ สวนใหญยังแข็งแกรงจากภาคบริการ เนื่องจากตลาดแรงงาน ตึงตัวและคาจางยังสูงตอเนื่อง ชวยหนุนกําลังซื้อและการใชจายผูบริโภค • เศรษฐกิจสหรัฐฯ มีแนวโนมขยายตัวชะลอลงในชวงครึ่งปหลัง แตจะสามารถ หลีกเลี่ยงภาวะถดถอยได เนื่องจาก 1. ตลาดแรงงานยังแข็งแกรง ภาคธุรกิจมีแนวโนมลดการจางงานใหมและลด ชั่วโมงทํางานพนักงานมากกวาปลดพนักงานออก เนื่องจากมีความเสี่ยงที่จะ ไมสามารถหาแรงงานไดหากเศรษฐกิจปรับดีขึ้น สงผลใหการจางงานจะไมถูก กระทบมาก 2. การใชจายผูบริโภคขยายตัวได เนื่องจากรายไดที่แทจริงมีแนวโนมกลับเปน บวกตามเงินเฟอที่ชะลอลง ตลาดแรงงานที่ยังดี รายไดดอกเบี้ยสูงขึ้น และ เงินชวยเหลือคาครองชีพจาก Social security payments ที่เพิ่มขึ้น 3. อุปสงคสินคาเพิ่มขึ้นหลังจีนเปดประเทศ ชวยใหภาคการผลิตสหรัฐฯ กลับมาขยายตัวได โดยสหรัฐฯ มีสัดสวนการสงออกไปจีนราว 10% ของการ สงออกทั้งหมด
  • 22. 22 135,000 145,000 155,000 165,000 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023 Labor supply Labor Demand ตลาดแรงงานสหรัฐฯ ยังคงแข็งแกรง ความตองการแรงงานยังมีสูง ขณะที่กําลังแรงงานมีแนวโนมตํ่ากวาอดีต สรางแรงกดดันตอคาจางและเงินเฟอ หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ Bloomberg และ United States Department of Labor กําลังแรงงาน (Labor supply) และความตองการแรงงาน (Labor demand) หน�วย : พันคน ดัชนีอัตราคาจางแรงงาน (The Employment Cost Index : ECI) หน�วย : % Fed ตองขึ้นดอกเบี้ย เพื่อลด Labor demand ความตองการแรงงานยังสูง ตอเนื่อง ขณะที่กําลังแรงงาน ยังคงตํ่ากวา Pre-COVID 5.2 5.1 2 4 6 Q1/19 Q2/19 Q3/19 Q4/19 Q1/20 Q2/20 Q3/20 Q4/20 Q1/21 Q2/21 Q3/21 Q4/21 Q1/22 Q2/22 Q3/22 Q4/22 ECI: Service-providing industry ECI: Total Total compensation หลัง COVID-19 ที่แรงงานไดรับยัง สูงตอเนื่อง โดยเฉพาะในภาคบริการ การจางงานนอกภาคการเกษตรและอัตราการวางงาน หน�วย : พันตําแหน�ง การขยายตัวของคาจางแรงงาน หน�วย : % หน�วย : % 517 3.4 2 7 0 500 1,000 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Jan-23 Nonfarm payrolls Unemployment rate (RHS) 5.9 4.4 -1 1 3 0 2 4 6 8 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 Jan-23 Wage growth (MOM) RHS Wage growth (YOY)
  • 23. 23 เงินเฟอสหรัฐฯ สูงตอเนื่องและลดลงชา สงผลใหอัตราดอกเบี้ย (Terminal rate) มีแนวโนมสูงกวาที่เคยคาดไว โดย SCB EIC คาดวา Fed จะขึ้นดอกเบี้ยไปสูระดับ 5-5.25% และเขา Restrictive zone ในไตรมาส 2 หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ Bloomberg และ FRED มาตรวัดเงินเฟอของ Fed : ดัชนีราคาจากรายจายเพื่อการบริโภคสวนบุคคล (PCE) หน�วย : %YOY อัตราดอกเบี้ยนโยบายจะเริ่มเขาสู Restrictive zone ในไตรมาส 2 นี้ หน�วย : % 4.7 5.4 4.6 1 2 3 4 5 6 7 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Jan-23 Core PCE PCE PCE Core services ex-housing 1 6.1 0 3 6 9 12 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Jan-23 CPI Core goods CPI Core services less shelter ดัชนีราคาผูบริโภค (Consumer Price Index : CPI) แยกฝงสินคาและบริการ หน�วย : %YOY Fed ’s target = 2% เงินเฟอจากสินคาปรับลดลงมาก แตเงินเฟอบริการยังสูงตอเนื่อง ซึ่งคาดวาจะลดลงชัดเจนใน H2 • มาตรวัดเงินเฟอของ Fed ยังสูงตอเนื่องและลดลงชา โดยเฉพาะเงินเฟอภาคบริการไมรวมที่อยูอาศัย ที่ยังเรงตัวตามตลาดแรงงานและขอมูลเศรษฐกิจที่ดีกวาคาด