SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 28
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน
  ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 2 วิชา
   ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา 2204-2417
            ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554




                          โดย
              นางสาวพิม พ์พ ิส ุท ธิ์ ปลอดโปร่ง




วิท ยาลัย เทคนิค ปทุม ธานี                                 สำา นัก งาน
คณะกรรมการการอาชีว ศึก ษา


หัว ข้อ เรื่อ ง การศึ ก ษาความพึ ง พอใจในการจั ด การเรี ย นการสอน
ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)     ชั้ น ปี ที่ 2 วิ ช าปฏิ บั ติ ง าน
บ ริ ก า ร ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ร หั ส วิ ช า 2204-2417 ภ า ค เ รี ย น ที่ 2
             ปีการศึกษา 2554
ผู้ว ิจ ัย : นางสาวพิมพ์พิสุทธิ์ ปลอดโปร่ง

                                บทคัด ย่อ

       การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เรื่อง “การศึกษาความพึงพอใจ
ในการจัดการเรียนการสอน วิชาปฏิบตงานบริการคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา
                                        ั ิ
2201-2417 ในภาคเรีย นที่ 2 ปี การศึ กษา 2554” ฉบั บ นี้ ไ ด้ จั ด ทำา ขึ้ น
โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้วิจัยได้นำาผลการวิจัยมาใช้เป็นแนวทางการ
พั ฒ นา ปรั บ ปรุ ง บู ร ณาการการจั ด การเรี ย นการสอน วิ ช าปฏิ บั ติ ง าน
บริการคอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถของผู้สอน
ในการ       วางแผนการจัดการเรียนการสอนที่เป็นประโยชน์โดยตรงแก่
นักเรียน อย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้โดยเน้น
ผู้เรียนเป็นจุดศูนย์กลางต่อไป




                                    สารบัญ



หน้า
บทคัด ย่อ .............................................................................
..................................              3
สารบัญ .....................................................................................................
...........           4
บทที่ 1 บทนำา
          ความเป็นมาและความสำาคัญของ
ปัญหา....................................................                           6
         วัตถุประสงค์ของการ
วิจัย...........................................................................
          6
         ขอบเขตของการ
วิจัย..................................................................................
               7
         ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้
รับ.......................................................................                             8

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจ ัย ที่เ กี่ย วข้อ ง
       เอกสารที่
เกี่ยวข้อง...............................................................................
......        9
       งานการวิจัยที่
เกี่ยวข้อง..............................................................................
             10

บทที่ 3 วิธ ีด ำา เนิน การวิจ ัย
       แบบแผนการ
วิจัย.....................................................................................
.             13
       ประชากร/กลุ่ม
ตัวอย่าง.............................................................................
              13
       เครื่องมือที่ใช้ในการ
วิจัย...........................................................................
       13
       การดำาเนินการวิจัย/การเก็บรวบรวม
ข้อมูล...............................................           14
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูล................................................................               14

บทที่ 4 ผลการวิเ คราะห์
ข้อ มูล .........................................................................
       ตารางที่ 4.1 จำานวนและร้อยละของผู้ตอบ
แบบสอบถาม..........................              15
       ตารางที่ 4.2 ผลความพึงพอใจด้านเนื้อหา
วิชา...........................................     15
       ตารางที่ 4.3 ผลความพึงพอใจด้านผู้สอน
................................................    16
       ตารางที่ 4.4 ผลความพึงพอใจด้านกิจกรรมการเรียนการสอน
................             17
       ตารางที่ 4.5 ผลความพึงพอใจด้านปัจจัยส่งเสริมการเรียนการ
สอน.........                 18




                                  สารบัญ (ต่อ )
                                                                                    หน้า

บทที่ 5 สรุป และข้อ เสนอ
แนะ ............................................................................
         สรุปผลการ
วิจัย.....................................................................................
.....         19
         แนวทางในการพัฒนาการเรียนการ
สอน....................................................                19

บรรณานุก รม .....................................................................
......................................           21
ภาค
ผนวก .................................................................................
................................
       แบบสอบถามสำารวจความพึงพอใจการจัดการเรียนการสอน...
…………….                       22
       ตารางแสดงการวิเคราะห์การหาค่าเฉลี่ยความพึงพอใจด้าน
เนื้อหา...............           25
       ตารางแสดงการวิเคราะห์การหาค่าเฉลี่ยความพึงพอใจด้านผู้
สอน...............           28
       ตารางแสดงการวิเคราะห์การหาค่าเฉลี่ยความพึงพอใจด้าน
กิจกรรมการเรียนการสอน 31
       ตารางแสดงการวิเคราะห์การหาค่าเฉลี่ยความพึงพอใจด้านปัจจัย
ส่งเสริมการเรียน 34




