SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
ผ่าปัญหาหนี้ครัวเรือน
โจทย์ข้อใหญ่ที่ต้องแก้ไข
อย่างจริงจัง
SCB EIC Consumer survey 2023
รายได้ไม่พอรายจ่าย ความเปราะบางที่หลงเหลือจากวิกฤติโควิด
หนี้ครัวเรือนและหนี้นอกระบบ ความเสี่ยงสาคัญของครัวเรือนไทย
เรื่อง หน้า
บทสรุปผู้บริหาร 3
1. รายได้ไม่พอรายจ่ายความเปราะบางที่หลงเหลือจากวิกฤติโควิด 6
Content
2. หนี้ครัวเรือนและหนี้นอกระบบความเสี่ยงสาคัญของครัวเรือนไทย 11
3. ทักษะทางการเงินกับการเป็นหนี้ของครัวเรือนไทย 20
นัยต่อภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคครัวเรือน 27
3
Executive summary
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. - 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย
รายได้ไม่พอรายจ่าย ความเปราะบางที่หลงเหลือจากวิกฤติโควิด ผู้บริโภคส่วนใหญ่มีมุมมองต่อการฟื้นตัวของรายได้ที่ดีขึ้นในระยะข้างหน้า ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ
แต่การฟื้นตัวของรายได้จะเป็นไปอย่างช้า ๆ และยังไม่กลับไปเท่าระดับก่อนวิกฤติโควิดในระยะเวลาอันใกล้ อีกทั้ง ยังต้องเผชิญรายจ่ายที่เพิ่มขึ้น ทาให้ปัญหารายได้โตไม่ทัน
รายจ่ายและปัญหาการออมจะยังมีอยู่ท่ามกลางเงินเฟ้อสูงและดอกเบี้ยสูง โดยเฉพาะกลุ่มผู้มีรายได้น้อย ส่งผลให้หนี้ครัวเรือนจะมีแนวโน้มลดลงไม่เร็วนัก
หนี้ครัวเรือนและหนี้นอกระบบ ความเสี่ยงสาคัญของครัวเรือนไทย ก่อนเกิดวิกฤติโควิดสัดส่วนผู้ตอบแบบสอบถามที่เป็นหนี้มีมากถึง 63% ซึ่ง 31% เป็นหนี้นอกระบบ สัดส่วนนี้
มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตั้งแต่เกิดวิกฤติโควิด และกลุ่มนี้มีแนวโน้มกู้ยืมเพิ่มขึ้นในอนาคต โดยเฉพาะลูกหนี้นอกระบบที่ต้องการกู้เงินเพิ่มขึ้นจากทั้งแหล่งในและนอกระบบ ขณะที่ลูกหนี้
ในระบบมีแนวโน้มเข้าสู่วงจรหนี้นอกระบบมากขึ้น นอกจากนี้ วัตถุประสงค์การกู้เงินตั้งแต่เกิดวิกฤติโควิดส่วนใหญ่เพื่อใช้จ่ายค่าอาหารและสินค้าจาเป็น แต่ในระยะ 6 เดือน
ข้างหน้า ผู้มีหนี้ส่วนใหญ่มีแนวโน้มจะกู้ยืมเพื่อชาระหนี้เดิม สะท้อนความเปราะบางด้านภาระหนี้ของครัวเรือนที่อาจรุนแรงขึ้น กดดันการนาเงินออมออกมาใช้จ่ายเพื่อการบริโภค
ในระยะข้างหน้า
ทักษะทางการเงินกับการเป็นหนี้ของครัวเรือน SCB EIC คานวณคะแนนทักษะทางการเงินจาก 3 องค์ประกอบ คือ ความรู้ทางการเงิน พฤติกรรมทางการเงิน และทัศนคติ
ทางการเงิน พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีคะแนนทัศนคติทางการเงินไม่ดีนัก โดยเฉพาะกลุ่มคนที่มีหนี้นอกระบบ ซึ่งส่วนมากมีความรู้ทางการเงินที่ดี แต่อาจมีความ
จาเป็นฉุกเฉิน พฤติกรรมหรือทัศนคติทางการเงินจึงสะท้อนออกมาไม่ค่อยดีนัก (เช่น ใช้เงินโดยไม่คิด ไม่วางแผนการเงิน) ทาให้จาเป็นต้องกู้ยืมหนี้นอกระบบ นอกจากนี้ยัง
พบว่า คนมีหนี้นอกระบบมีคะแนนทักษะทางการเงิน คะแนนความเข้าใจเกี่ยวกับหนี้นอกระบบ และระดับรายได้โดยเฉลี่ยต่ากว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
นัยต่อภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคครัวเรือน โดยภาครัฐจาเป็นต้องให้ความช่วยเหลือเชิงนโยบายและให้ความรู้ทักษะทางการเงินทุกมิติอย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะทัศนคติทาง
การเงินและความเข้าใจหนี้นอกระบบ รวมถึงหยุดวงจรหนี้นอกระบบอย่างค่อยเป็นค่อยไป เนื่องจากมีประชาชนจานวนมากที่พึ่งพิงหนี้นอกระบบอยู่ ภาคธุรกิจจาเป็นต้อง
ติดตามกฎระเบียบและนโยบายแก้หนี้ครัวเรือนของภาครัฐอย่างใกล้ชิด เนื่องจากภาครัฐมีแนวโน้มจะเข้ามาแก้ปัญหานี้อย่างจริงจังมากขึ้น อีกทั้งควรเตรียมความพร้อมไว้หาก
ปัญหาหนี้ครัวเรือนรุนแรงขึ้น ภาคครัวเรือนควรผ่อนชาระหนี้ให้มากกว่าการจ่ายขั้นต่า ปลูกฝังวินัยการออมเพื่อรองรับวิกฤติที่อาจเกิดขึ้นได้อีก และปรับทักษะให้สอดคล้องกับ
โลกหลังวิกฤติโควิดเพื่อเพิ่มความมั่นคงของกระแสรายได้
4
ข้อมูลสถิติที่สาคัญจากการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ของ SCB EIC
ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. ถึง 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย
3.8%
32.1%
63.9%
0.1%
LGBTQIA+
ชาย
หญิง
ไม่ระบุ
0.5%
5.8%
12.4%
33.5%
31.5%
13.6%
2.6%
0.2%
ต่ากว่า 20 ปี
20 - 25 ปี
26 - 30 ปี
31 - 40 ปี
41 - 50 ปี
51 - 60 ปี
61 - 70 ปี
มากกว่า 70 ปี
44.0%
35.4%
7.7%
7.0%
2.9%
2.9%
โสด
สมรส มีบุตร
สมรส ไม่มีบุตร
หย่าร้าง
หม้าย
อื่นๆ
46.8%
11.6%
10.9%
10.8%
5.5%
3.6%
2.0%
1.9%
1.8%
1.7%
1.7%
0.6%
0.6%
0.5%
0.1%
ลูกจ้างหรือพนักงานบริษัทเอกชน
เจ้าของกิจการไม่มีลูกจ้าง เช่น ร้านค้า
ลูกจ้างหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ/ภาครัฐ
งานอิสระ/ฟรีแลนซ์/รับจ้างทั่วไป
อื่นๆ
เจ้าของกิจการที่มีลูกจ้าง เช่น โรงงาน…
ค้าขายแบบหาบเห่ แผงลอย
ลูกจ้างชั่วคราว
พ่อบ้าน/แม่บ้าน
เกษียณ (มีรายได้)
ว่างงาน/ไม่มีรายได้
นักเรียน/นักศึกษา
เกษียณ (ไม่มีรายได้)
ไรเดอร์ของ Application (ส่งคน ส่งของ…
ขับ Taxi มอเตอร์ไซด์รับจ้าง
12.9%
19.5%
21.8%
37.2%
7.6%
1.0%
ต่ากว่ามัธยมปลาย
ปวช./ปวส.
มัธยมปลาย
ปริญญาตรี
สูงกว่าปริญญาตรี
อื่น ๆ
0
5.5%
14.4%
20.4%
23.9%
17.5%
18.3%
3.7%
22.3%
42.9%
18.6%
7.8%
2.8%
1.9%
ไม่มี
1 คน
2 คน
3 คน
4 คน
5 คน
มากกว่า 5 คน
จานวนสมาชิกในครัวเรือน จานวนสมาชิกที่มีรายได้ประจา
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. ถึง 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย
เพศ
ช่วงอายุ
สถานภาพ
อาชีพ
จานวนสมาชิกในครัวเรือนทั้งหมด
ระดับการศึกษาสูงสุด
5
ข้อมูลสถิติที่สาคัญจากการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ของ SCB EIC
ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. ถึง 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. ถึง 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย
ในปัจจุบัน แต่ละเดือนท่านสามารถเก็บออมเงินได้หรือไม่
หน่วย : % ผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด
รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของคุณและต่อครัวเรือน ณ ปัจจุบัน
หน่วย : % ผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด
1.2%
1.8%
9.1%
25.5%
34.4%
16.8%
7.7%
2.2%
1.3%
1.0%
9.1%
7.7%
24.6%
25.7%
4.9%
21.1%
4.4%
1.6%
ไม่มีรายได้
ไม่เกิน 5,000
5,001-10,000
10,001-15,000
15,001-30,000
30,001-50,000
50,001-100,000
100,001-200,000
มากกว่า 200,000
รายได้ต่อเดือนของตัวเอง รายได้ต่อเดือนของครัวเรือน
38%
16%
46%
ไม่สามารถเก็บออมเงินรายเดือนได้ สามารถเก็บออมได้ทุกเดือน สามารถเก็บออมได้บ้างบางเดือน
1. รายได้ไม่พอรายจ่าย
ความเปราะบางที่หลงเหลือจากวิกฤติโควิด
7
ผู้บริโภคส่วนใหญ่มีมุมมองการฟื้นตัวของรายได้ที่ดีขึ้นในระยะข้างหน้าตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. ถึง 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย
รายได้ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา เทียบกับ 6 เดือนก่อนหน้า
หน่วย : % แต่ละกลุ่มรายได้
คาดว่ารายได้ในช่วง 6 เดือนข้างหน้า จะเปลี่ยนแปลงอย่างไรเทียบกับปัจจุบัน
หน่วย : % แต่ละกลุ่มรายได้
0% 20% 40% 60% 80% 100%
ไม่เกิน 5,000 บาท/เดือน
5,001-10,000 บาท/เดือน
10,001-15,000 บาท/เดือน
15,001-30,000 บาท/เดือน
30,001-50,000 บาท/เดือน
50,001-100,000 บาท/เดือน
100,001-200,000 บาท/เดือน
มากกว่า 200,000 บาท/เดือน
Total
เพิ่มขึ้นมากกว่า 10% เพิ่มขึ้นในช่วง 6-10% เพิ่มขึ้นในช่วงต่ากว่า 6% เท่าเดิม
ลดลงในช่วงต่ากว่า 6% ลดลงในช่วง 6-10% ลดลงมากกว่า 10%
0% 20% 40% 60% 80% 100%
ไม่เกิน 5,000 บาท/เดือน
5,001-10,000 บาท/เดือน
10,001-15,000 บาท/เดือน
15,001-30,000 บาท/เดือน
30,001-50,000 บาท/เดือน
50,001-100,000 บาท/เดือน
100,001-200,000 บาท/เดือน
มากกว่า 200,000 บาท/เดือน
Total
เพิ่มขึ้นมากกว่า 10% เพิ่มขึ้นในช่วง 6-10% เพิ่มขึ้นในช่วงต่ากว่า 6% เท่าเดิม
ลดลงในช่วงต่ากว่า 6% ลดลงในช่วง 6-10% ลดลงมากกว่า 10%
8
ผู้มีรายได้น้อยมองรายได้ฟื้นช้าและอาจไม่กลับไปเท่ากับก่อนเกิดวิกฤติโควิด-19 ทั้งยังต้องเผชิญรายจ่ายที่เพิ่มขึ้น
ทาให้ปัญหารายได้โตไม่ทันรายจ่ายจะยังมีอยู่ท่ามกลางเงินเฟ้อสูงและดอกเบี้ยสูง หนี้ครัวเรือนลดลงไม่เร็วนัก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. ถึง 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย
คาดว่ารายได้ของท่านจะกลับมาเท่ากับก่อนเกิดวิกฤติโควิด (ช่วงปี 2019) ในช่วงเวลาใด
หน่วย : % แต่ละกลุ่มรายได้
รายจ่าย (รวมรายจ่ายเพื่อการชาระหนี้) ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา เทียบกับ 6 เดือนก่อนหน้า
หน่วย : % แต่ละกลุ่มรายได้
0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%
ไม่เกิน 5,000 บาท/เดือน
5,001-10,000 บาท/เดือน
10,001-15,000 บาท/เดือน
15,001-30,000 บาท/เดือน
30,001-50,000 บาท/เดือน
50,001-100,000 บาท/เดือน
100,001-200,000 บาท/เดือน
มากกว่า 200,000 บาท/เดือน
Total
เพิ่มขึ้นมากกว่า 10% เพิ่มขึ้นในช่วง 6-10% เพิ่มขึ้นในช่วงต่ากว่า 6% เท่าเดิม
ลดลงในช่วงต่ากว่า 6% ลดลงในช่วง 6-10% ลดลงมากกว่า 10%
0% 5% 10% 15% 20% 25% 30% 35% 40% 45%
รายได้เท่ากับหรือสูงกว่าก่อนวิกฤติ
ภายในครึ่งปีแรกของปีนี้
ภายในครึ่งหลังของปีนี้
ภายในสิ้นปี 2567
หลังปี 2567
คาดว่าจะไม่กลับมาเท่าเดิม
รายได้มากกว่า 30,000 บาท/เดือน รายได้น้อยกว่า 30,000 บาท/เดือน
9
48%
37%
28%
22%
11%
10%
37%
45%
48%
49%
42%
49%
47%
47%
7%
15%
23%
36%
40%
44%
16%
ไม่เกิน 15,000
15,001-30,000 บาท/เดือน
30,001-50,000 บาท/เดือน
50,001-100,000 บาท/เดือน
100,001-200,000 บาท/เดือน
มากกว่า 200,000 บาท/เดือน
Total
ไม่สามารถเก็บออมเงินรายเดือนได้ สามารถเก็บออมได้บ้างบางเดือน สามารถเก็บออมได้ทุกเดือน
ผลสารวจชี้ว่า ปัญหารายได้โตไม่ทันรายจ่ายเพิ่มขึ้นมากในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา รวมถึงปัญหาการออม
โดยเฉพาะผู้มีรายได้น้อย
หมายเหตุ : การมีปัญหาการออม หมายถึง การไม่สามารถเก็บออมเงินรายเดือนได้ / ไม่รวมผู้ไม่มีรายได้
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. ถึง 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย
ปัญหารายได้ไม่พอรายจ่ายในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมาเพิ่มขึ้นอย่างมากเทียบกับปีก่อน
หน่วย : % ผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด
กลุ่มผู้มีรายได้น้อยมีปัญหารายได้ไม่พอรายจ่ายในสัดส่วนสูง
หน่วย : %ของแต่ละกลุ่มรายได้
43%
16%
41%
2022
มีปัญหาในบางครั้ง มีปัญหาบ่อยครั้ง ไม่มีปัญหา
56%
26%
18%
2023
ผู้ตอบแบบสอบถาม 82%
ประสบปัญหารายได้ไม่พอรายจ่าย
55%
59%
58%
50%
47%
47%
56%
34%
24%
18%
16%
5%
6%
25%
11%
17%
24%
34%
49%
47%
18%
ไม่เกิน 15,000
15,001-30,000 บาท/เดือน
30,001-50,000 บาท/เดือน
50,001-100,000 บาท/เดือน
100,001-200,000 บาท/เดือน
มากกว่า 200,000 บาท/เดือน
Total
มีปัญหาในบางครั้ง มีปัญหาบ่อยครั้ง ไม่มีปัญหา
กลุ่มผู้มีรายได้น้อยมีปัญหาการออมในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมาอย่างหนัก
หน่วย : %ของแต่ละกลุ่มรายได้ • รายได้ของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ยังคงเท่ากับช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา สวนทางกับ
รายจ่ายที่เพิ่มขึ้น สะท้อนปัญหาค่าครองชีพที่สูงขึ้นจากเงินเฟ้อสูง สัดส่วนผู้ตอบแบบสอบถาม
ที่มีปัญหารายได้ไม่พอรายจ่ายเพิ่มขึ้นมากอยู่ที่ 82% โดยเฉพาะกลุ่มผู้มีรายได้น้อยที่ประสบ
ปัญหานี้มากถึง 89%
• 44% ของผู้ที่มีปัญหารายได้ไม่พอรายจ่ายไม่สามารถเก็บออมได้ โดยเฉพาะกลุ่มที่มีรายได้ไม่
เกิน 15,000 บาทต่อเดือนมีเพียง 7% ที่เก็บออมได้ทุกเดือน และ 48% มีปัญหาการเก็บออม
10
ผู้บริโภครับมือกับสถานการณ์โควิดและภาวะเงินเฟ้อสูง โดย 1) ประหยัดค่าใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน/เปลี่ยนพฤติกรรม
การใช้จ่าย 2) หารายได้เสริม และ 3) นาเงินออมออกมาใช้ โดยเฉพาะกลุ่มผู้มีรายได้ต่ากว่า 30,000 บาทต่อเดือน
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. ถึง 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย
2%
7%
10%
15%
20%
21%
1%
2%
4%
5%
7%
7%
0% 5% 10% 15% 20% 25% 30%
ไม่ได้มีการปรับตัวแต่อย่างใด
ได้รับความช่วยเหลือ/ใช้ประโยชน์จากมาตรการภาครัฐ
นาเอาเงินออมออกมาใช้จ่าย
หารายได้เสริม/เปลี่ยนงานเพื่อให้ได้รายได้เพิ่มขึ้น
เปลี่ยนพฤติกรรมการใช้จ่าย เช่น เปลี่ยนไปใช้สินค้าที่ราคาถูกลง
วางแผนทางการเงิน ประหยัดค่าใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน
การรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 และค่าครองชีพที่สูงขึ้นในช่วงที่ผ่านมา
ไม่เกิน 30,000 บาท/เดือน มากกว่า 30,000/เดือน
2. หนี้ครัวเรือนและหนี้นอกระบบ
ความเสี่ยงสาคัญของครัวเรือนไทย
12
สัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP ทยอยปรับลดลง ส่วนหนึ่งเพราะ Nominal GDP เพิ่มขึ้นมากจากเงินเฟ้อสูง
แต่สัดส่วนหนี้ครัวเรือนไทยยังสูงกว่าช่วงก่อนโควิด ขณะที่ NPL สินเชื่ออุปโภคบริโภคกลับมาสูงขึ้นเกือบทุกพอร์ต
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศไทย
Stage 2 และ 3 แยกพอร์ตสินเชื่ออุปโภคบริโภค
หน่วย : %
สัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP ทยอยปรับลดลง แต่ยังอยู่ในระดับสูง
หน่วย : %GDP
77.7%
77.5%
77.6%
78.4%
78.4%
78.4%
78.8%
79.9%
80.3%
83.9%
86.7%
89.6%
90.8%
89.6%
89.7%
90.2%
89.3%
88.3%
87.0%
86.9%
50%
60%
70%
80%
90%
100%
-3%
0%
3%
6%
2018Q1
2018Q2
2018Q3
2018Q4
2019Q1
2019Q2
2019Q3
2019Q4
2020Q1
2020Q2
2020Q3
2020Q4
2021Q1
2021Q2
2021Q3
2021Q4
2022Q1
2022Q2
2022Q3
2022Q4
การเปลี่ยนแปลงจากหนี้ครัวเรือน*
การเปลี่ยนแปลงจาก GDP*
%สัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP ที่เปลี่ยนแปลงจากไตรมาสก่อนหน้า (มากกว่า 0 คือสัดส่วนฯ เพิ่มขึ้น)
ที่มาของการเปลี่ยนแปลงของสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP
สัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP ของไทย (หน่วย : % ต่อ GDP)
3.01
0
5
10
15
18
20Q1
20Q3
21Q1
21Q3
22Q1
22Q3
Stage 3 (NPL) Stage 2
1.88
0
5
10
15
20
18
20Q1
20Q3
21Q1
21Q3
22Q1
22Q3
3.12
0
5
10
15
18
20Q1
20Q3
21Q1
21Q3
22Q1
22Q3
2.4
0
2
4
6
8
10
18
20Q1
20Q3
21Q1
21Q3
22Q1
22Q3
สินเชื่อที่อยู่อาศัย สินเชื่อรถยนต์*
สินเชื่อบัตรเครดิต สินเชื่อส่วนบุคคล
13
ในช่วงก่อนเกิดวิกฤติโควิด สัดส่วนผู้ตอบแบบสอบถามที่มีหนี้สูงถึง 63%
โดยเกือบครึ่งเป็นหนี้นอกระบบ และ 9% มีหนี้นอกระบบเพียงอย่างเดียว
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. - 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย
เป็นหนี้ทั้งสองกลุ่ม
1,044 คน (22%)
เป็นหนี้ในระบบเพียงอย่างเดียว
1,499 คน (32%)
เป็นหนี้หนี้นอกระบบอย่างเดียว
426 คน (9%)
ไม่มีหนี้
1,764 คน (37%)
14
สัดส่วนผู้มีภาระหนี้เพิ่มขึ้นในช่วงวิกฤติโควิด โดยเฉพาะกลุ่มผู้มีรายได้ต่ากว่า 30,000 บาทต่อเดือน
ซึ่งมีแนวโน้มพึ่งพาหนี้นอกระบบสูง
หมายเหตุ : แหล่งเงินกู้นอกระบบรวมไปถึงการกู้ยืมจากญาติ พี่น้อง คนรู้จักด้วย
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. ถึง 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย
ภาระหนี้ที่เพิ่มขึ้นของคนที่มีหนี้และคนที่ไม่มีหนี้ในช่วงก่อนโควิด
หน่วย : % ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีภาระหนีเพิ่มขึ้นตั้งแต่วิกฤตโควิด
ระดับรายได้ของผู้ตอบแบบสอบถาม (แบ่งตามแหล่งเงินกู้ในปัจจุบัน)
หน่วย : บาท
61%
39%
มีภาระหนี้ในช่วงก่อน
COVID-19
ไม่มีภาระหนี้ในช่วง
ก่อน COVID-19
40%
ของผู้ที่เป็นหนี้เป็นลูกหนี้หน้าใหม่
หลังเกิดวิกฤติโควิด
• ผู้ที่ไม่มีภาระหนี้ในช่วงก่อนโควิดราว 40% ก่อหนี้นับตั้งแต่เกิดวิกฤตโควิด (หนี้หน้าใหม่
เพิ่มขึ้น 40%) และคนที่มีภาระหนี้อยู่ก่อนแล้วมีภาระหนี้เพิ่มขึ้น 61% นับตั้งแต่เกิดวิกฤตโควิด
• นับตั้งแต่เกิดวิกฤตโควิดมีการกู้ยืมเพื่อเพิ่มสภาพคล่องและการใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน
เป็นหลัก แต่ในระยะ 6 เดือนข้างหน้ามีแนวโน้มกู้ยืมมากขึ้นเพื่อชาระหนี้เก่า ผู้ที่กู้ยืมจาก
แหล่งเงินกู้ในระบบ กู้นอกระบบ หรือ กู้ทั้งสองแหล่งมีแนวโน้มจะกู้เพิ่มขึ้นในทิศทาง
เดียวกัน
0% 5% 10% 15% 20% 25% 30% 35% 40%
ไม่มีรายได้
ไม่เกิน 5,000 บาท/เดือน
5,001-10,000 บาท/เดือน
10,001-15,000 บาท/เดือน
15,001-30,000 บาท/เดือน
30,001-50,000 บาท/เดือน
50,001-100,000 บาท/เดือน
100,001-200,000 บาท/เดือน
มากกว่า 200,000 บาท/เดือน
ในระบบเท่านั้น นอกระบบ(รวมคนที่กู้ในระบบด้วย)
รายได้
15
ในช่วงวิกฤติโควิด ผู้ตอบแบบสอบถามที่เป็นหนี้ทั้งในและนอกระบบมีมากขึ้น จากที่เคยเป็นหนี้ใน
หรือนอกระบบเพียงอย่างเดียว (คิดเป็นประมาณ 6% ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมดที่มีหนี้)
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. - 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย
เป็นหนี้ทั้งสองกลุ่ม
เพิ่มขึ้น 175 คน (+17%)
เป็นหนี้ในระบบเพียงอย่างเดียว
ลดลง 28 คน (-2%)
เป็นหนี้หนี้นอกระบบอย่างเดียว
ลดลง 147 คน (-35%)
16
ผู้ตอบแบบสอบถามมีแนวโน้มจะกู้เงินเพิ่มขึ้นในอนาคต โดยเฉพาะลูกหนี้นอกระบบที่ต้องการกู้เงินเพิ่มขึ้นจาก
ทั้งแหล่งในและนอกระบบ นอกจากนี้ ลูกหนี้ในระบบมีแนวโน้มเข้าสู่วงจรการเป็นหนี้นอกระบบมากขึ้น
หมายเหตุ : แหล่งเงินกู้นอกระบบรวมไปถึงการกู้ยืมจากญาติ พี่น้อง คนรู้จักด้วย
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. ถึง 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย
สัดส่วนผู้ตอบแบบสอบถามที่จะก่อหนี้เพิ่มใน 6 เดือนข้างหน้า
หน่วย : %, แบ่งตามแหล่งเงินกู้ในปัจจุบัน หน่วย : %, แบ่งตามแหล่งเงินกู้ในปัจจุบัน
สัดส่วนผู้ตอบแบบสอบถามที่ปัจจุบันมีโอกาสกู้ยืมเพิ่มเติมสูง ใน 6 เดือนข้างหน้าจะไปกู้จากแหล่งใด
ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีหนี้นอกระบบ
มีโอกาสก่อหนี้เพิ่มมากกว่า
11% 10%
49%
54%
0%
10%
20%
30%
40%
50%
60%
ปัจจุบันมีหนี้ในระบบ ปัจจุบันมีหนี้นอกระบบ
ปัจจุบันยังไม่มีแผนการกู้เงินเพิ่มเติม มีโอกาสกู้ยืมเพิ่มเติมสูง
56%
61%
61%
60%
53%
54%
55%
56%
57%
58%
59%
60%
61%
ปัจจุบันมีหนี้ในระบบ ปัจจุบันมีหนี้นอกระบบ
ใน6เดือนข้างหน้าจะกู้ในระบบ ใน6เดือนข้างหน้าจะกู้นอกระบบ
17
หมายเหตุ : การทดสอบทางสถิติโดยใช้ Chi-squared test
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นผู้บริโภค (SCB EIC Consumer survey) ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. - 2 ก.พ. 2023 จานวนผู้ตอบแบบสารวจ 4,733 ราย
ปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อการเป็นหนี้ในระบบ vs
หนี้นอกระบบของกลุ่มผู้ตอบแบบสารวจออนไลน์
ปัจจัย คนที่มีหนี้ในระบบ คนที่มีหนี้นอกระบบ
อายุ • อายุ 20 - 25 ปี • อายุ 20 - 25 ปี
• อายุ 41 - 50 ปี
อาชีพ • ลูกจ้างหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ/ภาครัฐ
• งานอิสระ ฟรีแลนซ์ รับจ้างทั่วไป
• ค้าขายหาบเร่/แผงลอย
• เจ้าของกิจการไม่มีลูกจ้าง
• ลูกจ้างหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ/ภาครัฐ
• งานอิสระ ฟรีแลนซ์ รับจ้างทั่วไป
• นักเรียน/นักศึกษา
• พ่อบ้าน/แม่บ้าน
• ว่างงาน/ไม่มีรายได้
ระดับรายได้เฉลี่ย/คน/เดือน รายได้สูงกว่า (ประมาณ 27,560 บาท) รายได้ต่ากว่า (ประมาณ 16,958 บาท)
วัตถุประสงค์ของการเป็นหนี้ • มีภาระหนี้จากสินเชื่อบัตรเครดิต
• กู้เพื่อทาธุรกิจ
• กู้ซื้ออสังหาฯ
• กู้เพื่อการศึกษา
• มีภาระหนี้จากสินเชื่อบัตรเครดิต
• กู้เพื่อทาธุรกิจ
• กู้ซื้ออสังหาฯ
• กู้ซื้อยานยนต์
ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมามี
ปัญหารายได้ไม่พอกับรายจ่าย
บางครั้ง/บ่อยครั้ง บ่อยครั้ง
ผลการทดสอบทางสถิติ
* อักษรสีแดง แสดงปัจจัยหลักที่แตกต่างกันระหว่างคนมีหนี้ในระบบและคนมีหนี้นอกระบบ
18
หมายเหตุ : แหล่งเงินกู้นอกระบบรวมไปถึงการกู้ยืมจากญาติ พี่น้อง คนรู้จักด้วย
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. ถึง 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย
วัตถุประสงค์การกู้เงินตั้งแต่เกิดวิกฤติโควิดส่วนใหญ่เพื่อใช้จ่ายค่าอาหารและสินค้าจาเป็น
แต่ในระยะ 6 เดือนข้างหน้า ผู้มีหนี้ทั้งในและนอกระบบส่วนใหญ่มีแนวโน้มจะกู้เงินเพื่อชาระหนี้เก่าที่มีอยู่
คาถาม : นับตั้งแต่เกิดวิกฤติโควิดเงินที่กู้ยืมถูกนามาใช้ในวัตถุประสงค์ด้านใดบ้าง
หน่วย : % กลุ่มประเภทหนี้
30% 27% 27%
18% 17% 18%
0%
100%
ในระบบ นอกระบบ ทั้งในและนอกระบบ
อาหาร และค่าใช้จ่ายอื่นในชีวิตประจาวัน
ชาระหนี้เก่าที่มีอยู่
ด้านที่อยู่อาศัย
ด้านยานพาหนะ
เพิ่มสภาพคล่องให้กิจการส่วนตัวที่มีอยู่แล้ว
นามาเริ่มต้นธุรกิจใหม่
จ่ายค่าเล่าเรียนให้ตนเอง และ/หรือ บุตรหลาน
จ่ายค่ารักษาพยาบาลตนเอง และ/หรือ ครอบครัว