สงผลให Fed มีแนวโนมปรับดอกเบี้ย สูงขึ้นกวาที่คาดไวเดิม • SCB EIC คาดวา Fed จะขึ้นดอกเบี้ยอีก 1 ครั้ง สู Terminal rate ที่ 5-5.25% สงผลใหดอกเบี้ย จะเริ่มเขาสู Restrictive zone (ดอกเบี้ยสูงกวาเงินเฟอ) ในไตรมาส 2 และคงระดับนี้ไปตลอดป • SCB EIC มองวา มาตรการ Fed ที่ออกมาหลังเกิดเหตุการณ SVB จะสามารถแกปญหาไดตรงจุด และจะชวยปองกันไมใหเกิด Domino effect ในระบบสถาบันการเงินของสหรัฐฯ ได โดยหาก Fed สามารถเรียกความเชื่อมั่นกลับคืนมาเปนปกติได Fed มีแนวโนมที่จะขึ้นดอกเบี้ยเพื่อควบคุมเงินเฟอ ตอไป 5 5.25 5.25 5.25 7 6.3 5.3 5.0 5.2 4.6 0 5 Mar-21 Jun-21 Sep-21 Dec-21 Mar-22 Jun-22 Sep-22 Dec-22 Mar-23 Jun-23 Sep-23 Dec-23 Fed funds rate (upper bound) PCE (%YOY) Core PCE (%YOY)
  • 24. 24 ผลกระทบของอัตราดอกเบี้ยที่สูงขึ้นมีแนวโนมสงผานไปยังระบบการเงินและเศรษฐกิจมากขึ้นในปนี้ (Lag effects) โดยการลงทุนภาคเอกชนมีแนวโนมขยายตัวชะลอลง ซึ่งจะเปนปจจัยกดดันการขยายตัวทางเศรษฐกิจ หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ Bloomberg และ Senior Loan Officer Opinion Survey on Bank Lending Practices อัตราดอกเบี้ยกูยืมระหวางธนาคาร (LIBOR) และอัตราดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ หน�วย : % ความตองการสินเชื่อประเภทตาง ๆ (Loan demand) สํารวจจากสถาบันการเงิน หน�วย : % ปริมาณเงิน (Federal Reserve Money supply M2) หน�วย : %YOY 5 4.75 0 2 4 6 2007 2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023 LIBOR USD 3M Fed funds rate -25.9 -11.1 -31.3 -70 -50 -30 -10 10 30 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023 Consumer Loans ex. Credit Card and Auto Loans Credit Card Commercial and Industrial Loans -1.7 -2 8 18 28 2007 2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023 • ในป 2022 การปรับขึ้นดอกเบี้ยอาจยังไมสงผลกระทบสูระบบเศรษฐกิจอยางเต็มที่ ธนาคาร มีแนวโนมสงผานตนทุนกูยืมระหวางธนาคารที่สูงขึ้นไปสูสินเชื่อมากขึ้นในปนี้ • การลงทุนภาคเอกชนอาจไดรับผลกระทบมากขึ้นในปนี้ สะทอนจากความตองการสินเชื่อที่เริ่ม หดตัว ทําให Loan growth มีแนวโนมขยายตัวชะลอลงตอเนื่อง • ปริมาณเงิน (M2) เริ่มหดตัว สะทอนสภาพคลองในระบบที่ตึงตัวตอเนื่อง ซึ่งอาจเปนสัญญาณ การชะลอตัวของการหมุนเวียนเงินในระบบเศรษฐกิจ M2 ลดลงสูระดับ ตํ่าสุดตั้งแต ป 1960 LIBOR แตะระดับสูงสุดที่ 5% เปนครั้งแรกนับตั้งแตป 2008
  • 25. 25 เหตุการณ Bank run ในสหรัฐฯ สงผลใหความเชื่อมั่นตอ Banking sector ปรับลดลง และสรางความผันผวน ในตลาดการเงิน ทั้งนี้ความเสี่ยงที่สถานการณจะลุกลามจนเปนวิกฤตการเงินโลกเหมือนในอดีตมีจํากัด หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ JP Morgan: Q4/2022 • SVB เผชิญกับการลดลงของเงินฝากหลัง Fed เรงขึ้นดอกเบี้ย เนื่องจากธนาคารมี โครงสรางเงินฝากกระจุกตัวในฐานลูกคา Tech sector, Venture cap-backed startups ลูกคากลุมนี้สวนใหญถอนเงินฝากอยางตอเนื่องจากสถานการณ Cash burn ประกอบกับมีลูกคารายใหญถอนเงินฝากออกจาก SVB เขนกัน • สินทรัพยกวา 50% ของ SVB ลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลระยะกลางถึงยาว ตางจากธนาคาร สวนใหญในสหรัฐฯ ที่มีสัดสวนการลงทุนดังกลาวเพียง 30% • SVB มีปญหาขาดสภาพคลองจากการที่ลูกคาถอนเงินฝากปริมาณมาก จึงตองขายพันธบัตร รัฐบาลที่ถือครองอยู โดยการที่ Fed เรงขึ้นดอกเบี้ย สงผลให