                                     บทที่ 1
                                     บทนำา


1.1 ความเป็น มาและความสำา คัญ ของปัญ หา
    การจั ด การเรี ย นการสอนตามพระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ
พุทธศักราช 2542 ได้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสำาคัญที่สุด ผู้เรียนทุกคนมีความ
สามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ในการจัดการศึกษาจึงจำาเป็น
ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ ดังนั้นใน
การจัดการเรียนการสอนต้องมีรูปแบบ ที่หลากหลายเพื่อให้สนองความ
ต้องการของผู้เรียนรายบุคคลได้ ผู้สอนต้องให้ความสำาคัญกับผู้เรียนมาก
ที่สุด โดยการศึกษาถึงวิธีการสอนและวิธีการเรียนของผู้เรียนในรูปแบบ
ใหม่ ๆ เพื่อ นำา มาใช้ ในการแก้ ปั ญ หา หรือ พั ฒนาผู้ เรี ย น ทั้ งนี้ เน้ นให้ ผู้
สอนสามารถนำากระบวนการวิจัยมาผสมผสาน หรือบูรณาการใช้ในการ
พัฒนาการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักสร้างองค์ความรู้ใหม่ ทั้งนี้ผู้สอนและ
ผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยากร
ประเภทต่าง ๆ และมาตรา 30 กำาหนดให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการ
เรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อ
พั ฒ นาการเรี ย นรู้ ที่ เ หมาะสมกั บ ผู้ เ รี ย นในแต่ ล ะระดั บ การศึ ก ษา จาก
ภารกิจที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยของครู ทั้งในฐานะผู้วิจัย และผู้ส่งเสริมให้ผู้
เรียนทำาการวิจัยได้ ตามที่ระบุไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติดัง
กล่าว จึงจำาเป็นที่ครูผู้สอนจะต้องมีความรู้ความสามารถในการดาเนินการ
วิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นา การเรี ย นการสอนของตนเอง พั ฒ นาการเรี ย นรู้ ข องผู้
เรียน หรือที่เรียกว่า การวิจัยในชั้นเรียน (สมบูรณ์ ตันยะ. 2547:2)
      การวิ จั ย ในชั้ น เรี ย นมี เ ป้ า หมายสำา คั ญ อยู่ ที่ ก ารพั ฒ นางานจั ด การ
เรี ย นการสอนของครู ลั ก ษณะของการวิ จั ย เป็ น การวิ จั ย เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร
(Action Research) คื อ เป็ น การวิ จั ย ควบคู่ ไ ปกั บ การปฏิ บั ติ ง านจริ ง
และนำา ข้อ มูล ที่ได้ม าวิเคราะห์ ส รุ ป ผลการวิ จั ย นำา ผลการวิ จั ย ไปใช้ ใน
ก า ร พั ฒ น า ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น แ ล้ ว
จะพั ฒ นาข้ อ ความรู้ ที่ ไ ด้ นั้ น ต่ อ ไป ให้ มี ค วามถู ก ต้ อ งเป็ น สากลและเป็ น
ประโยชน์ ม ากยิ่ ง ขึ้ น ต่ อ การพั ฒ นาการเรี ย นการสอนเพื่ อ การพั ฒ นา
นักเรียนของครูให้มีคุณภาพยิ่งๆขึ้นไป โดยทั่วไปแล้วประชากรเป้าหมาย
ของการวิจัย ในชั้นเรีย นจะถู กจำา กั ดเป็ นกลุ่ม ผู้เรี ยนในความรับ ผิด ชอบ
ของครูนักวิจัยเท่านั้น และข้อความรู้ที่ได้มักจะมีความเฉพาะคือจะเกี่ยว
กับสภาพปัญหาและผลการพัฒนาผู้เรียนในชั้นเรีย นของครูนักวิจั ยเป็น
สำาคัญ (สุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม. 2538:6)

1.2 วัต ถุป ระสงค์ข องการวิจ ัย
     เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน วิชาเขียนแบบ
ช่างเชือมโลหะ 1 ในด้านเนื้อหาวิชา ด้านผู้สอน ด้านกิจกรรมการเรีย น
       ่
การสอน และด้านปัจจัยส่งเสริมการเรียนการสอน