อื่น ๆ
คาถาม : ในระยะ 6 เดือนข้างหน้าคาดว่าเงินที่กู้มา จะถูกใช้ในวัตถุประสงค์ใด
หน่วย : % กลุ่มประเภทหนี้
22% 23% 23%
26% 24% 23%
0%
100%
ในระบบ นอกระบบ ทั้งในและนอกระบบ
อาหาร และค่าใช้จ่ายอื่นในชีวิตประจาวัน
ชาระหนี้เก่าที่มีอยู่
ด้านที่อยู่อาศัย
ด้านยานพาหนะ
เพิ่มสภาพคล่องให้กิจการส่วนตัวที่มีอยู่แล้ว
นามาเริ่มต้นธุรกิจใหม่
จ่ายค่าเล่าเรียนให้ตนเอง และ/หรือ บุตรหลาน
จ่ายค่ารักษาพยาบาลตนเอง และ/หรือ ครอบครัว
อื่น ๆ
19
กลุ่มลูกหนี้นอกระบบมีปัญหาในการเข้าถึงบริการกู้เงินกู้
หน่วย : % กลุ่มลูกหนี้แต่ละประเภทเท่านั้น
ส่วนใหญ่มีปัญหาในการเข้าถึงบริการกู้เงินในช่วงวิกฤติโควิด-19
หน่วย : % กลุ่มที่มีภาระหนี้เพิ่มขึ้นตั้งแต่เกิดวิกฤตโควิด
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. - 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย
ในกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามที่มีภาระหนี้เพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่มีปัญหาในการเข้าถึงบริการกู้เงินจากสถาบันการเงิน
และมีมุมมองว่า ยังได้รับการช่วยเหลือจากภาครัฐที่ไม่เพียงพอในช่วงวิกฤติโควิด โดยเฉพาะผู้มีหนี้นอกระบบ
64%
36%
0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70%
มีปัญหา
ไม่มีปัญหา
53%
73%
47%
27%
0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%
หนี้ในระบบ
หนี้นอกระบบ
มีปัญหา ไม่มีปัญหา
4%
28%
68%
0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80%
เพียงพอ
ไม่ได้รับความช่วยเหลือ
ไม่เพียงพอ
5%
4%
25%
32%
70%
64%
0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%
หนี้ในระบบ
นอกระบบ
เพียงพอ ไม่ได้รับความช่วยเหลือ ไม่เพียงพอ
สัดส่วนลูกหนี้นอกระบบที่ไม่ได้รับความช่วยเหลือสูงกว่าลูกหนี้ในระบบ
หน่วย : % กลุ่มลูกหนี้แต่ละประเภทเท่านั้น
ส่วนใหญ่มองว่าความช่วยเหลือในการแก้ปัญหาหนี้ในช่วงวิกฤติโควิด-19 ยังไม่เพียงพอ
หน่วย : % กลุ่มที่มีภาระหนี้เพิ่มขึ้นตั้งแต่เกิดวิกฤตโควิด
3. ทักษะทางการเงิน
กับการเป็นหนี้ของครัวเรือนไทย
21 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC โดยใช้นิยามของทักษะการเงินตามรายงานผลการสารวจทักษะทางการเงินของไทย ปี 2563 ธนาคารแห่งประเทศไทย
SCB EIC วิเคราะห์ทักษะทางการเงินของครัวเรือนไทยกับการเป็นหนี้ ผ่านการสารวจคะแนน 3 ด้าน
คือ ความรู้ทางการเงิน พฤติกรรมทางการเงิน และทัศนคติทางการเงิน
ทักษะทางการเงินที่ดี
(Financial literacy)
• ความรู้ในการกระจายความเสี่ยงทางการเงิน
• ความรู้เกี่ยวกับภาวะเงินเฟ้อ
• ความรู้ในการคานวณอัตราดอกเบี้ยอย่างง่าย
• การจัดสรรเงินก่อนนาไปใช้จ่าย
• การบริหารจัดการเงิน
• การชาระเงินค่างวด (ขั้นต่า/เต็มจานวน)
• ทัศนคติในการเป็นหนี้
• ทัศนคติในการชาระหนี้
• ทัศนคติในการใช้จ่าย
ความรู้ทางการเงินที่ดี
(Financial knowledge)
ทัศนคติทางการเงินที่ดี
(Financial attitude)
พฤติกรรมทางการเงินที่ดี
(Financial behavior)
22
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีคะแนนความรู้ทางการเงินและพฤติกรรมทางการเงินในระดับปานกลางถึงสูง
แต่คะแนนทัศนคติทางเงินส่วนใหญ่อยู่ในระดับไม่สูงนัก
1.5%
14.6%
40.8%
43.1%
0%
5%
10%
15%
20%
25%
30%
35%
40%
45%
50%
น้อยมาก น้อย ปานกลาง สูง
ความรู้ทางการเงิน
6.5%
65.2%
27.0%
1.4%
0%
10%
20%
30%
40%
50%
60%
70%
น้อยมาก น้อย ปานกลาง สูง
ทัศนคติทางการเงิน
2.1%
11.7%
55.9%
30.3%
0%
10%
20%
30%
40%
50%
60%
น้อยมาก น้อย ปานกลาง สูง
พฤติกรรมทางการเงิน
ระดับความรู้ทางการเงินที่ดี (น้อยไปมาก) ระดับพฤติกรรมทางการเงินที่ดี (น้อยไปมาก) ระดับทัศนคติทางการเงินที่ดี (น้อยไปมาก)
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. - 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย
23
กลุ่มที่มีคะแนนพฤติกรรมทางการเงินต่ามากมักประสบปัญหาในการบริหารจัดการหนี้บ่อยครั้งกว่า
แต่กลุ่มที่มีคะแนนทัศนคติทางการเงินดีกว่า ใช่ว่าจะไม่ค่อยประสบปัญหาในการบริหารจัดการหนี้
58.2%
47.9%
27.5%
12.1%
25.9%
36.7%
44.7%
59.3%
55.1%
55.8%
5.1%
7.4%
13.1%
32.9%
18.3%
0%
10%
20%
30%
40%
50%
60%
70%
80%
90%
100%
น้อยมาก น้อย ปานกลาง สูง รวมทุกกลุ่ม
พฤติกรรมทางการเงิน
มีปัญหาบ่อยครั้ง มีปัญหาในบางครั้ง ไม่มีปัญหา
25.8%
24.0%
29.9%
34.8%
25.8%
45.1%
57.6%
54.3%
51.5%
55.9%
29.1%
18.4%
15.7%
13.6%
18.3%
0%
10%
20%
30%
40%
50%
60%
70%
80%
90%
100%
น้อยมาก น้อย ปานกลาง สูง รวมทุกกลุ่ม
ทัศนคติทางการเงิน
มีปัญหาบ่อยครั้ง มีปัญหาในบางครั้ง ไม่มีปัญหา
11.4%
26.3%
27.4%
24.8%
25.9%
67.1%
56.0%
56.2%
55.0%
55.8%
21.4%
17.7%
16.4%
20.1%
18.3%
0%
10%
20%
30%
40%
50%
60%
70%
80%
90%
100%
น้อยมาก น้อย ปานกลาง สูง รวมทุกกลุ่ม
ความรู้ทางการเงิน
มีปัญหาบ่อยครั้ง มีปัญหาในบางครั้ง ไม่มีปัญหา
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. - 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย
ระดับความรู้ทางการเงินที่ดี (น้อยไปมาก) ระดับพฤติกรรมทางการเงินที่ดี (น้อยไปมาก) ระดับทัศนคติทางการเงินที่ดี (น้อยไปมาก)
24
ลูกหนี้นอกระบบโดยส่วนมากมีความรู้ทางการเงินที่ดี แต่อาจมีความจาเป็นฉุกเฉิน พฤติกรรมหรือทัศนคติทาง
การเงินจึงสะท้อนออกมาไม่ค่อยดีนัก (เช่น ใช้เงินโดยไม่คิด ไม่วางแผนการเงิน) ทาให้จาเป็นต้องกู้หนี้นอกระบบ
1.4%
13.6%
45.2%
39.8%
0%
5%
10%
15%
20%
25%
30%
35%
40%
45%
50%
ความรู้ทางการเงิน
น้อยมาก น้อย ปานกลาง สูง
4.7%
24.0%
54.8%
16.5%
0%
10%
20%
30%
40%
50%
60%
พฤติกรรมทางการเงิน
น้อยมาก น้อย ปานกลาง สูง
3.9%
60.9%
31.5%
3.6%
0%
10%
20%
30%
40%
50%
60%
70%
ทัศนคติทางการเงิน
น้อยมาก น้อย ปานกลาง สูง
สัดส่วนการเป็น
หนี้นอกระบบ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. - 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย
ระดับความรู้ทางการเงินที่ดี (น้อยไปมาก) ระดับพฤติกรรมทางการเงินที่ดี (น้อยไปมาก) ระดับทัศนคติทางการเงินที่ดี (น้อยไปมาก)
25
คนมีหนี้นอกระบบมีคะแนนทักษะทางการเงิน คะแนนความเข้าใจหนี้นอกระบบ และระดับรายได้โดยเฉลี่ยต่ากว่า
กลุ่มอื่นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
หมายเหตุ : การทดสอบทางสถิติโดยใช้การทดสอบ ANOVA และ Post hoc test
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นผู้บริโภค (SCB EIC Consumer survey) ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. - 2 ก.พ. 2023 จานวนผู้ตอบแบบสารวจ 4,733 ราย
คะแนนความเข้าใจหนี้นอกระบบของคนมีหนี้ (จาแนกตามประเภทของหนี้)
หน่วย : % (ค่าเฉลี่ยคะแนนแต่ละกลุ่ม, Max = 100%)
คะแนนทักษะทางการเงิน (จาแนกตามประเภทของหนี้)
หน่วย : % (ค่าเฉลี่ยคะแนนแต่ละกลุ่ม, Max = 100%)
ระดับรายได้ (จาแนกตามประเภทของหนี้)
หน่วย : บาท/เดือน (ค่าเฉลี่ยรายได้ของแต่ละกลุ่ม)
คะแนนทักษะทางการเงิน (จาแนกตามระดับรายได้)
หน่วย : % (ค่าเฉลี่ยคะแนนแต่ละกลุ่ม, Max = 100%)
40 45 50 55 60 65 70 75 80
หนี้นอกระบบเท่านั้น
หนี้นอกและในระบบ
หนี้ในระบบเท่านั้น
ไม่มีหนี้
40 45 50 55 60 65 70 75 80
หนี้นอกระบบเท่านั้น
หนี้นอกและในระบบ
หนี้ในระบบเท่านั้น
40 45 50 55 60 65 70 75 80
ไม่เกิน 15,000
15,001-50,000
50,001-100,000
มากกว่า 100,000
5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 30,000 35,000
หนี้นอกระบบเท่านั้น
หนี้นอกและในระบบ
หนี้ในระบบเท่านั้น
ไม่มีหนี้
คะแนนทักษะทางการเงินโดยเฉลี่ยของกลุ่มคนไม่มีหนี้สูงกว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสาคัญ
รองมาคือกลุ่มคนมีหนี้ในระบบเท่านั้น และต่าสุดคือกลุ่มคนมีหนี้นอกระบบ
คะแนนทักษะทางการเงินโดยเฉลี่ยของกลุ่มคนรายได้สูงมีคะแนนสูงกว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสาคัญ
ขณะที่คนรายได้ต่ามีคะแนนทักษะทางการเงินโดยเฉลี่ยต่าสุด
ระดับรายได้โดยเฉลี่ยของคนไม่มีหนี้สูงกว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสาคัญ
รองมาคือกลุ่มคนมีหนี้ในระบบเท่านั้น กลุ่มคนมีหนี้นอกระบบมีระดับรายได้เฉลี่ยต่าสุด
คะแนนความเข้าใจเกี่ยวกับหนี้นอกระบบโดยเฉลี่ยของกลุ่มคนมีหนี้ในระบบเท่านั้น
สูงกว่ากลุ่มคนมีหนี้นอกระบบอย่างมีนัยสาคัญ
นัยต่อภาครัฐ ภาคธุรกิจ
และภาคครัวเรือน
27 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC
ภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคครัวเรือน
• ให้ความช่วยเหลือเชิงนโยบายเพื่อหยุดวงจรหนี้
โดยเฉพาะหนี้นอกระบบ
• หยุดวงจรหนี้นอกระบบอย่างค่อยเป็นค่อยไป เนื่องจาก
ประชาชนพึ่งพาหนี้นอกระบบในสัดส่วนสูง หากเร่งรัด
อาจเกิดผลเสียต่อเศรษฐกิจได้
• ให้ความรู้ทักษะทางการเงินทุกมิติอย่างเป็นระบบ
โดยเฉพาะทัศนคติทางการเงินและความเข้าใจหนี้นอก
ระบบ เช่น การคิดก่อนใช้ การวางแผนทางการเงิน
• เตรียมพร้อมรับมือ หากปัญหาหนี้ครัวเรือนรุนแรงขึ้น
ทาให้ผู้บริโภคลดรายจ่ายลง เช่น วางแผนสารองกระแส
เงินสด กระจายความเสี่ยง ลดต้นทุน ปรับปรุง
ประสิทธิภาพ พัฒนาระบบดิจิทัล และแสวงหาโอกาส
ทางธุรกิจใหม่ ๆ
• ติดตามกฎระเบียบและนโยบายภาครัฐอย่างใกล้ชิด
เพื่อประโยชน์ในการวางแผนธุรกิจ เนื่องจากภาครัฐ
มีแนวโน้มจะเร่งแก้ปัญหาหนี้ครัวเรือนอย่างจริงจังขึ้น
• ผ่อนคืนหนี้ให้มากกว่าการจ่ายขั้นต่าเพื่อเร่งปลดหนี้
• เสริมสร้างนิสัยการออมรองรับวิกฤติที่อาจเกิดขึ้นอีก
• หาทางเข้าถึงแหล่งเงินกู้ในระบบก่อน
• เพิ่มความมั่นคงของกระแสรายได้ โดยยกระดับทักษะ
ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานหลัง
วิกฤติโควิด
นัยต่อภาครัฐ ภาคธุรกิจ
และภาคครัวเรือน
28
ดร.สมประวิณ มันประเสริฐ
รองผู้จัดการใหญ่ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มงาน Economic Intelligence Center (EIC)
และรองผู้จัดการใหญ่ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มงานกลยุทธ์องค์กร
คณะผู้จัดทา
ดร.ฐิติมา ชูเชิด
ผู้อานวยการฝ่ายวิจัย
ด้านเศรษฐกิจ และตลาดการเงิน
thitima.chucherd@scb.co.th
ดร.ปุณยวัจน์ ศรีสิงห์
นักเศรษฐศาสตร์อาวุโส
poonyawat.sreesing@scb.co.th
วิชาญ กุลาตี
นักวิเคราะห์
vishal.gulati@scb.co.th
ดร.อสมา เหลี่ยมมุกดา
นักวิเคราะห์
asama.liammukda@scb.co.th
กฤษณา พรธาดาวิทย์
Economist trainee
t700027@scb.co.th
EIC Consumer Survey 2023 : ผ่าปัญหาหนี้ครัวเรือน โจทย์ข้อใหญ่ที่ต้องแก้ไขอย่างจริงจัง
EIC Consumer Survey 2023 : ผ่าปัญหาหนี้ครัวเรือน โจทย์ข้อใหญ่ที่ต้องแก้ไขอย่างจริงจัง