Bond yield ปรับสูงขึ้น และราคาพันธบัตรฯ ปรับลดลง ทําให SVB เกิดผลขาดทุนราว 1.8 พันลานดอลลารสหรัฐ จนตองประกาศเพิ่มทุนเพื่อชดเชยสวนของทุนที่หายไปจากการขาดทุนดังกลาว • หลังตลาดรับรูขาวการเพิ่มทุนของ SVB สงผลใหเกิดความกังวลตอปญหาสภาพคลอง ทําใหเกิดการแหถอนเงินออกจาก SVB ราว 4 หมื่นลานดอลลารสหรัฐ จนทางการตองสั่งปด SVB เพื่อปองกันไมใหเกิดความเสียหายมากขึ้น • นอกจากนี้ Signature Bank ซึ่งเปนผูใหบริการในอุตสาหกรรม Cryptocurrency ถูกทางการสั่งปดเชนกัน เพื่อปองกันไมใหสถานการณ Bank run ลุกลามในภาคธนาคาร • ทางการสหรัฐฯ ออกมาใหความเชื่อมั่นวาผูฝากเงินในธนาคารที่สั่งปดไปจะไดเงินฝากคืน เต็มจํานวน ขณะที่ Fed ออก Bank Term Funding Program วงเงิน 2.5 พันลาน ดอลลารสหรัฐ เพื่อชวยธนาคารที่ขาดสภาพคลอง โดยปลอยกูไมเกิน 1 ปจากการรับซื้อ พันธบัตรรัฐบาลในราคา Par สรุปเหตุการณ Silicon Valley Bank (SVB) ถูกสั่งปดกิจการ นัยตอตลาดการเงิน • ความผันผวนในตลาดการเงินมีแนวโนมสูงขึ้นในชวงที่ความเชื่อมั่นตอ Banking sector ยังไมกลับ เปนปกติ สินทรัพยเสี่ยงมีแนวโนมถูกขายจากภาวะ Risk-off โดยเฉพาะหุนกลุมธนาคาร ขณะที่อุปสงคในสินทรัพยปลอดภัยสูงขึ้น เชน พันธบัตรรัฐบาล และทองคํา • ความเสี่ยงที่สถานการณจะลุกลามเปนวิกฤตการเงินโลกเหมือนในป 2008 มีจํากัด ปญหานี้เปนปญหาเฉพาะ (Idiosyncratic risk) ของ SVB ที่มีโครงสรางเงินฝากกระจุกตัว ใน Tech sector และเกิดการบริหารสินทรัพยและหนี้สินผิดพลาด Unrealized securities loss ที่มีตอ CET1 Capital ratio ของธนาคารในสหรัฐฯ หน�วย : % 12% 0.3% 0% 3% 6% 9% 12% JPM C SVB BAC WFC MTB CFG CMA ZION RF HBAN FITB PNC KEY TFC USB Common Equity Tier 1 Capital Ratio Adjusted for unrealized losses, aftertax
  • 26. เศรษฐกิจยูโรโซนมีแนวโนมหลีกเลี่ยงภาวะถดถอยได จากความพยายามลดการพึ่งพาพลังงานจากรัสเซียที่กาวหนามาก เงินเฟอทั่วไปมีแนวโนมเพิ่มขึ้นชาลงตอเนื่อง ขณะที่เงินเฟอพื้นฐานมีแนวโนมขยายตัวสูงและนานกวาที่คาด ECB มีแนวโนมขึ้นดอกเบี้ยไปถึงเดือน มิ.ย. สูระดับสูงกวาที่คาดไวเดิม เศรษฐกิจยุโรป
  • 27. 27 เศรษฐกิจยูโรโซนมีแนวโนมหลีกเลี่ยงภาวะถดถอยไดในปนี้ จากความกาวหนามากในการลดการพึ่งพา พลังงานจากรัสเซีย หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ ECB, European Commission และ CEIC การเติบโตของเศรษฐกิจสหภาพยุโรปและยูโรโซน หน�วย : %QOQ สัดสวนการนําเขากาซของสหภาพยุโรป หน�วย : รอยละ ดัชนีบรรยากาศทางธุรกิจ Ifo และดัชนีความเชื่อมั่นผูบริโภค ของ Euro Area หน�วย : ดัชนี, 2015 = 100, ปรับฤดูกาล สัดสวนการนําเขาอุปทานกาซของยุโรป (แบงตามแหลงที่มา) หน�วย : รอยละ, คาเฉลี่ย ม.ค. – พ.ย. 2022 0.3 0.0 0.3 0.1 -0.5 0.0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 1Q21 2Q21 3Q21 4Q21 1Q22 2Q22 3Q22 4Q22 สหภาพยุโรป (27) ยูโรโซน (19) -60 -40 -20 0 20 70 90 110 2012 2013 2015 2016 2018 2019 2021 2022 Business Climate Business Expectations Consumer confidence ปจจัยเอื้อให EU เลี่ยงภาวะถดถอยได GDP เศรษฐกิจ EU หลีกเลี่ยง Technical recession ที่คาดวาจะเกิด ในชวงครึ่งหลังของป 2022 ได โดย GDP (%QOQ) ขยายตัว เล็กนอยในสหภาพยุโรป และทรงตัวในยูโรโซน (เดิมคาดวาจะหดตัว ใน 4Q/2022) เศรษฐกิจป 2023 จึงมีจุดเริ่มตนเขมแข็งกวาที่เคย ประเมินไว Supply side EU ลดการนําเขากาซจากรัสเซียเหลือ 12.9% ในเดือน พ.ย. จาก 40% ในชวงตนป และเฉลี่ยทั้งปเหลือเพียง 24.7% ลดลง เกือบครึ่งของป 2021 (40%) โดยสหรัฐฯ เปนแหลงอุปทานใหม ที่สําคัญ Demand side ความตองการใชพลังงานในฤดูหนาวที่ผานมาตํ่ากวาคาเฉลี่ย จากสภาพอากาศที่ไมหนาวจัด สงผลใหระดับกาซคงคลังสูงกวา ปกติ ลดความจําเปนที่จะตองเรงหาพลังงานคงคลังในอนาคตได Confidence บรรยากาศทางธุรกิจและความเชื่อมั่นผูบริโภคดีขึ้นสูงสุด นับตั้งแตเกิดสงครามรัสเซีย-ยูเครน สะทอนทิศทางเศรษฐกิจ ในระยะตอไปที่ดีขึ้น