1.3 ขอบเขตของการวิจ ัย
   ป ร ะ ช า ก ร ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร ทำา วิ จั ย ใ น ค รั้ ง นี้ คื อ นั ก เ รี ย น ร ะ ดั บ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ที่
เรี ย นวิช าปฏิ บั ติง านบริก ารคอมพิ ว เตอร์ ในภาคเรี ย นที่ 2 ปี ก ารศึ ก ษา
2554 จำานวน 100 คน
      1.3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
            ประชากร นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่
2 แผนกวิ ชาคอมพิ ว เตอร์ ที่ เ รี ย นวิ ชาปฏิบตงานบริการคอมพิวเตอร์ ใน
                                                         ั ิ
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จำานวน 100 คน
            กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้น
ปีที่ 2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ ที่เรียนวิชาปฏิบตงานบริการคอมพิวเตอร์ ใน
                                                             ั ิ
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จำานวน 82 คน
      1.3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
            เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการเก็ บ ข้ อ มู ล ครั้ ง นี้ จะเป็ น แบบสอบถาม
(Questionnaire) สำาหรับนักเรียน ประกอบด้วยคำาถาม 3 ตอน คือ
            ตอนที่ 1 เป็นคำา ถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลของนักเรียน เพื่อ
ถามข้ อ มูล เกี่ย วกับเพศ คะแนนเฉลี่ ย และจำา นวนครั้ งที่ นักเรี ย นเข้ าชั้ น
เรียน
            ตอนที่ 2 เป็ น แบบสอบถามเกี่ ย วกั บ ระดั บ ความพึ ง พอใจของ
นั ก เรี ย น ที่ มี ต่ อ การจั ด การเรี ย น       การสอน วิ ช าปฏิ บั ติ ง านบริ ก าร
คอมพิ ว เตอร์ มี ลั ก ษณะเป็ น แบบสอบถามแบบมาตราส่ ว นประมาณค่ า
(Rating Scale) ชนิดกำาหนดคำาตอบเป็นข้อความ 5 ระดับ โดยแบ่งออก
เป็น 5 ด้าน ดังนี้
            1)           ด้านเนื้อหาวิชา                            จำานวน     10 ข้อ
            2)           ด้านผู้สอน                          จำานวน       15 ข้อ
            3)           ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน                        จำานวน    10
ข้อ
            4)           ด้านปัจจัยส่งเสริมการเรียนการสอน                 จำานวน    10
ข้อ
               รวม                                 จำานวน           45 ข้อ
        ลักษณะของตัวแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating
Scale) 5 ระดับ
        5 คะแนน    ระดับความพึงพอใจ     มากที่สุด
        4      คะแนน ระดับความพึงพอใจ       มาก
        3      คะแนน ระดับความพึงพอใจ       ปานกลาง
        2      คะแนน ระดับความพึงพอใจ       น้อย
        1      คะแนน ระดับความพึงพอใจ       น้อยที่สด
                                                    ุ
เมื่อรวบรวมข้อมูลและแจกแจงความถี่ แล้ ว จะใช้ คะแนนเฉลี่ ย
ของกลุ่ ม ตั ว อย่ า ง มาพิ จ ารณาระดั บ ความพึ ง พอใจ ซึ่ ง มี เ กณฑ์ ใ นการ
พิจารณาดังนี้




        ค่าเฉลี่ย         4.20   – 5.00 หมายถึง       ระดับความพึงพอใจ
ในระดับ         มากที่สุด
        ค่าเฉลี่ย         3.40   – 4.19 หมายถึง       ระดับความพึงพอใจ
ในระดับ         มาก
        ค่าเฉลี่ย         2.60   – 3.39 หมายถึง       ระดับความพึงพอใจ
ในระดับ         ปานกลาง
        ค่าเฉลี่ย         1.80   – 2.59 หมายถึง       ระดับความพึงพอใจ
ในระดับ         น้อย
        ค่าเฉลี่ย         1.00   – 1.79 หมายถึง       ระดับความพึงพอใจ
ในระดับ         น้อยที่สุด
    1.3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยจะดำาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
ด้วยตนเอง โดยนำาแบบสอบถามไปแจกให้แก่นักเรียน
    1.3.4 การใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้ได้ใช้สถิติวิเคราะห์
ข้อมูลด้วยค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) และค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D.)
1.4 ประโยชน์ท ี่ค าดว่า จะได้ร ับ
     1)   ได้ทราบถึงความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนในวิชา
ปฏิบตงานบริการคอมพิวเตอร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
    ั ิ
     2)   เพือใช้เป็นแนวทางให้ผสอนได้พฒนาการจัดการเรียนการสอน
              ่                  ู้     ั
ในวิชาปฏิบตงานบริการคอมพิวเตอร์ และวิชาอื่น ๆ ต่อไป
          ั ิ
บทที่ 2
                 เอกสารและงานวิจ ัย ที่เ กี่ย วข้อ ง