More Related Content

Similar to EIC Consumer Survey 2023 : ผ่าปัญหาหนี้ครัวเรือน โจทย์ข้อใหญ่ที่ต้องแก้ไขอย่างจริงจัง

SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCBEICSCB
 
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการพรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการIsriya Paireepairit
 
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...SCBEICSCB
 
K bank multi asset strategies dec 2010 thai_
K bank multi asset strategies dec 2010  thai_K bank multi asset strategies dec 2010  thai_
K bank multi asset strategies dec 2010 thai_KBank Fx Dealing Room
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าtumetr1
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCBEICSCB
 
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSarinee Achavanuntakul
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...SCBEICSCB
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCBEICSCB
 
เจาะผลสำรวจ SCB EIC Real estate survey 2023 … จับเทรนด์ที่อยู่อาศัยตอบโจทย์ผู...
เจาะผลสำรวจ SCB EIC Real estate survey 2023 … จับเทรนด์ที่อยู่อาศัยตอบโจทย์ผู...เจาะผลสำรวจ SCB EIC Real estate survey 2023 … จับเทรนด์ที่อยู่อาศัยตอบโจทย์ผู...
เจาะผลสำรวจ SCB EIC Real estate survey 2023 … จับเทรนด์ที่อยู่อาศัยตอบโจทย์ผู...SCBEICSCB
 
Outlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdfOutlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdfSCBEICSCB
 
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfOutlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfSCBEICSCB
 
Outlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdfOutlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdfSCBEICSCB
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfSCBEICSCB
 

Similar to EIC Consumer Survey 2023 : ผ่าปัญหาหนี้ครัวเรือน โจทย์ข้อใหญ่ที่ต้องแก้ไขอย่างจริงจัง (20)

Jaijai 126
Jaijai 126Jaijai 126
Jaijai 126
 
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
 
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการพรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
 
Case Study : Serksu Thailand
Case Study : Serksu ThailandCase Study : Serksu Thailand
Case Study : Serksu Thailand
 
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
 
Green Industry File2 (02 august 2016)
Green Industry File2 (02 august 2016)Green Industry File2 (02 august 2016)
Green Industry File2 (02 august 2016)
 
K bank multi asset strategies dec 2010 thai_
K bank multi asset strategies dec 2010  thai_K bank multi asset strategies dec 2010  thai_
K bank multi asset strategies dec 2010 thai_
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
 
0191
01910191
0191
 
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
Asia2030 asean
Asia2030 aseanAsia2030 asean
Asia2030 asean
 
Asia2030 asean
Asia2030 aseanAsia2030 asean
Asia2030 asean
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
 
เจาะผลสำรวจ SCB EIC Real estate survey 2023 … จับเทรนด์ที่อยู่อาศัยตอบโจทย์ผู...
เจาะผลสำรวจ SCB EIC Real estate survey 2023 … จับเทรนด์ที่อยู่อาศัยตอบโจทย์ผู...เจาะผลสำรวจ SCB EIC Real estate survey 2023 … จับเทรนด์ที่อยู่อาศัยตอบโจทย์ผู...
เจาะผลสำรวจ SCB EIC Real estate survey 2023 … จับเทรนด์ที่อยู่อาศัยตอบโจทย์ผู...
 
Outlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdfOutlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdf
 
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdfOutlook 3Q2023-Full report-final.pdf
Outlook 3Q2023-Full report-final.pdf
 
Outlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdfOutlook 3Q2023-Full report.pdf
Outlook 3Q2023-Full report.pdf
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
 

More from SCBEICSCB

ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletSCBEICSCB
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...SCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfSCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfSCBEICSCB
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfSCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...SCBEICSCB
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...SCBEICSCB
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นSCBEICSCB
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCBEICSCB
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfSCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงSCBEICSCB
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfSCBEICSCB
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCBEICSCB
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...SCBEICSCB
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCBEICSCB
 
Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023SCBEICSCB
 

More from SCBEICSCB (20)

ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวตามการท่องเที่ยวและแรงกระตุ้นการคลัง แต...
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
 
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
 
Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023
 

EIC Consumer Survey 2023 : ผ่าปัญหาหนี้ครัวเรือน โจทย์ข้อใหญ่ที่ต้องแก้ไขอย่างจริงจัง