  • 28. 28 เงินเฟอทั่วไปของยูโรโซนมีแนวโนมลดลงในปนี้ ขณะที่เงินเฟอพื้นฐานจะสูงตอเนื่องและลดลงชา จากตลาดแรงงานตึงตัวและราคาในภาคบริการที่ยังเรงตัว หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ อัตราเงินเฟอของยูโรโซน (HICP) หน�วย : %YOY การคาดการณราคาในอีก 3 เดือนขางหนา หน�วย : % balance ก.พ.-20 ก.พ.-23 Headline HICP 8.5 Core 5.6 Food & Beverages Energy 13.7 ก.พ.-20 ก.พ.-23 Service price Retail trade price Industry price ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ Bloomberg, CEIC และ ECB เงินเฟอทั่วไปยูโรโซนมีแนวโนมลดลงตอเนื่อง ตามราคาพลังงานที่ปรับลดลง และคาดวาจะกลับเขาใกล กรอบ 2% ชวงปลายป 2024 เงินเฟอพื้นฐานมีแนวโนมสูงตอเนื่องและลดลงชาจากอุปสงคภาคครัวเรือนที่ยังดีตามตลาดแรงงานที่ฟนตัว แข็งแกรงเปนประวัติการณ รวมถึงแรงกดดันเงินเฟอภาคบริการตามอุปสงคภาคการทองเที่ยวที่เพิ่มขึ้น ราคาในภาคบริการคาดวาจะเรงตัวตอเนื่องและยังไมผานจุดสูงสุด ขณะที่คาดการณราคาคาปลีกและราคา สินคาภาคอุตสาหกรรม ผานจุดสูงสุดแลว แตมีแนวโนมสูงกวาคาเฉลี่ยในอดีตคอนขางมาก อัตราการวางงานและการเปลี่ยนแปลงจํานวนผูวางงานของสหภาพยุโรป (27) หน�วย : % หน�วย : พันคน ดัชนีราคากาซธรรมชาติรายวัน หน�วย : Euro/MWh, GBP/therm หน�วย : $/MMBtu 0 5 10 15 20 0 150 300 450 600 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Jan-23 Mar-23 Dutch TTF UK NBP Henry Hub (RHS) 6.1 -1,000 0 1,000 2,000 4 6 8 10 12 2001 2003 2005 2007 2009 2011 2013 2015 2017 2019 2021 2023 Change in number of unemployed persons (RHS) Unemployment Rate
  • 29. 29 ECB มีแนวโนมจะปรับขึ้นดอกเบี้ยตอเนื่องถึงเดือน มิ.ย. สูระดับ 3.5% ขณะที่ความเสี่ยงที่จะเกิดสถานการณ เชนกรณี SVB มีจํากัด หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ หมายเหตุ : *Net Stable Funding Ratio คือสัดสวนแหลงเงินทุนที่มีแนวโนมวาจะคงอยูกับธนาคารนานกวาหนึ่งป โดยคํานวณ Available Stable Funding (ASF) เปน % ของ Required Stable Funding (RSF) ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูล Goldman Sachs และ CEIC สถานะทางการเงินของธนาคารพาณิชยในยุโรปและสหราชอาณาจักร การปลอยสินเชื่อของ Monetary financial institutions (MFIs) หน�วย : %YOY Metric Requirement European Banks Euro Area Bank UK Large Cap Banks Liquidity Coverage Ratio 100% required 153% 158% 148% Net Stable Funding Ratio* 100% required 128% 130% 138% CET 1 Capital Ratio Bp above regulatory min. 406 bp 418 bp 401 bp Unrealized losses on HTM Securities Mean 29 bp 19 bp 64 bp • ECB มีแนวโนมปรับขึ้นดอกเบี้ยสูระดับ 3.5% (เดิมคาด 3.25%) โดยจะปรับขึ้น 0.25% อีก 2 ครั้ง ในเดือน พ.ค. และ มิ.