2.1 ทฤษฎีเ กี่ย วกับ ความพึง พอใจ
       2.1.1 ทฤษฎีทั่วไปเกี่ยวกับการจูงใจของมาสโลว์
             พยุ ง ศั ก ดิ์ นามวรรณ (2537, หน้ า 53- 54) ได้ ใ ห้ แ นวคิ ด ที่
รู้ จั ก กั น อ ย่ า ง ก ว้ า ง ข ว า ง
คื อ ทฤษฎี ทั่ ว ไปเกี่ ย วกั บ การจู ง ใจของมาสโลว์ (Maslow’s general
theory of human motivation) เ ป็ น ท ฤ ษ ฎี ลำา ดั บ ขั้ น ข อ ง ค ว า ม
ต้องการ ของมนุษย์ โดยตั้งสมมติฐานว่า มนุษย์มีความต้องการอยู่เสมอ
ไม่ มี สิ้ นสุ ด เมื่ อ ความ ต้อ งการได้ รั บ การตอบสนอง หรื อ พึ ง พอใจอย่ าง
หนึ่งอย่างใดแล้ว ความต้องการสิ่งอื่น ๆ ก็ จะเกิดขึ้นมาอีก ความต้องการ
ของมนุษย์มีลักษณะเป็นลำา ดั บขั้ นจากตำ่า สุ ด ไปหาสู งสุ ด ซึ่ง แบ่งเป็ น 5
ขันตอน คือ
   ้
             1)          ความต้องการความสมหวังในชีวิต (Self-
Actualization Needs)
             2)          ความต้องการชื่อเสียง ยกย่อง (Self-esteem Needs)
             3)          ความต้องการด้านสังคม ความรัก ความพอใจ (Belong
ness And Love Needs)
             4)          ความต้องการความปลอดภัย (Safety Needs)
             5)          ความต้องการด้านร่างกาย (Physiological Needs)
             ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
             1)          ความต้ อ งการด้ า นร่ า งกาย (Physiological needs)
เป็นความต้องการเบื้องต้น เพื่อความอยู่รอด เช่น ความต้องการในเรื่อง
อาหาร นำ้า ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค ความต้องการพักผ่อน
และความต้องการทางเพศ เป็นต้น ความต้องการทางด้านร่างกาย จะมี
อิทธิพลต่อพฤติกรรมของคนก็ต่อเมื่อความต้องการทางด้านร่างกายยังไม่
ได้รับการตอบสนองเลย
             2)          ความต้ อ งการความปลอดภั ย (Safety need) ถ้ า หาก
ความต้ อ งการทางด้ า น ร่ า งกายได้ รั บ การตอบสนองตามสมควรแล้ ว
มนุษย์ยังมีความต้องการสูงในขั้นต่อไป คือ ความต้องการทางด้านความ
ปลอดภัยหรือความมั่นคงต่าง ๆ ความต้องการทางด้านความปลอดภัย จะ
เป็นเรื่องเกี่ยวกับการป้องกัน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยจากอันตรายต่าง
ๆ ที่ เกิดขึ้นจากร่างกาย ความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจ
3)      ความต้ อ งการทางด้ า นสั ง คม ความรั ก ความพอใจ
(Belongingness and love needs) ภายหลังจากที่ตนได้รับการตอบ
สนองในสองขั้ น ดั ง กล่ า วแล้ ว ก็ จ ะมี ค วามต้ อ งการ ที่ สู ง ขึ้ น คื อ ความ
ต้องการทางด้านสังคม จะเริ่มเป็นสิ่งจู งใจที่สำา คัญต่อพฤติกรรมของคน
ความต้องการทางด้านนี้ เป็นความต้องการเกี่ยวกับ การอยู่ร่ วมกั น และ
การได้รับการยอมรับจากบุคคลอื่น โดยมีความรู้สึกว่า ตนเองนั้นเป็นส่วน
หนึ่งของกลุ่มทางสังคมอยู่เสมอ
          4)      ความต้ อ งการชื่ อ เสี ย งยกย่ อ ง (Self-esteem needs)
ความต้องการขั้นต่อมาจะเป็นความต้องการที่ประกอบไปด้วยสิ่งต่าง ๆ คือ
ความมั่นใจในตนเองในเรื่องความสามารถ ความรู้ และความสำาคัญในตัว
ของตัวเอง รวมตลอดทั้งความต้องการที่จะมีฐานะเด่นเป็นที่ ยอมรับของ