  • 1. ผ่าปัญหาหนี้ครัวเรือน โจทย์ข้อใหญ่ที่ต้องแก้ไข อย่างจริงจัง SCB EIC Consumer survey 2023 รายได้ไม่พอรายจ่าย ความเปราะบางที่หลงเหลือจากวิกฤติโควิด หนี้ครัวเรือนและหนี้นอกระบบ ความเสี่ยงสาคัญของครัวเรือนไทย
  • 2. เรื่อง หน้า บทสรุปผู้บริหาร 3 1. รายได้ไม่พอรายจ่ายความเปราะบางที่หลงเหลือจากวิกฤติโควิด 6 Content 2. หนี้ครัวเรือนและหนี้นอกระบบความเสี่ยงสาคัญของครัวเรือนไทย 11 3. ทักษะทางการเงินกับการเป็นหนี้ของครัวเรือนไทย 20 นัยต่อภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคครัวเรือน 27
  • 3. 3 Executive summary ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. - 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย รายได้ไม่พอรายจ่าย ความเปราะบางที่หลงเหลือจากวิกฤติโควิด ผู้บริโภคส่วนใหญ่มีมุมมองต่อการฟื้นตัวของรายได้ที่ดีขึ้นในระยะข้างหน้า ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ แต่การฟื้นตัวของรายได้จะเป็นไปอย่างช้า ๆ และยังไม่กลับไปเท่าระดับก่อนวิกฤติโควิดในระยะเวลาอันใกล้ อีกทั้ง ยังต้องเผชิญรายจ่ายที่เพิ่มขึ้น ทาให้ปัญหารายได้โตไม่ทัน รายจ่ายและปัญหาการออมจะยังมีอยู่ท่ามกลางเงินเฟ้อสูงและดอกเบี้ยสูง โดยเฉพาะกลุ่มผู้มีรายได้น้อย ส่งผลให้หนี้ครัวเรือนจะมีแนวโน้มลดลงไม่เร็วนัก หนี้ครัวเรือนและหนี้นอกระบบ ความเสี่ยงสาคัญของครัวเรือนไทย ก่อนเกิดวิกฤติโควิดสัดส่วนผู้ตอบแบบสอบถามที่เป็นหนี้มีมากถึง 63% ซึ่ง 31% เป็นหนี้นอกระบบ สัดส่วนนี้ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตั้งแต่เกิดวิกฤติโควิด และกลุ่มนี้มีแนวโน้มกู้ยืมเพิ่มขึ้นในอนาคต โดยเฉพาะลูกหนี้นอกระบบที่ต้องการกู้เงินเพิ่มขึ้นจากทั้งแหล่งในและนอกระบบ ขณะที่ลูกหนี้ ในระบบมีแนวโน้มเข้าสู่วงจรหนี้นอกระบบมากขึ้น นอกจากนี้ วัตถุประสงค์การกู้เงินตั้งแต่เกิดวิกฤติโควิดส่วนใหญ่เพื่อใช้จ่ายค่าอาหารและสินค้าจาเป็น แต่ในระยะ 6 เดือน ข้างหน้า ผู้มีหนี้ส่วนใหญ่มีแนวโน้มจะกู้ยืมเพื่อชาระหนี้เดิม สะท้อนความเปราะบางด้านภาระหนี้ของครัวเรือนที่อาจรุนแรงขึ้น กดดันการนาเงินออมออกมาใช้จ่ายเพื่อการบริโภค ในระยะข้างหน้า ทักษะทางการเงินกับการเป็นหนี้ของครัวเรือน SCB EIC คานวณคะแนนทักษะทางการเงินจาก 3 องค์ประกอบ คือ ความรู้ทางการเงิน พฤติกรรมทางการเงิน และทัศนคติ ทางการเงิน พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีคะแนนทัศนคติทางการเงินไม่ดีนัก โดยเฉพาะกลุ่มคนที่มีหนี้นอกระบบ ซึ่งส่วนมากมีความรู้ทางการเงินที่ดี แต่อาจมีความ จาเป็นฉุกเฉิน พฤติกรรมหรือทัศนคติทางการเงินจึงสะท้อนออกมาไม่ค่อยดีนัก (เช่น ใช้เงินโดยไม่คิด ไม่วางแผนการเงิน) ทาให้จาเป็นต้องกู้ยืมหนี้นอกระบบ นอกจากนี้ยัง พบว่า คนมีหนี้นอกระบบมีคะแนนทักษะทางการเงิน คะแนนความเข้าใจเกี่ยวกับหนี้นอกระบบ และระดับรายได้โดยเฉลี่ยต่ากว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ นัยต่อภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคครัวเรือน โดยภาครัฐจาเป็นต้องให้ความช่วยเหลือเชิงนโยบายและให้ความรู้ทักษะทางการเงินทุกมิติอย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะทัศนคติทาง การเงินและความเข้าใจหนี้นอกระบบ รวมถึงหยุดวงจรหนี้นอกระบบอย่างค่อยเป็นค่อยไป เนื่องจากมีประชาชนจานวนมากที่พึ่งพิงหนี้นอกระบบอยู่ ภาคธุรกิจจาเป็นต้อง ติดตามกฎระเบียบและนโยบายแก้หนี้ครัวเรือนของภาครัฐอย่างใกล้ชิด เนื่องจากภาครัฐมีแนวโน้มจะเข้ามาแก้ปัญหานี้อย่างจริงจังมากขึ้น อีกทั้งควรเตรียมความพร้อมไว้หาก ปัญหาหนี้ครัวเรือนรุนแรงขึ้น ภาคครัวเรือนควรผ่อนชาระหนี้ให้มากกว่าการจ่ายขั้นต่า ปลูกฝังวินัยการออมเพื่อรองรับวิกฤติที่อาจเกิดขึ้นได้อีก และปรับทักษะให้สอดคล้องกับ โลกหลังวิกฤติโควิดเพื่อเพิ่มความมั่นคงของกระแสรายได้
  • 4. 4 ข้อมูลสถิติที่สาคัญจากการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ของ SCB EIC ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. ถึง 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย 3.8% 32.1% 63.9% 0.1% LGBTQIA+ ชาย หญิง ไม่ระบุ 0.5% 5.8% 12.4% 33.5% 31.5% 13.6% 2.6% 0.2% ต่ากว่า 20 ปี 20 - 25 ปี 26 - 30 ปี 31 - 40 ปี 41 - 50 ปี 51 - 60 ปี 61 - 70 ปี มากกว่า 70 ปี 44.0% 35.4% 7.7% 7.0% 2.9% 2.9% โสด สมรส มีบุตร สมรส ไม่มีบุตร หย่าร้าง หม้าย อื่นๆ 46.8% 11.6% 10.9% 10.8% 5.5% 3.6% 2.0% 1.9% 1.8% 1.7% 1.7% 0.6% 0.6% 0.5% 0.1% ลูกจ้างหรือพนักงานบริษัทเอกชน เจ้าของกิจการไม่มีลูกจ้าง เช่น ร้านค้า ลูกจ้างหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ/ภาครัฐ งานอิสระ/ฟรีแลนซ์/รับจ้างทั่วไป อื่นๆ เจ้าของกิจการที่มีลูกจ้าง เช่น โรงงาน… ค้าขายแบบหาบเห่ แผงลอย ลูกจ้างชั่วคราว พ่อบ้าน/แม่บ้าน เกษียณ (มีรายได้) ว่างงาน/ไม่มีรายได้ นักเรียน/นักศึกษา เกษียณ (ไม่มีรายได้) ไรเดอร์ของ Application (ส่งคน ส่งของ… ขับ Taxi มอเตอร์ไซด์รับจ้าง 12.9% 19.5% 21.8% 37.2% 7.6% 1.0% ต่ากว่ามัธยมปลาย ปวช./ปวส. มัธยมปลาย ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี อื่น ๆ 0 5.5% 14.4% 20.4% 23.9% 17.5% 18.3% 3.7% 22.3% 42.9% 18.6% 7.8% 2.8% 1.9% ไม่มี 1 คน 2 คน 3 คน 4 คน 5 คน มากกว่า 5 คน จานวนสมาชิกในครัวเรือน จานวนสมาชิกที่มีรายได้ประจา ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. ถึง 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย เพศ ช่วงอายุ สถานภาพ อาชีพ จานวนสมาชิกในครัวเรือนทั้งหมด ระดับการศึกษาสูงสุด
  • 5. 5 ข้อมูลสถิติที่สาคัญจากการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ของ SCB EIC ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. ถึง 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. ถึง 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย ในปัจจุบัน แต่ละเดือนท่านสามารถเก็บออมเงินได้หรือไม่ หน่วย : % ผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของคุณและต่อครัวเรือน ณ ปัจจุบัน หน่วย : % ผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 1.2% 1.8% 9.1% 25.5% 34.4% 16.8% 7.7% 2.2% 1.3% 1.0% 9.1% 7.7% 24.6% 25.7% 4.9% 21.1% 4.4% 1.6% ไม่มีรายได้ ไม่เกิน 5,000 5,001-10,000 10,001-15,000 15,001-30,000 30,001-50,000 50,001-100,000 100,001-200,000 มากกว่า 200,000 รายได้ต่อเดือนของตัวเอง รายได้ต่อเดือนของครัวเรือน 38% 16% 46% ไม่สามารถเก็บออมเงินรายเดือนได้ สามารถเก็บออมได้ทุกเดือน สามารถเก็บออมได้บ้างบางเดือน
  • 7. 7 ผู้บริโภคส่วนใหญ่มีมุมมองการฟื้นตัวของรายได้ที่ดีขึ้นในระยะข้างหน้าตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. ถึง 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย รายได้ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา เทียบกับ 6 เดือนก่อนหน้า หน่วย : % แต่ละกลุ่มรายได้ คาดว่ารายได้ในช่วง 6 เดือนข้างหน้า จะเปลี่ยนแปลงอย่างไรเทียบกับปัจจุบัน หน่วย : % แต่ละกลุ่มรายได้ 0% 20% 40% 60% 80% 100% ไม่เกิน 5,000 บาท/เดือน 5,001-10,000 บาท/เดือน 10,001-15,000 บาท/เดือน 15,001-30,000 บาท/เดือน 30,001-50,000 บาท/เดือน 50,001-100,000 บาท/เดือน 100,001-200,000 บาท/เดือน มากกว่า 200,000 บาท/เดือน Total เพิ่มขึ้นมากกว่า 10% เพิ่มขึ้นในช่วง 6-10% เพิ่มขึ้นในช่วงต่ากว่า 6% เท่าเดิม ลดลงในช่วงต่ากว่า 6% ลดลงในช่วง 6-10% ลดลงมากกว่า 10% 0% 20% 40% 60% 80% 100% ไม่เกิน 5,000 บาท/เดือน 5,001-10,000 บาท/เดือน 10,001-15,000 บาท/เดือน 15,001-30,000 บาท/เดือน 30,001-50,000 บาท/เดือน 50,001-100,000 บาท/เดือน 100,001-200,000 บาท/เดือน มากกว่า 200,000 บาท/เดือน Total เพิ่มขึ้นมากกว่า 10% เพิ่มขึ้นในช่วง 6-10% เพิ่มขึ้นในช่วงต่ากว่า 6% เท่าเดิม ลดลงในช่วงต่ากว่า 6% ลดลงในช่วง 6-10% ลดลงมากกว่า 10%
  • 8. 8 ผู้มีรายได้น้อยมองรายได้ฟื้นช้าและอาจไม่กลับไปเท่ากับก่อนเกิดวิกฤติโควิด-19 ทั้งยังต้องเผชิญรายจ่ายที่เพิ่มขึ้น ทาให้ปัญหารายได้โตไม่ทันรายจ่ายจะยังมีอยู่ท่ามกลางเงินเฟ้อสูงและดอกเบี้ยสูง หนี้ครัวเรือนลดลงไม่เร็วนัก ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. ถึง 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย คาดว่ารายได้ของท่านจะกลับมาเท่ากับก่อนเกิดวิกฤติโควิด (ช่วงปี 2019) ในช่วงเวลาใด หน่วย : % แต่ละกลุ่มรายได้ รายจ่าย (รวมรายจ่ายเพื่อการชาระหนี้) ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา เทียบกับ 6 เดือนก่อนหน้า หน่วย : % แต่ละกลุ่มรายได้ 0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100% ไม่เกิน 5,000 บาท/เดือน 5,001-10,000 บาท/เดือน 10,001-15,000 บาท/เดือน 15,001-30,000 บาท/เดือน 30,001-50,000 บาท/เดือน 50,001-100,000 บาท/เดือน 100,001-200,000 บาท/เดือน มากกว่า 200,000 บาท/เดือน Total เพิ่มขึ้นมากกว่า 10% เพิ่มขึ้นในช่วง 6-10% เพิ่มขึ้นในช่วงต่ากว่า 6% เท่าเดิม ลดลงในช่วงต่ากว่า 6% ลดลงในช่วง 6-10% ลดลงมากกว่า 10% 0% 5% 10% 15% 20% 25% 30% 35% 40% 45% รายได้เท่ากับหรือสูงกว่าก่อนวิกฤติ ภายในครึ่งปีแรกของปีนี้ ภายในครึ่งหลังของปีนี้ ภายในสิ้นปี 2567 หลังปี 2567 คาดว่าจะไม่กลับมาเท่าเดิม รายได้มากกว่า 30,000 บาท/เดือน รายได้น้อยกว่า 30,000 บาท/เดือน