ย. • ความน�าจะเปนที่ ECB จะขึ้นดอกเบี้ยสูงกวา 3.5% ยังมีนอย เนื่องจากชวงครึ่งหลังของปยูโรโซนมีแนวโนมเผชิญแรงกดดันทั้งจากเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่จะชะลอลงมาก Lag effects การขึ้นดอกเบี้ยที่ จะสงผานไประบบเศรษฐกิจมากขึ้น สะทอนจากการปลอยสินเชื่อที่ลดลงในชวงที่ผานมา รวมถึงปญหาการขาดสภาพคลองของสถานบันการเงินที่ ECB มองวาเปนปจจัยเสี่ยงสําคัญที่ตองติดตาม • ความเสี่ยงที่ยุโรปจะเกิดสถานการณแบบ SVB มีจํากัด เนื่องจาก (1) ระดับ CET1 ของธนาคารพาณิชย ในยุโรปสูงกวาเกณฑขั้นตํ่าอยางมีนัยสําคัญ (2) สภาพคลองและฐานะเงินทุนแข็งแกรงทั้งโดยรวม และรายธนาคาร (3) Unrealized losses จากหลักทรัพยที่ยังไมครบกําหนดอายุอยูในระดับตํ่า และ (4) ธนาคารในยุโรปมีเงินฝากสวนเกินสูง โดย Loan to Deposit Ratio อยูที่ 88% สูงกวาสหรัฐฯ ที่ 67% -5.0 -2.5 0.0 2.5 5.0 7.5 10.0 2011 2013 2015 2017 2019 2021 2023 Households Non Financial Sector ECB tightening cycle
  • 30. เศรษฐกิจญี่ปุนมีแนวโนมขยายตัวชะลอลง ภาคการผลิตและการสงออกจะเติบโตชะลอตัวตามอุปสงคโลก แตยังมีแรงหนุนจากภาคทองเที่ยว คาแรงที่เพิ่มสูงกวาในอดีตจะชวยสนับสนุนการบริโภคในยามเงินเฟอเรงตัวไดบาง คาดวา BOJ จะปรับนโยบาย YCC เพิ่มเติมหลังผูวาการใหมรับตําแหน�งในเดือน เม.ย. เศรษฐกิจญี่ปุน
  • 31. 31 เศรษฐกิจญี่ปุนมีแนวโนมขยายตัวชะลอลง ภาคการผลิตและสงออกจะเติบโตชะลอลงตามอุปสงคโลก แต เศรษฐกิจยังพอมีแรงหนุนจากภาคทองเที่ยว และคาแรงที่เพิ่มขึ้นชวยสนับสนุนการบริโภคในภาวะเงินเฟอเรงตัว หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ CEIC และ BOJ Tankan ดัชนีผูจัดการฝายจัดซื้อของญี่ปุนเริ่มฟนตัวในภาคบริการ หน�วย : ดัชนี >50 หมายถึงสถานการณดีขึ้น, ปรับฤดูกาล การสงออกของญี่ปุนยังชะลอตัว หน�วย : % YOY การเติบโตของคาแรงและอัตราการวางงานของญี่ปุนปรับดีขึ้น หน�วย : % อัตราเงินเฟอของญี่ปุนเรงตัว หน�วย : %YOY หน�วย : %YOY 30 40 50 60 Mar-20 Aug-20 Jan-21 Jun-21 Nov-21 Apr-22 Sep-22 Feb-23 Composite Service Manufacturing -40 -20 0 20 40 Jun-20 Dec-20 Jun-21 Dec-21 Jun-22 Dec-22 Exports Exports: Services Exports: Goods ภาคบริการเริ่มฟนตัวแลว ภาคการผลิตหดตัวตอเนื่อง 4.1 2.5 2.0 4.0 6.0 -7.5 -5.0 -2.5 0.0 2.5 5.0 7.5 1990 1998 2006 2014 2022 Avg Monthly Cash Earnings (RHS) Unemployment Rate: sa -3 -1 2 4 2013 2015 2017 2019 2021 2023 Headline CPI Core CPI Tokyo CPI Tokyo Core CPI
  • 32. 32 BOJ มีแนวโนมดําเนินนโยบายการเงินผอนคลายนอยลงในปนี้ โดยคาดวาจะเริ่มจากการปรับเงื่อนไข YCC เพิ่มเติม หลังผูวาการคนใหมขึ้นดํารงตําแหน�ง (เม.ย.) ขณะที่จะยังคงนโยบายดอกเบี้ยติดลบอยางนอย 2-3 ป หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ หมายเหตุ : *หมายถึง BOJ ใหตลาดกูยืม JGB อีกครั้งเพื่อใหตลาดยังมีอุปทานอยู ขณะที่ผูขายกูยืมและขายคืนในตลาด โดยมีเพียง BOJ ที่จะซื้อกลับคืนอีกครั้ง ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ BOJ Tankan และ Financial Times แบบสํารวจการทํางานของตลาดตราสารหนี้ โดย BOJ (Bond Market Survey) : Question = ระดับการทํางานของตลาดตราสารหนี้จากมุมมองของบริษัท หน�วย : % point (high – low) The degree of bond market functioning Aug-19 Nov-19 Feb-20 May-20 Aug-20 Nov-20 Feb-21 May-21 Aug-21 Nov-21 Feb-22 May-22 Aug-22 Nov-22 Feb-23 Diffusion Index: %points -38 -32 -27 -45 -27 -25 -24 -27 -27 -25 -21 -27 -40 -51 -64 percentage High 1 1 1 0 4 4 4 3 3 1 4 3 1 1 0 Not Very High 60 66 70 55 64 67 68 67 67 72 71 67 58 46 36 Low 39 33 28 45 31 29 28 30 30 26 25 30 41 52 64 การถือพันธบัตรรัฐบาลระยะ 10 ปของ BOJ (10y-JGB) หน�วย : % ของการออก 10y-JGB ทั้งหมดในแตละไตรมาส 0 20 40 60 80 100 120 140 4Q2021 1Q2022 2Q2022 3Q2022 4Q2022 1Q2023 • การทํางานของตลาดตราสารหนี้ญี่ปุนปรับแยลงแตะระดับตํ่าสุดหลัง BOJ ขยายกรอบ YCC เมื่อ ธ.