บุคคลอื่น หรืออยากให้บุคคลอื่น         ยกย่องสรรเสริญในความรับผิดชอบ
ในหน้าที่ การงาน การดำารงตำาแหน่งที่สำาคัญในองค์การ
          5)      ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ค ว า ม ส ม ห วั ง ใ น ชี วิ ต (Self-
actualization needs) ความต้องการสูงสุดของมนุษย์ คือ ความสำาเร็จ
ในชีวิ ตตามความนึก คิด หรือ ความคาดหวั งความ ทะเยอทะยาน ความ
ใฝ่ฝัน ภายหลังจากที่มนุษย์ได้รับการสอบสนองความต้องการ ทั้ง 4 ขั้น
อย่างครบถ้วนแล้ว ความต้องการในขั้นนี้จะเกิดขึ้น และมักจะเป็นความ
ต้องการที่เป็น อิสระเฉพาะแต่ละคน ซึ่งต่างก็มีความนึกคิดใฝ่ฝันอยากที่
จะประสบผลสำาเร็จในสิ่งที่ตน คาดฝันไว้อย่างสูงส่งในทัศนะของตน
     2.1.2 ทฤษฏีความต้องการ อี อาร์ จี (E R G Theory)
          ในช่ ว งปี ค.ศ.1969 เคลย์ ดั น อั ล เดอร์ เ ฟอร์ (อ้ า งถึ ง ใน
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2535, หน้า 195-197) ได้เสนอ แนว
ความคิดที่สอดคล้องกับมาสโลว์ ซึ่งได้แบ่งระดับความต้องการของมนุษย์
เป็น 3 ขั้นตอนคือ
          1)      ความต้ อ งการที่ จ ะมี ชี วิ ต อยู่ (Existence Needs : E)
ประกอบด้วยความต้องการที่จำา เป็นในการอยู่รอดของมนุษย์ที่เกี่ยวข้อง
กับสภาพแวดล้อม
          2)      ความต้องการสัมพันธ์กับผู้อื่น (Relatedness Needs :
R) เช่น ครอบครัว เพื่อน ร่วมงาน และผู้บังคับบัญชา
          3)      ความต้องการเจริญ เติ บ โต (Growth NEEDS :G) เป็น
ความต้องการที่จะพัฒนา ตนเอง และใช้ศักยภาพในตนเองที่มีอยู่ ให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด ซึ่งเป็นความต้องการ สูงสุด
          จะเห็นได้ว่า ทฤษฏีของอัลเดอร์เฟอร์ มีความคล้ายคลึงกับทฤษฏี
ลำาดับความ ต้องการของมนุษย์ของมาสโลว์ แต่แตกต่างที่ความต้องการ
ของมนุษย์อาจกลับไปกลับมาได้ เช่น กระบวนการความพึงพอใจ ความ
ก้าวหน้า (Satisfaction – progression process) อาจทำาให้อึดอัดใจ
ในความพยายาม เพราะต้ อ งเพิ่ ม               ความรั บ ผิ ด ชอบ จึงกลั บ มาสนใจ
ความต้อ งการทางสัง คม หรือความต้ อ งการความเป็ นอยู่ อ ย่ างสุ ข สบาย
แทน เรี ย กสภาพการณ์ เช่ น นี้ ว่ า Frustration regression process
(นันทนา ประกอบกิจ 2538, หน้า 37-38)
         อัลเดอร์เฟอร์ เห็นว่าความสำา คัญของความแตกต่างของบุ ค คล
ในความต้องการต่าง ๆ กัน ทั้งความแตกต่างของบุคคลในระดับพัฒนา
และความแตกต่ า งของบุ ค คลในฐานะ สมาชิ ก ของกลุ่ ม เขานำา ทฤษฏี
ความต้ อ งการของมนุ ษ ย์ ข องมาสโลว์ มาประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นแง่ ที่ ว่ า แม้ ผู้
บริหารจะพยายามตอบสนองความต้องการระดับต่าง ๆ ของพนักงานโดย
การ ดำา เนิ น การด้ ว ยวิ ธี ต่ า ง ๆ แต่ บ างครั้ ง การตอบสนองเหล่ า นั้ น อาจ
ติดขัด หรือสิ่งที่จะพึงมอบให้ อาจยังไม่มีการตอบสนองนั้น ๆ ก็จะไม่ได้
ผลดีตามต้องการ ผู้บริหารจึงจำา เป็นต้ องปรับ เปลี่ยนการจู งใจ หรือหัน
กลับให้ถูกทาง มิฉะนั้นการจูงใจอาจไม่เกิดประโยชน์ เท่าที่ควร
2.2 แนวคิด ที่เ กี่ย วกับ ความพึง พอใจ