  • 9. 9 48% 37% 28% 22% 11% 10% 37% 45% 48% 49% 42% 49% 47% 47% 7% 15% 23% 36% 40% 44% 16% ไม่เกิน 15,000 15,001-30,000 บาท/เดือน 30,001-50,000 บาท/เดือน 50,001-100,000 บาท/เดือน 100,001-200,000 บาท/เดือน มากกว่า 200,000 บาท/เดือน Total ไม่สามารถเก็บออมเงินรายเดือนได้ สามารถเก็บออมได้บ้างบางเดือน สามารถเก็บออมได้ทุกเดือน ผลสารวจชี้ว่า ปัญหารายได้โตไม่ทันรายจ่ายเพิ่มขึ้นมากในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา รวมถึงปัญหาการออม โดยเฉพาะผู้มีรายได้น้อย หมายเหตุ : การมีปัญหาการออม หมายถึง การไม่สามารถเก็บออมเงินรายเดือนได้ / ไม่รวมผู้ไม่มีรายได้ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. ถึง 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย ปัญหารายได้ไม่พอรายจ่ายในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมาเพิ่มขึ้นอย่างมากเทียบกับปีก่อน หน่วย : % ผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด กลุ่มผู้มีรายได้น้อยมีปัญหารายได้ไม่พอรายจ่ายในสัดส่วนสูง หน่วย : %ของแต่ละกลุ่มรายได้ 43% 16% 41% 2022 มีปัญหาในบางครั้ง มีปัญหาบ่อยครั้ง ไม่มีปัญหา 56% 26% 18% 2023 ผู้ตอบแบบสอบถาม 82% ประสบปัญหารายได้ไม่พอรายจ่าย 55% 59% 58% 50% 47% 47% 56% 34% 24% 18% 16% 5% 6% 25% 11% 17% 24% 34% 49% 47% 18% ไม่เกิน 15,000 15,001-30,000 บาท/เดือน 30,001-50,000 บาท/เดือน 50,001-100,000 บาท/เดือน 100,001-200,000 บาท/เดือน มากกว่า 200,000 บาท/เดือน Total มีปัญหาในบางครั้ง มีปัญหาบ่อยครั้ง ไม่มีปัญหา กลุ่มผู้มีรายได้น้อยมีปัญหาการออมในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมาอย่างหนัก หน่วย : %ของแต่ละกลุ่มรายได้ • รายได้ของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ยังคงเท่ากับช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา สวนทางกับ รายจ่ายที่เพิ่มขึ้น สะท้อนปัญหาค่าครองชีพที่สูงขึ้นจากเงินเฟ้อสูง สัดส่วนผู้ตอบแบบสอบถาม ที่มีปัญหารายได้ไม่พอรายจ่ายเพิ่มขึ้นมากอยู่ที่ 82% โดยเฉพาะกลุ่มผู้มีรายได้น้อยที่ประสบ ปัญหานี้มากถึง 89% • 44% ของผู้ที่มีปัญหารายได้ไม่พอรายจ่ายไม่สามารถเก็บออมได้ โดยเฉพาะกลุ่มที่มีรายได้ไม่ เกิน 15,000 บาทต่อเดือนมีเพียง 7% ที่เก็บออมได้ทุกเดือน และ 48% มีปัญหาการเก็บออม
  • 10. 10 ผู้บริโภครับมือกับสถานการณ์โควิดและภาวะเงินเฟ้อสูง โดย 1) ประหยัดค่าใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน/เปลี่ยนพฤติกรรม การใช้จ่าย 2) หารายได้เสริม และ 3) นาเงินออมออกมาใช้ โดยเฉพาะกลุ่มผู้มีรายได้ต่ากว่า 30,000 บาทต่อเดือน ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. ถึง 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย 2% 7% 10% 15% 20% 21% 1% 2% 4% 5% 7% 7% 0% 5% 10% 15% 20% 25% 30% ไม่ได้มีการปรับตัวแต่อย่างใด ได้รับความช่วยเหลือ/ใช้ประโยชน์จากมาตรการภาครัฐ นาเอาเงินออมออกมาใช้จ่าย หารายได้เสริม/เปลี่ยนงานเพื่อให้ได้รายได้เพิ่มขึ้น เปลี่ยนพฤติกรรมการใช้จ่าย เช่น เปลี่ยนไปใช้สินค้าที่ราคาถูกลง วางแผนทางการเงิน ประหยัดค่าใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน การรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 และค่าครองชีพที่สูงขึ้นในช่วงที่ผ่านมา ไม่เกิน 30,000 บาท/เดือน มากกว่า 30,000/เดือน
  • 12. 12 สัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP ทยอยปรับลดลง ส่วนหนึ่งเพราะ Nominal GDP เพิ่มขึ้นมากจากเงินเฟ้อสูง แต่สัดส่วนหนี้ครัวเรือนไทยยังสูงกว่าช่วงก่อนโควิด ขณะที่ NPL สินเชื่ออุปโภคบริโภคกลับมาสูงขึ้นเกือบทุกพอร์ต ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศไทย Stage 2 และ 3 แยกพอร์ตสินเชื่ออุปโภคบริโภค หน่วย : % สัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP ทยอยปรับลดลง แต่ยังอยู่ในระดับสูง หน่วย : %GDP 77.7% 77.5% 77.6% 78.4% 78.4% 78.4% 78.8% 79.9% 80.3% 83.9% 86.7% 89.6% 90.8% 89.6% 89.7% 90.2% 89.3% 88.3% 87.0% 86.9% 50% 60% 70% 80% 90% 100% -3% 0% 3% 6% 2018Q1 2018Q2 2018Q3 2018Q4 2019Q1 2019Q2 2019Q3 2019Q4 2020Q1 2020Q2 2020Q3 2020Q4 2021Q1 2021Q2 2021Q3 2021Q4 2022Q1 2022Q2 2022Q3 2022Q4 การเปลี่ยนแปลงจากหนี้ครัวเรือน* การเปลี่ยนแปลงจาก GDP* %สัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP ที่เปลี่ยนแปลงจากไตรมาสก่อนหน้า (มากกว่า 0 คือสัดส่วนฯ เพิ่มขึ้น) ที่มาของการเปลี่ยนแปลงของสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP สัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP ของไทย (หน่วย : % ต่อ GDP) 3.01 0 5 10 15 18 20Q1 20Q3 21Q1 21Q3 22Q1 22Q3 Stage 3 (NPL) Stage 2 1.88 0 5 10 15 20 18 20Q1 20Q3 21Q1 21Q3 22Q1 22Q3 3.12 0 5 10 15 18 20Q1 20Q3 21Q1 21Q3 22Q1 22Q3 2.4 0 2 4 6 8 10 18 20Q1 20Q3 21Q1 21Q3 22Q1 22Q3 สินเชื่อที่อยู่อาศัย สินเชื่อรถยนต์* สินเชื่อบัตรเครดิต สินเชื่อส่วนบุคคล
  • 13. 13 ในช่วงก่อนเกิดวิกฤติโควิด สัดส่วนผู้ตอบแบบสอบถามที่มีหนี้สูงถึง 63% โดยเกือบครึ่งเป็นหนี้นอกระบบ และ 9% มีหนี้นอกระบบเพียงอย่างเดียว ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. - 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย เป็นหนี้ทั้งสองกลุ่ม 1,044 คน (22%) เป็นหนี้ในระบบเพียงอย่างเดียว 1,499 คน (32%) เป็นหนี้หนี้นอกระบบอย่างเดียว 426 คน (9%) ไม่มีหนี้ 1,764 คน (37%)
  • 14. 14 สัดส่วนผู้มีภาระหนี้เพิ่มขึ้นในช่วงวิกฤติโควิด โดยเฉพาะกลุ่มผู้มีรายได้ต่ากว่า 30,000 บาทต่อเดือน ซึ่งมีแนวโน้มพึ่งพาหนี้นอกระบบสูง หมายเหตุ : แหล่งเงินกู้นอกระบบรวมไปถึงการกู้ยืมจากญาติ พี่น้อง คนรู้จักด้วย ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. ถึง 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย ภาระหนี้ที่เพิ่มขึ้นของคนที่มีหนี้และคนที่ไม่มีหนี้ในช่วงก่อนโควิด หน่วย : % ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีภาระหนีเพิ่มขึ้นตั้งแต่วิกฤตโควิด ระดับรายได้ของผู้ตอบแบบสอบถาม (แบ่งตามแหล่งเงินกู้ในปัจจุบัน) หน่วย : บาท 61% 39% มีภาระหนี้ในช่วงก่อน COVID-19 ไม่มีภาระหนี้ในช่วง ก่อน COVID-19 40% ของผู้ที่เป็นหนี้เป็นลูกหนี้หน้าใหม่ หลังเกิดวิกฤติโควิด • ผู้ที่ไม่มีภาระหนี้ในช่วงก่อนโควิดราว 40% ก่อหนี้นับตั้งแต่เกิดวิกฤตโควิด (หนี้หน้าใหม่ เพิ่มขึ้น 40%) และคนที่มีภาระหนี้อยู่ก่อนแล้วมีภาระหนี้เพิ่มขึ้น 61% นับตั้งแต่เกิดวิกฤตโควิด • นับตั้งแต่เกิดวิกฤตโควิดมีการกู้ยืมเพื่อเพิ่มสภาพคล่องและการใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน เป็นหลัก แต่ในระยะ 6 เดือนข้างหน้ามีแนวโน้มกู้ยืมมากขึ้นเพื่อชาระหนี้เก่า ผู้ที่กู้ยืมจาก แหล่งเงินกู้ในระบบ กู้นอกระบบ หรือ กู้ทั้งสองแหล่งมีแนวโน้มจะกู้เพิ่มขึ้นในทิศทาง เดียวกัน 0% 5% 10% 15% 20% 25% 30% 35% 40% ไม่มีรายได้ ไม่เกิน 5,000 บาท/เดือน 5,001-10,000 บาท/เดือน 10,001-15,000 บาท/เดือน 15,001-30,000 บาท/เดือน 30,001-50,000 บาท/เดือน 50,001-100,000 บาท/เดือน 100,001-200,000 บาท/เดือน มากกว่า 200,000 บาท/เดือน ในระบบเท่านั้น นอกระบบ(รวมคนที่กู้ในระบบด้วย) รายได้
  • 15. 15 ในช่วงวิกฤติโควิด ผู้ตอบแบบสอบถามที่เป็นหนี้ทั้งในและนอกระบบมีมากขึ้น จากที่เคยเป็นหนี้ใน หรือนอกระบบเพียงอย่างเดียว (คิดเป็นประมาณ 6% ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมดที่มีหนี้) ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. - 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย เป็นหนี้ทั้งสองกลุ่ม เพิ่มขึ้น 175 คน (+17%) เป็นหนี้ในระบบเพียงอย่างเดียว ลดลง 28 คน (-2%) เป็นหนี้หนี้นอกระบบอย่างเดียว ลดลง 147 คน (-35%)
  • 16. 16 ผู้ตอบแบบสอบถามมีแนวโน้มจะกู้เงินเพิ่มขึ้นในอนาคต โดยเฉพาะลูกหนี้นอกระบบที่ต้องการกู้เงินเพิ่มขึ้นจาก ทั้งแหล่งในและนอกระบบ นอกจากนี้ ลูกหนี้ในระบบมีแนวโน้มเข้าสู่วงจรการเป็นหนี้นอกระบบมากขึ้น หมายเหตุ : แหล่งเงินกู้นอกระบบรวมไปถึงการกู้ยืมจากญาติ พี่น้อง คนรู้จักด้วย ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. ถึง 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย สัดส่วนผู้ตอบแบบสอบถามที่จะก่อหนี้เพิ่มใน 6 เดือนข้างหน้า หน่วย : %, แบ่งตามแหล่งเงินกู้ในปัจจุบัน หน่วย : %, แบ่งตามแหล่งเงินกู้ในปัจจุบัน สัดส่วนผู้ตอบแบบสอบถามที่ปัจจุบันมีโอกาสกู้ยืมเพิ่มเติมสูง ใน 6 เดือนข้างหน้าจะไปกู้จากแหล่งใด ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีหนี้นอกระบบ มีโอกาสก่อหนี้เพิ่มมากกว่า 11% 10% 49% 54% 0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% ปัจจุบันมีหนี้ในระบบ ปัจจุบันมีหนี้นอกระบบ ปัจจุบันยังไม่มีแผนการกู้เงินเพิ่มเติม มีโอกาสกู้ยืมเพิ่มเติมสูง 56% 61% 61% 60% 53% 54% 55% 56% 57% 58% 59% 60% 61% ปัจจุบันมีหนี้ในระบบ ปัจจุบันมีหนี้นอกระบบ ใน6เดือนข้างหน้าจะกู้ในระบบ ใน6เดือนข้างหน้าจะกู้นอกระบบ
  • 17. 17 หมายเหตุ : การทดสอบทางสถิติโดยใช้ Chi-squared test ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นผู้บริโภค (SCB EIC Consumer survey) ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. - 2 ก.พ. 2023 จานวนผู้ตอบแบบสารวจ 4,733 ราย ปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อการเป็นหนี้ในระบบ vs หนี้นอกระบบของกลุ่มผู้ตอบแบบสารวจออนไลน์ ปัจจัย คนที่มีหนี้ในระบบ คนที่มีหนี้นอกระบบ อายุ • อายุ 20 - 25 ปี • อายุ 20 - 25 ปี • อายุ 41 - 50 ปี อาชีพ • ลูกจ้างหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ/ภาครัฐ • งานอิสระ ฟรีแลนซ์ รับจ้างทั่วไป • ค้าขายหาบเร่/แผงลอย • เจ้าของกิจการไม่มีลูกจ้าง • ลูกจ้างหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ/ภาครัฐ • งานอิสระ ฟรีแลนซ์ รับจ้างทั่วไป • นักเรียน/นักศึกษา • พ่อบ้าน/แม่บ้าน • ว่างงาน/ไม่มีรายได้ ระดับรายได้เฉลี่ย/คน/เดือน รายได้สูงกว่า (ประมาณ 27,560 บาท) รายได้ต่ากว่า (ประมาณ 16,958 บาท) วัตถุประสงค์ของการเป็นหนี้ • มีภาระหนี้จากสินเชื่อบัตรเครดิต • กู้เพื่อทาธุรกิจ • กู้ซื้ออสังหาฯ • กู้เพื่อการศึกษา • มีภาระหนี้จากสินเชื่อบัตรเครดิต • กู้เพื่อทาธุรกิจ • กู้ซื้ออสังหาฯ • กู้ซื้อยานยนต์ ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมามี ปัญหารายได้ไม่พอกับรายจ่าย บางครั้ง/บ่อยครั้ง บ่อยครั้ง ผลการทดสอบทางสถิติ * อักษรสีแดง แสดงปัจจัยหลักที่แตกต่างกันระหว่างคนมีหนี้ในระบบและคนมีหนี้นอกระบบ
  • 18. 18 หมายเหตุ : แหล่งเงินกู้นอกระบบรวมไปถึงการกู้ยืมจากญาติ พี่น้อง คนรู้จักด้วย ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. ถึง 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย วัตถุประสงค์การกู้เงินตั้งแต่เกิดวิกฤติโควิดส่วนใหญ่เพื่อใช้จ่ายค่าอาหารและสินค้าจาเป็น แต่ในระยะ 6 เดือนข้างหน้า ผู้มีหนี้ทั้งในและนอกระบบส่วนใหญ่มีแนวโน้มจะกู้เงินเพื่อชาระหนี้เก่าที่มีอยู่ คาถาม : นับตั้งแต่เกิดวิกฤติโควิดเงินที่กู้ยืมถูกนามาใช้ในวัตถุประสงค์ด้านใดบ้าง หน่วย : % กลุ่มประเภทหนี้ 30% 27% 27% 18% 17% 18% 0% 100% ในระบบ นอกระบบ ทั้งในและนอกระบบ อาหาร และค่าใช้จ่ายอื่นในชีวิตประจาวัน ชาระหนี้เก่าที่มีอยู่ ด้านที่อยู่อาศัย ด้านยานพาหนะ เพิ่มสภาพคล่องให้กิจการส่วนตัวที่มีอยู่แล้ว นามาเริ่มต้นธุรกิจใหม่ จ่ายค่าเล่าเรียนให้ตนเอง และ/หรือ บุตรหลาน จ่ายค่ารักษาพยาบาลตนเอง และ/หรือ ครอบครัว อื่น ๆ คาถาม : ในระยะ 6 เดือนข้างหน้าคาดว่าเงินที่กู้มา จะถูกใช้ในวัตถุประสงค์ใด หน่วย : % กลุ่มประเภทหนี้ 22% 23% 23% 26% 24% 23% 0% 100% ในระบบ นอกระบบ ทั้งในและนอกระบบ อาหาร และค่าใช้จ่ายอื่นในชีวิตประจาวัน ชาระหนี้เก่าที่มีอยู่ ด้านที่อยู่อาศัย ด้านยานพาหนะ เพิ่มสภาพคล่องให้กิจการส่วนตัวที่มีอยู่แล้ว นามาเริ่มต้นธุรกิจใหม่ จ่ายค่าเล่าเรียนให้ตนเอง และ/หรือ บุตรหลาน จ่ายค่ารักษาพยาบาลตนเอง และ/หรือ ครอบครัว อื่น ๆ