ค. โดย BOJ ซื้อคืน 10y-JGB จํานวนมากและถือไวเกิน 100% แลว* ทําใหสภาพคลองในตลาดลดลงและบิดเบือนอัตราผลตอบแทนพันธบัตร • แมนโยบายการเงินผอนคลายยังเหมาะสมตอการฟนตัวของเศรษฐกิจ แต BOJ จําเปนตองดําเนินนโยบายกลับสูระดับปกติ มากขึ้น เพื่อสนับสนุนการทํางานของตลาดตราสารหนี้ใหมีประสิทธิภาพ • BOJ มีแนวโนมปรับเงื่อนไข YCC หลังผูวาการคนใหมขึ้นรับตําแหน�ง (เม.ย.) โดยควบคุมอัตราผลตอบแทนระยะสั้นขึ้น (เชน 2-5 ป) แตจะยังคงดอกเบี้ยนโยบายติดลบอยางนอย 2-3 ป ใหแน�ใจวาตนทุนการกูยืมระยะสั้นถึงปานกลาง (ซึ่งสําคัญกวาสําหรับภาคเศรษฐกิจจริง) ยังอยูในระดับตํ่าเพื่อสนับสนุนการฟนตัวของเศรษฐกิจ • โอกาสขยายกรอบ YCC เพิ่มอีกมีไมมาก เนื่องจากการขยายกรอบครั้งใหมจะตองใหญมากพอจะนํากลไกตลาดได ซึ่งการขยายกรอบมากไปจะขัดหลักการ BOJ ในการควบคุมอัตราผลตอบแทนใหตํ่าเพื่อสนับสนุนการฟนตัวของเศรษฐกิจ
  • 33. เศรษฐกิจจีนมีแนวโนมขยายตัวได 5.5% โดยการบริโภคภาคเอกชนเปนปจจัยขับเคลื่อนหลักหลังยกเลิกนโยบาย Zero-COVID ภาคอสังหาฯ มีแนวโนมฟนตัวคอยเปนคอยไป อยางไรก็ตาม ปจจัยกดดันเศรษฐกิจที่ตองจับตา ไดแก ภาคการสงออกที่มีแนวโนมขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงและพื้นที่การคลังของรัฐบาลทองถิ่นที่เริ่มมีจํากัด เศรษฐกิจจีน
  • 34. 34 SCB EIC ปรับเพิ่มประมาณการเศรษฐกิจจีนเปน 5.5% ในป 2023 ตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่แข็งแกรงขึ้น หลังยกเลิกนโยบาย Zero-COVID โดยการบริโภคภาคเอกชนเปนปจจัยขับเคลื่อนหลัก หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ CEIC, S&P Global และ The People’s Bank of China ดัชนี Caixin PMI หน�วย : ดัชนี (>50 หมายถึงการขยายตัว) มูลคาเงินออม (Savings) หน�วย : พันลานหยวน 150,000 170,000 190,000 210,000 230,000 250,000 270,000 Jan-18 Jun-18 Nov-18 Apr-19 Sep-19 Feb-20 Jul-20 Dec-20 May-21 Oct-21 Mar-22 Aug-22 Jan-23 Actual Previous trend 47.0 49.4 46.7 48.3 49.0 48.0 51.1 49.2 52.9 54.2 51.6 55.0 0 10 20 30 40 50 60 Composite Manufacturing Services Nov-22 Dec-22 Jan-23 Feb-23 เงินออมสวนเกิน (Excess saving) ประมาณ 30 ลาน ลานหยวน เปนหนึ่ง ปจจัยชวยกระตุน การใชจายในปนี้ได • ดัชนี PMI ในเดือน ก.พ. สะทอนการขยายตัวของเศรษฐกิจจีนที่แข็งแกรงขึ้น ทั้งภาคการผลิตและบริการ ตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ทยอยกลับมาเปนปกติหลังยกเลิกมาตรการ Zero-COVID ผลสํารวจ เผยวา ธุรกิจภาคการผลิตและบริการมีคําสั่งซื้อเพิ่มขึ้น สงผลใหธุรกิจจางงานเพิ่ม ซึ่งเปนปจจัยบวกตอตลาดแรงงาน นอกจากนี้ ธุรกิจมีความเชื่อมั่นสูงในอีก 1 ปขางหนา • การบริโภคภาคเอกชนจะเปนปจจัยหลักชวยสนับสนุนเศรษฐกิจจีนในปนี้ ตาม Pent-up demand และฐานตํ่าในปกอน ตลาดแรงงานจีนที่มีแนวโนมปรับดีขึ้นจะเปนปจจัยสนับสนุนรายไดและการใชจาย ผูบริโภค รวมถึงเงินออมที่สูงขึ้นในชวงล็อกดาวน และตลาดอสังหาฯ ที่ทยอยฟนตัวจะชวยสนับสนุนความเชื่อมั่นผูบริโภค