      ความพึ ง พอใจหรื อ ความพอใจ (Satisfaction) พจนานุ ก รมด้ า น
จิตวิทยา Chaplin (อ้างถึงใน ธนพร ชุมวรฐายี 2539, หน้า 8) ได้ให้
ความหมายไว้ ว่ า หมายถึ ง ความรู้ สึ ก ของผู้ ที่ ม ารั บ บริ ก ารต่ อ สถาน
บริ ก ารตามประสบการณ์ ที่ ไ ด้ รั บ จาการเข้ า ไปติ ด ต่ อ ขอรั บ บริ ก ารใน
สถานบริ ก ารนั้ น นอกจากนี้ ยั ง มี ผู้ ใ ห้ ค วามหมายของความพึ ง พอใจไว้
หลากหลาย เช่น ความพึงพอใจ คือทัศนคติในทางบวกของบุคคลจะเกิด
ขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ    ทุกสิ่งที่เกี่ยวเนื่องจากความต้องการด้านพื้นฐานของ
มนุษย์ ถ้าบุคคลได้รับความตึ งเครียด มีผลเกี่ยวเนื่องจากความต้องการ
ด้ า นพื้ น ฐานของมนุ ษ ย์ จ ะเกิ ด ความพึ ง พอใจมากขึ้ น (Smith 1966,
หน้า 115) ส่วน (Vroom 1967, หน้า 90) กล่าวว่า ทัศนคติและความ
พึงพอใจเป็นสิ่งหนึ่งที่สามารถใช้แทนกันได้ เพราะทั้งสองคำา นี้จะหมาย
ถึงผลที่ได้จากการที่บุคคลเข้าไปมีส่วนร่วมในสิ่งนั้น ทัศนคติด้านบวก จะ
แสดงให้เห็นสภาพความพึงพอใจ                   ในสิ่งนั้น และทัศนคติด้านลบและ
แสดงให้เห็นสภาพความไม่พึงพอใจนั้นเองสอดคล้อง กับ เชลเลย์ (อ้าง
ถึงในจิรวิทย์ เดชจรัสศรี 2538, หน้า 40) ที่ศึกษาแนวความคิดเกี่ยวกับ
ความพึงพอใจ ซึ่งสรุปได้ว่ า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกสองแบบของ
มนุษย์ คือ ความรู้สึกในทางบวก และความรู้สึกในทางลบ ความรู้สึกทาง
สองแบบของมนุษย์ คือ ความรู้สึกในทางบวก และความรู้สึกในทางลบ
ความรู้ สึ ก ทางบวกเป็ น ความรู้ สึ ก ที่ เ กิ ด ขึ้ น แล้ ว จะทำา ให้ เ กิ ด ความสุ ข
ความสุขนั้นเป็นความรู้สึกที่แตกต่างจากความรู้สึกทางบวกอื่น กล่าวคือ
เป็นความรู้สึกที่ระบบย้อนกลับ ความสุขสามารถทำา ให้เกิดความสุขหรือ
ความรู้สึกทางบวกเพิ่ม ขึ้นได้ อี ก ดังนั้ น จะเห็นได้ ว่ าความสุ ข เป็ นความ
รู้สึกที่สลับซับซ้อน และความสุขนั้นมีผลต่อบุคคลมากกว่าความรู้สึกทาง
บวกอื่น ๆ ส่วนความรู้สึกทางลบ ความรู้สึกทางบวก และความสุขมีความ
สัม พันธ์กันอย่างสลับซับซ้อ นและระบบ ความสัม พั นธ์ ข องความรู้ สึ กทั้ ง
สามนี้ เรีย กว่ า ระบบความพึ ง พอใจ โดยความพึ ง พอใจจะ เกิ ด ขึ้ นเมื่ อ
ระบบความพึงพอใจมีความรู้สึกทางบวกมากกว่าทางลบ
       สิ่งที่ทำา ให้เกิดความรู้สึกพึงพอใจของมนุ ษย์มั กจะได้แก่ ทรัพยากร
(Resources) หรือ สิ่ งเร้ า (Stimuli) การวิ เ คราะห์ ร ะบบความพอใจคื อ
การศึกษาว่าทรัพยากรหรือสิ่งเร้า แบบใดเป็นสิ่งที่ต้องการที่จะทำาให้เกิด
ความพึงพอใจและความสุขแก่มนุษย์ ความพอใจ จะเกิดได้มากที่ใดเมื่อมี
ทรัพยากรทุกอย่างที่เป็นที่ต้องการครบถ้วน
       นอกจากนี้ กิ ติ ย า ปรี ดี ดิ ล ก (2524, หน้ า 321-322) ได้ ใ ห้ ค วาม
หมายของความพึง พอใจว่ า หมายถึงความรู้ สึ กชอบหรื อ พอใจที่ มี อ งค์
ประกอบ และสิ่งจูงใจในด้านต่าง ๆ ของงาน และเขาได้รับการตอบสนอง
ความต้องการเขาได้
        หลุ ย จำา ปาเทศ (2533, หน้ า 35) ได้ อ ธิ บ ายว่ า ความพึ ง พอใจ
หมายถึง ความ ต้องการได้บรรลุเป้าหมาย พฤติกรรมที่แสดงออกมาก็จะมี
ความสุข สังเกตได้จากสายตา คำาพูด และการแสดงออก