  • 19. 19 กลุ่มลูกหนี้นอกระบบมีปัญหาในการเข้าถึงบริการกู้เงินกู้ หน่วย : % กลุ่มลูกหนี้แต่ละประเภทเท่านั้น ส่วนใหญ่มีปัญหาในการเข้าถึงบริการกู้เงินในช่วงวิกฤติโควิด-19 หน่วย : % กลุ่มที่มีภาระหนี้เพิ่มขึ้นตั้งแต่เกิดวิกฤตโควิด ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. - 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย ในกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามที่มีภาระหนี้เพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่มีปัญหาในการเข้าถึงบริการกู้เงินจากสถาบันการเงิน และมีมุมมองว่า ยังได้รับการช่วยเหลือจากภาครัฐที่ไม่เพียงพอในช่วงวิกฤติโควิด โดยเฉพาะผู้มีหนี้นอกระบบ 64% 36% 0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% มีปัญหา ไม่มีปัญหา 53% 73% 47% 27% 0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100% หนี้ในระบบ หนี้นอกระบบ มีปัญหา ไม่มีปัญหา 4% 28% 68% 0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% เพียงพอ ไม่ได้รับความช่วยเหลือ ไม่เพียงพอ 5% 4% 25% 32% 70% 64% 0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100% หนี้ในระบบ นอกระบบ เพียงพอ ไม่ได้รับความช่วยเหลือ ไม่เพียงพอ สัดส่วนลูกหนี้นอกระบบที่ไม่ได้รับความช่วยเหลือสูงกว่าลูกหนี้ในระบบ หน่วย : % กลุ่มลูกหนี้แต่ละประเภทเท่านั้น ส่วนใหญ่มองว่าความช่วยเหลือในการแก้ปัญหาหนี้ในช่วงวิกฤติโควิด-19 ยังไม่เพียงพอ หน่วย : % กลุ่มที่มีภาระหนี้เพิ่มขึ้นตั้งแต่เกิดวิกฤตโควิด
  • 21. 21 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC โดยใช้นิยามของทักษะการเงินตามรายงานผลการสารวจทักษะทางการเงินของไทย ปี 2563 ธนาคารแห่งประเทศไทย SCB EIC วิเคราะห์ทักษะทางการเงินของครัวเรือนไทยกับการเป็นหนี้ ผ่านการสารวจคะแนน 3 ด้าน คือ ความรู้ทางการเงิน พฤติกรรมทางการเงิน และทัศนคติทางการเงิน ทักษะทางการเงินที่ดี (Financial literacy) • ความรู้ในการกระจายความเสี่ยงทางการเงิน • ความรู้เกี่ยวกับภาวะเงินเฟ้อ • ความรู้ในการคานวณอัตราดอกเบี้ยอย่างง่าย • การจัดสรรเงินก่อนนาไปใช้จ่าย • การบริหารจัดการเงิน • การชาระเงินค่างวด (ขั้นต่า/เต็มจานวน) • ทัศนคติในการเป็นหนี้ • ทัศนคติในการชาระหนี้ • ทัศนคติในการใช้จ่าย ความรู้ทางการเงินที่ดี (Financial knowledge) ทัศนคติทางการเงินที่ดี (Financial attitude) พฤติกรรมทางการเงินที่ดี (Financial behavior)
  • 22. 22 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีคะแนนความรู้ทางการเงินและพฤติกรรมทางการเงินในระดับปานกลางถึงสูง แต่คะแนนทัศนคติทางเงินส่วนใหญ่อยู่ในระดับไม่สูงนัก 1.5% 14.6% 40.8% 43.1% 0% 5% 10% 15% 20% 25% 30% 35% 40% 45% 50% น้อยมาก น้อย ปานกลาง สูง ความรู้ทางการเงิน 6.5% 65.2% 27.0% 1.4% 0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% น้อยมาก น้อย ปานกลาง สูง ทัศนคติทางการเงิน 2.1% 11.7% 55.9% 30.3% 0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% น้อยมาก น้อย ปานกลาง สูง พฤติกรรมทางการเงิน ระดับความรู้ทางการเงินที่ดี (น้อยไปมาก) ระดับพฤติกรรมทางการเงินที่ดี (น้อยไปมาก) ระดับทัศนคติทางการเงินที่ดี (น้อยไปมาก) ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. - 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย
  • 23. 23 กลุ่มที่มีคะแนนพฤติกรรมทางการเงินต่ามากมักประสบปัญหาในการบริหารจัดการหนี้บ่อยครั้งกว่า แต่กลุ่มที่มีคะแนนทัศนคติทางการเงินดีกว่า ใช่ว่าจะไม่ค่อยประสบปัญหาในการบริหารจัดการหนี้ 58.2% 47.9% 27.5% 12.1% 25.9% 36.7% 44.7% 59.3% 55.1% 55.8% 5.1% 7.4% 13.1% 32.9% 18.3% 0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100% น้อยมาก น้อย ปานกลาง สูง รวมทุกกลุ่ม พฤติกรรมทางการเงิน มีปัญหาบ่อยครั้ง มีปัญหาในบางครั้ง ไม่มีปัญหา 25.8% 24.0% 29.9% 34.8% 25.8% 45.1% 57.6% 54.3% 51.5% 55.9% 29.1% 18.4% 15.7% 13.6% 18.3% 0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100% น้อยมาก น้อย ปานกลาง สูง รวมทุกกลุ่ม ทัศนคติทางการเงิน มีปัญหาบ่อยครั้ง มีปัญหาในบางครั้ง ไม่มีปัญหา 11.4% 26.3% 27.4% 24.8% 25.9% 67.1% 56.0% 56.2% 55.0% 55.8% 21.4% 17.7% 16.4% 20.1% 18.3% 0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100% น้อยมาก น้อย ปานกลาง สูง รวมทุกกลุ่ม ความรู้ทางการเงิน มีปัญหาบ่อยครั้ง มีปัญหาในบางครั้ง ไม่มีปัญหา ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. - 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย ระดับความรู้ทางการเงินที่ดี (น้อยไปมาก) ระดับพฤติกรรมทางการเงินที่ดี (น้อยไปมาก) ระดับทัศนคติทางการเงินที่ดี (น้อยไปมาก)
  • 24. 24 ลูกหนี้นอกระบบโดยส่วนมากมีความรู้ทางการเงินที่ดี แต่อาจมีความจาเป็นฉุกเฉิน พฤติกรรมหรือทัศนคติทาง การเงินจึงสะท้อนออกมาไม่ค่อยดีนัก (เช่น ใช้เงินโดยไม่คิด ไม่วางแผนการเงิน) ทาให้จาเป็นต้องกู้หนี้นอกระบบ 1.4% 13.6% 45.2% 39.8% 0% 5% 10% 15% 20% 25% 30% 35% 40% 45% 50% ความรู้ทางการเงิน น้อยมาก น้อย ปานกลาง สูง 4.7% 24.0% 54.8% 16.5% 0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% พฤติกรรมทางการเงิน น้อยมาก น้อย ปานกลาง สูง 3.9% 60.9% 31.5% 3.6% 0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% ทัศนคติทางการเงิน น้อยมาก น้อย ปานกลาง สูง สัดส่วนการเป็น หนี้นอกระบบ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้บริโภค (Consumer survey) ผ่านช่องทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. - 2 ก.พ. 2023 มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 4,733 ราย ระดับความรู้ทางการเงินที่ดี (น้อยไปมาก) ระดับพฤติกรรมทางการเงินที่ดี (น้อยไปมาก) ระดับทัศนคติทางการเงินที่ดี (น้อยไปมาก)
  • 25. 25 คนมีหนี้นอกระบบมีคะแนนทักษะทางการเงิน คะแนนความเข้าใจหนี้นอกระบบ และระดับรายได้โดยเฉลี่ยต่ากว่า กลุ่มอื่นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ หมายเหตุ : การทดสอบทางสถิติโดยใช้การทดสอบ ANOVA และ Post hoc test ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการสารวจความคิดเห็นผู้บริโภค (SCB EIC Consumer survey) ระหว่างวันที่ 20 ม.ค. - 2 ก.พ. 2023 จานวนผู้ตอบแบบสารวจ 4,733 ราย คะแนนความเข้าใจหนี้นอกระบบของคนมีหนี้ (จาแนกตามประเภทของหนี้) หน่วย : % (ค่าเฉลี่ยคะแนนแต่ละกลุ่ม, Max = 100%) คะแนนทักษะทางการเงิน (จาแนกตามประเภทของหนี้) หน่วย : % (ค่าเฉลี่ยคะแนนแต่ละกลุ่ม, Max = 100%) ระดับรายได้ (จาแนกตามประเภทของหนี้) หน่วย : บาท/เดือน (ค่าเฉลี่ยรายได้ของแต่ละกลุ่ม) คะแนนทักษะทางการเงิน (จาแนกตามระดับรายได้) หน่วย : % (ค่าเฉลี่ยคะแนนแต่ละกลุ่ม, Max = 100%) 40 45 50 55 60 65 70 75 80 หนี้นอกระบบเท่านั้น หนี้นอกและในระบบ หนี้ในระบบเท่านั้น ไม่มีหนี้ 40 45 50 55 60 65 70 75 80 หนี้นอกระบบเท่านั้น หนี้นอกและในระบบ หนี้ในระบบเท่านั้น 40 45 50 55 60 65 70 75 80 ไม่เกิน 15,000 15,001-50,000 50,001-100,000 มากกว่า 100,000 5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 30,000 35,000 หนี้นอกระบบเท่านั้น หนี้นอกและในระบบ หนี้ในระบบเท่านั้น ไม่มีหนี้ คะแนนทักษะทางการเงินโดยเฉลี่ยของกลุ่มคนไม่มีหนี้สูงกว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสาคัญ รองมาคือกลุ่มคนมีหนี้ในระบบเท่านั้น และต่าสุดคือกลุ่มคนมีหนี้นอกระบบ คะแนนทักษะทางการเงินโดยเฉลี่ยของกลุ่มคนรายได้สูงมีคะแนนสูงกว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสาคัญ ขณะที่คนรายได้ต่ามีคะแนนทักษะทางการเงินโดยเฉลี่ยต่าสุด ระดับรายได้โดยเฉลี่ยของคนไม่มีหนี้สูงกว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสาคัญ รองมาคือกลุ่มคนมีหนี้ในระบบเท่านั้น กลุ่มคนมีหนี้นอกระบบมีระดับรายได้เฉลี่ยต่าสุด คะแนนความเข้าใจเกี่ยวกับหนี้นอกระบบโดยเฉลี่ยของกลุ่มคนมีหนี้ในระบบเท่านั้น สูงกว่ากลุ่มคนมีหนี้นอกระบบอย่างมีนัยสาคัญ
  • 27. 27 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC ภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคครัวเรือน • ให้ความช่วยเหลือเชิงนโยบายเพื่อหยุดวงจรหนี้ โดยเฉพาะหนี้นอกระบบ • หยุดวงจรหนี้นอกระบบอย่างค่อยเป็นค่อยไป เนื่องจาก ประชาชนพึ่งพาหนี้นอกระบบในสัดส่วนสูง หากเร่งรัด อาจเกิดผลเสียต่อเศรษฐกิจได้ • ให้ความรู้ทักษะทางการเงินทุกมิติอย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะทัศนคติทางการเงินและความเข้าใจหนี้นอก ระบบ เช่น การคิดก่อนใช้ การวางแผนทางการเงิน • เตรียมพร้อมรับมือ หากปัญหาหนี้ครัวเรือนรุนแรงขึ้น ทาให้ผู้บริโภคลดรายจ่ายลง เช่น วางแผนสารองกระแส เงินสด กระจายความเสี่ยง ลดต้นทุน ปรับปรุง ประสิทธิภาพ พัฒนาระบบดิจิทัล และแสวงหาโอกาส ทางธุรกิจใหม่ ๆ • ติดตามกฎระเบียบและนโยบายภาครัฐอย่างใกล้ชิด เพื่อประโยชน์ในการวางแผนธุรกิจ เนื่องจากภาครัฐ มีแนวโน้มจะเร่งแก้ปัญหาหนี้ครัวเรือนอย่างจริงจังขึ้น • ผ่อนคืนหนี้ให้มากกว่าการจ่ายขั้นต่าเพื่อเร่งปลดหนี้ • เสริมสร้างนิสัยการออมรองรับวิกฤติที่อาจเกิดขึ้นอีก • หาทางเข้าถึงแหล่งเงินกู้ในระบบก่อน • เพิ่มความมั่นคงของกระแสรายได้ โดยยกระดับทักษะ ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานหลัง วิกฤติโควิด นัยต่อภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคครัวเรือน
  • 28. 28 ดร.สมประวิณ มันประเสริฐ รองผู้จัดการใหญ่ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มงาน Economic Intelligence Center (EIC) และรองผู้จัดการใหญ่ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มงานกลยุทธ์องค์กร คณะผู้จัดทา ดร.ฐิติมา ชูเชิด ผู้อานวยการฝ่ายวิจัย ด้านเศรษฐกิจ และตลาดการเงิน thitima.chucherd@scb.co.th ดร.ปุณยวัจน์ ศรีสิงห์ นักเศรษฐศาสตร์อาวุโส poonyawat.sreesing@scb.co.th วิชาญ กุลาตี นักวิเคราะห์ vishal.gulati@scb.co.th ดร.อสมา เหลี่ยมมุกดา นักวิเคราะห์ asama.liammukda@scb.co.th กฤษณา พรธาดาวิทย์ Economist trainee t700027@scb.co.th