  • 35. 35 ภาคอสังหาฯ มีแนวโนมฟนตัวจากฐานตํ่า จะเปนอีกปจจัยสนับสนุนเศรษฐกิจจีนในปนี้ ตามความเชื่อมั่น ของผูซื้อบานที่ฟนตัวและนโยบายสนับสนุนจากภาครัฐ อยางไรก็ดี การฟนตัวจะคอยเปนคอยไปและใชเวลา หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ หมายเหตุ : *CRIC China Real Estate Bond Leadership Index ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ Bloomberg และ China Real Estate Information Corp ยอดขายและราคาขายเฉลี่ยของบริษัทอสังหาฯ จีนชั้นนํา หน�วย : %YOY ดัชนีราคาหุนกูสกุลเงิน USD ของบริษัทอสังหาฯ จีนชั้นนํา* หน�วย : ดัชนี -60 -40 -20 0 20 40 60 80 Mar-20 Jul-20 Nov-20 Mar-21 Jul-21 Nov-21 Mar-22 Jul-22 Nov-22 Property Sales Property Price 40 50 60 70 80 90 100 110 120 130 Jan-19 Jul-19 Jan-20 Jul-20 Jan-21 Jul-21 Jan-22 Jul-22 Jan-23 • ภาคอสังหาฯ จีนมีแนวโนมฟนตัวคอยเปนคอยไป 1. ความเชื่อมั่นผูซื้อบานทยอยเพิ่มขึ้น รายไดฟนตัว และการเดินทางเยี่ยมชมโครงการอสังหาฯ สะดวกขึ้น 2. รัฐบาลจีนผอนคลายขอจํากัดการกอหนี้ของบริษัท อสังหาในชวงปลายป 2022 สงผลใหการระดมทุน โครงการงายขึ้น 3. การฟนตัวจะใชเวลากอนกลับเขาใกลระดับในป 2021 แตจะไมกลับไปรอนแรงอีกครั้ง เนื่องจาก รัฐบาลตองการลดการเก็งกําไรในตลาดนี้ลง • การฟนตัวของภาคอสังหาฯ จะมีผลบวกอยางมากตอหลาย ภาคสวนของเศรษฐกิจจีน อสังหาฯ เปนแหลงสะสมความมั่งคั่ง หลักของชาวจีน ขณะที่ยอดขายที่ดินเปนรายไดหลักของ รัฐบาลทองถิ่นและสถาบันการเงินปลอยกูในภาคอสังหาฯ สูง มุมมองภาคอสังหาฯ จีนป 2023 ยอดขายอสังหาฯ จีนหดตัวสูง ในอัตราชะลอลงตอเนื่อง SCB EIC มองวาตลาดอสังหา จะฟนตัวไดในครึ่งหลังของป สวนหนึ่งจากปจจัยฐานตํ่า ดัชนีราคาหุนกู บริษัทอสังหาจีน เพิ่มขึ้นหลังผอนคลาย มาตรการ Zero-COVID สะทอนความเชื่อมั่น นักลงทุนที่ปรับเพิ่มขึ้น
  • 36. 36 เศรษฐกิจจีนยังมีปจจัยกดดันจากภาคการสงออกที่มีแนวโนมชะลอตัวตามเศรษฐกิจโลกและความสามารถ ในการระดมทุนของรัฐบาลทองถิ่นที่ลดลง ซึ่งอาจกระทบตอการใชมาตรการกระตุนทางการคลัง หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ CEIC และสํานักขาวตางประเทศ การสงออกจีน หน�วย : %YOY มูลคาการออกพันธบัตรใหมของรัฐบาลทองถิ่น หน�วย : ลานหยวน -20 -10 0 10 20 30 Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22 Dec-22 Jan-23 Feb-23 Volume Exports (USD) Exports (RMB) 0 500,000 1,000,000 1,500,000 2,000,000 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 Jan-23 General Bond Special Bond การระดมทุน ของรัฐบาล ทองถิ่นชะลอตัว ในชวงครึ่งหลัง ของป 2022 • การสงออกจีนหดตัวตอเนื่องในชวง 2 เดือนแรกของป 2023 ตามอุปสงคโลกที่ชะลอตัวจากผลกระทบเงินเฟอสูงและนโยบายการเงินตึงตัว แมการสงออกอาจปรับดีขึ้นในชวงครึ่งหลังของป แตจะขยายตัว ตํ่ากวาปกอน • รัฐบาลทองถิ่นจีนเผชิญปญหาพื้นที่ทางการคลัง เนื่องจากรายไดหายไปมากในชวงล็อกดาวนและตลาดอสังหาฯ ซบเซา ขณะที่รายจายสูงตอเนื่องจากความจําเปนในการเบิกจายเม็ดเงินกระตุนเศรษฐกิจ SCB EIC คาดวารัฐบาลกลางจีนจะเขามาใหความชวยเหลือรัฐบาลทองถิ่นและจะไมเกิดการผิดนัดชําระหนี้ในวงกวาง อยางไรก็ตาม การเบิกจายเม็ดเงินเพื่อสนับสนุนโครงการลงทุนกระตุนเศรษฐกิจตาง ๆ อาจขยายตัวชะลอลง ซึ่งจะกระทบตอการฟนตัวของเศรษฐกิจได