        ชวิ ณี เดชจิ น ดา (2530, หน้ า 45) กล่ า วถึ ง ความพึ ง พอใจว่ า
หมายถึง ความรู้สึกหรือ ทัศนคติของบุคคลที่มีต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดหรือปัจจัย
ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ความรู้สึกพอใจจะ เกิดขึ้นเมื่อความต้องการของบุคคล
ได้รับการตอบสนองหรือบรรลุจุดมุ่งหมายในระดับ
        จากที่กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกหรือ
ทัศนคติ ทางด้านบวกของบุคคลที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ
สิ่งนั้นสามารถ ตอบสนองความต้องการให้แก่บุคคลนั้นได้ แต่ทั้งนี้ความ
พึ ง พอใจของแต่ ล ะบุ ค คลย่ อ มมี ความแตกต่ า งกั น ขึ้ น กั บ ค่ า นิ ย มและ
ประสบการณ์ที่ได้รับ
        โวลแมน (1973, หน้ า 384) กล่ า วว่ า ความพึ ง พอใจ หมายถึ ง
ความรู้สึกที่มีความสุข เมื่อได้รับผลสำาเร็จตามจุดมุ่งหมาย ความต้องการ
หรือแรงจูงใจ
       2.2.1 ความหมายของความพึง พอใจ
              ความพึงพอใจตรงกับคำาในภาษาอังกฤษว่า “Satisfaction” มีผู้
ให้ความหมายของความพึงพอใจ ไว้ดังนี้
              พิน คงพูล (2529, หน้า 21) ได้ส รุป ความหมายของความพึ ง
พอใจไว้ ว่ า หมายถึ ง ความรู้ สึ ก รั ก ชอบ ยิ น ดี เต็ ม ใจ หรื อ เจตคติ ข อง
บุคคลที่เกิดจากการได้รับการตอบสนอง ความต้องการทั้งด้านวัตถุและ
จิตใจ
กู๊ด (1973, หน้า 320) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจว่า
ความพึงพอใจ หมายถึง สภาพ คุณภาพ หรือระดับความพึงพอใจซึ่งเป็น
ผลมาจากความสนใจต่าง ๆ และ ทัศนคติที่บุคคลมีต่อสิ่งที่ทำาอยู่
              วู ล แมน (1973, หน้ า 384) ได้ ใ ห้ ค วามหมายของความพึ ง
พอใจไว้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่มีความสุขเมื่อได้รับผล
สำาเร็จตามความมุ่งหมาย ความต้องการ หรือ แรงจูงใจ
              สรุปได้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่ดี หรือเจตคติที่ดี
ของบุคคลที่มีต่อ สิ่งนั้น ๆ เมื่อบุคคลอุทิศแรงกาย แรงใจ และสติปัญญา
เพื่อกระทำาในสิ่งนั้น ๆ
       2.2.2 ความสำา คัญ ของความพึง พอใจ
              สาโรช ไสยสมบัติ (2534, หน้า 15) กล่าวถึง ความสำาคัญของ
ค          ว       า   ม      พึ   ง      พ        อ        ใ      จ     ว่   า
ความพึ ง พอใจเป็ น ปั จ จั ย สำา คั ญ ที่ ช่ ว ยให้ ง านประสบ ผลสำา เร็ จ โดย
เฉพาะอย่างยิ่งงานเกี่ยวกับการให้บริการ ซึ่งเป็นปัจจัยสำาคัญประการแรก
ที่ เป็นตัวบ่งชี้ถึงความเจริญก้าวหน้าของงานบริการก็คือ จำานวนผู้มาใช้
บริการ ดังนั้น ผู้บริหารที่ชาญฉลาดจึงควรอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาให้ลึก
ซึ้ ง ถึ ง ปัจ จัย และองค์ ป ระกอบต่ า ง ๆ ที่ จ ะทำา ให้ เ กิ ด ความพึ ง พอใจ ทั้ งผู้
ปฏิบัติงานและผู้มาใช้บริการ เพื่อใช้เป็นแนวทางใน การบริหารองค์กร
ให้มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงที่สุดจากความสำาคัญดังกล่าว สรุป
ได้ว่า หากบุคคลมีความพึงพอใจย่อมส่งผลต่อ ความเจริ ญก้ าวหน้ าของ
หน่วยงาน ตลอดจนทำาให้เกิดความศรัทธาในหน่วยงานต่อไป