  • 37. 37 นโยบายการเงินจีนคาดวาจะยังคงผอนคลายตอเนื่อง เพื่อสนับสนุนการฟนตัวของเศรษฐกิจและภาคอสังหาฯ ที่ยังเปราะบาง นโยบายการคลังจีนในระยะยาวจะมุงเนนการรักษาเสถียรภาพของเศรษฐกิจ หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของ CEIC, Goldman Sachs และสํานักขาวตางประเทศ อัตราดอกเบี้ยนโยบายและอัตราดอกเบี้ยสําคัญอื่น ๆ หน�วย : % อัตราเงินเฟอทั่วไปและพื้นฐาน หน�วย : %YOY 0 2 4 6 8 10 12 Jan-20 May-20 Sep-20 Jan-21 May-21 Sep-21 Jan-22 May-22 Sep-22 Jan-23 1Yr Loan Prime Rate 5Yr Loan Prime Rate 1Yr Medium-term Lending Facity Reserve Requirement Ratio นโยบายการเงินอยูใน ระดับผอนคลายตอเนื่อง -2 0 2 4 6 Jan-20 May-20 Sep-20 Jan-21 May-21 Sep-21 Jan-22 May-22 Sep-22 Jan-23 Headline Core คาเงินหยวนตอดอลลารสหรัฐ หน�วย : USD/CNY 6.2 6.6 7.0 7.4 Jan-20 May-20 Sep-20 Jan-21 May-21 Sep-21 Jan-22 May-22 Sep-22 Jan-23 อัตราเงินเฟอยังอยู ตํ่ากวากรอบ 3% แรงกดดันเงินหยวนออน คาลดลงจากปที่แลว • ตั้งเปาการเติบโตของเศรษฐกิจจีนในป 2023 ตํ่ากวา คาดการณของตลาด โดยกําหนดเปาเศรษฐกิจขยายตัว 5% ขาดดุลการคลัง 3% ของ GDP และการจางงาน ในเขตเมือง 12 ลานตําแหน�ง (เปาหมายสวนใหญตั้งไว ใกลเคียงปกอน แมแนวโนมเศรษฐกิจปนี้ดูดีกวา อาจสะทอนวารัฐบาลตองการเรียกความเชื่อมั่นกลับมา หลังเศรษฐกิจจีนชะลอกวาคาดในป 2022) • จีนประกาศแผนควบรวมองคกรกํากับดูแลตลาดการเงิน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการกํากับดูแล และเอื้อใหรัฐบาล มีอํานาจควบคุมตลาดการเงินมากขึ้น (China Securities Regulatory Commission ซึ่งกํากับดูแลตลาด หลักทรัพยและการออกตราสารหนี้จะไมถูกควบรวมดวย และไดยกระดับเปน State agency ขึ้นกับสภารัฐ โดยตรง) สรุปนโยบายเศรษฐกิจจีน จากการประชุม NPC มี.ค. 2023
  • 39. 39 SCB EIC ปรับเพิ่มประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2023 เปน 3.9% โดยมีแรงหนุนจากภาคการทองเที่ยว และการบริโภคเอกชน อัตราเงินเฟอทั่วไปจะกลับมาอยูในกรอบตามราคาพลังงานโลกที่ปรับลดลงและมาตรการ อุดหนุนราคาพลังงานในประเทศที่ยังมีตอเนื่อง คาดการณผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะหโดย EIC จากขอมูลของ ที่มา : การวิเคราะหโดย SCB EIC จากขอมูลของสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และ CEIC ประมาณการเศรษฐกิจ (กรณีฐาน) หน�วย 2021 2022 2023F ณ พ.ย. ณ มี.ค. 2022 2023 GDP %YOY 1.6 2.6 3.4 3.9 การบริโภคภาคเอกชน %YOY 0.6 6.3 3.0 3.9 การบริโภคภาครัฐ %YOY 3.7 0.0 -1.0 -1.5 การลงทุนภาคเอกชน %YOY 3.0 5.1 2.5 3.0 การลงทุนภาครัฐ %YOY 3.4 -4.9 2.4 2.2 มูลคาสงออกสินคา (USD BOP basis) %YOY 19.2 5.5 1.2 1.2 มูลคานําเขาสินคา (USD BOP basis) %YOY 27.7 15.3 3.2 0.9 จํานวนนักทองเที่ยวตางชาติ ลานคน 0.4 11.2 28.3 30.0 อัตราเงินเฟอทั่วไป %YOY 1.2 6.1 3.2 2.7 อัตราเงินเฟอพื้นฐาน %YOY 0.2 2.5 2.7 2.4 ราคานํ้ามันดิบ Brent USD/Bbl. 70.5 100.9 84.7 77.8 อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (สิ้นป) % 0.5 1.25 2.0 2.0 เงินบาทตอดอลลารสหรัฐ (สิ้นป) THB/USD 33.2 34.6 34.5-35.5 32-33 ปจจัยสนับสนุน • การฟนตัวของเศรษฐกิจจีนเร็วและแรงกวาคาด • เศรษฐกิจโลกที่ขยายตัวดีกวาคาด • การฟนตัวตอเนื่องของการบริโภค • นโยบายควบคุม/จํากัดการสงออกสินคาของประเทศคูแขง ปจจัยเสี่ยง • ปญหา Geopolitics รุนแรงขึ้น กระทบ Global supply chain และการสงออก • ปญหาวิกฤตเสถียรภาพระบบการเงินโลกที่อาจลุกลาม • นโยบายการเงินโลกตึงตัวแรงขึ้น จากเงินเฟอโลกลดลงชา • หนี้ครัวเรือนกลับมาเรงตัวกดดันการบริโภค • เงินเฟอสูง กระทบคาครองชีพและตนทุนธุรกิจ • การเลือกตั้งและการจัดตั้งรัฐบาลใหม กระทบการใชจายภาครัฐ