                                       บทที่ 3
                             วิธ ีด ำา เนิน การวิจ ัย
การวิ จั ย เรื่ อ ง การศึ ก ษาความพึ ง พอใจการจั ด การเรี ย นการสอน
วิชาการปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์ของนักศึกษาในรายวิชาปฏิบัติงาน
บริ การคอมพิว เตอร์ ประจำา ภาคเรี ย นที่ 2 ปี การศึ กษา 2554 ผู้ วิ จั ย ได้
ดำาเนินการวิจัย ตามขั้นตอนดังนี้
      1. แบบแผนการวิจ ัย
        การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research)
        มีวัตถุประสงค์เพื่อ
      1. เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน วิชาปฏิบัติ
งานบริการคอมพิวเตอร์ ในด้านเนื้อหาวิชา ด้านผู้สอน ด้านกิจกรรมการ
เรียนการสอน ด้านปัจจัยส่งเสริมการเรียนการสอน ประจำาภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2554
     2. เพื่ อ ใช้ เ ป็ น แนวทางให้ ผู้ ส อน ได้ พั ฒ นาการจั ด การเรี ย นการ
สอน ในรายวิชาปฏิบัติงานบริการ คอมพิวเตอร์ และ วิชาอื่น ๆ ต่อไป
      2. ประชากร/กลุ่ม ตัว อย่า ง
          ประชากรของการวิจัยครั้งนี้คือ นักศึกษาระดับ ปวช.ชั้นปีที่
2 สาขางาน/ แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ของวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี ที่
ลงทะเบียนเรียนวิชา ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์ ในภาคเรียนที่ 2 ปี
การศึกษา 2554 จำานวน 100 คน
          กลุ่ม ตัวอย่า งคื อ นั กศึ กษาระดั บ ปวช. ชั้ นปี ที่ 2 สาขางาน/
แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิ จ ของวิ ท ยาลั ย เทคนิ ค ปทุ ม ธานี ที่ ล งทะเบี ย น
เรียนวิชา ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2554 จำานวน 82 คน
      3. เครื่อ งมือ ที่ใ ช้ใ นการวิจ ัย
         เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย
         3.1 ในการวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยได้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ
ในการเก็ บรวบรวมข้อ มูล มี ลั กษณะเป็ นแบบสอบถามแบบ มาตราส่ ว น
ประมาณค่า (Rating Scale) ชนิดกำา หนดคำา ตอบเป็นข้อความ 5 ระดับ
โดยแบ่งออกเป็น 5 ด้าน ดังนี้
       1)       ด้านเนื้อหาวิชา                    จำานวน    10 ข้อ
       2)       ด้านผู้สอน                    จำานวน    15 ข้อ
       3)       ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน               จำานวน    10
ข้อ
       4)       ด้านปัจจัยส่งเสริมการเรียนการสอน        จำานวน    10
ข้อ
          รวม                           จำานวน     45 ข้อ
ลักษณะของตัวแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating
Scale) 5 ระดับ
        5 คะแนน    ระดับความพึงพอใจ     มากที่สุด
        4      คะแนน ระดับความพึงพอใจ       มาก
        3      คะแนน ระดับความพึงพอใจ       ปานกลาง
        2      คะแนน ระดับความพึงพอใจ       น้อย
        1      คะแนน ระดับความพึงพอใจ       น้อยที่สด
                                                    ุ
      4. การดำา เนิน การวิจ ัย / การเก็บ รวบรวมข้อ มูล
          การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research)
ซึ่งเป็ นการเก็บข้อ มูล จากกลุ่ม ประชากร แบบปฐมภู มิ โดยผู้ วิจั ยดำา เนิน
การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง

      5. การวิเ คราะห์ข ้อ มูล
          ในการศึ ก ษาวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ พื่ อ ศึ ก ษาความความพึ ง พอใจการ
จัดการเรียนการสอน วิชาการปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์ ภาคเรียนที่
2 ปี ก ารศึ ก ษา 2554 และเพื่ อ หาข้ อ มู ล ข้ อ เสนอแนะ ในการ
พั ฒ นาการจั ด การด้ า นการเรี ย นรู้ และฝึ ก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ให้
สอดคล้องกับการจัดการศึกษาในระดับอาชีวศึกษา
.

ผู้ วิ จั ย ได้ดำา เนินการวิเ คราะห์ ต่ างๆดั ง นี้ การวิ เคราะห์ ข้ อ มู ล แบ่ งเป็ น 2
ส่วน ดังนี้
                  1. ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มประชากรวิเคราะห์โดยการหาค่าร้อย
ละ
                  2. การประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการเชิงสำารวจ ซึ่ง
จะวิเคราะห์ โดยการหาค่าเฉลี่ยและ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
                  3. เมื่อ รวบรวมข้ อ มู ล และแจกแจงความถี่ แล้ ว จะใช้ ค ะแนน
เฉลี่ย ของกลุ่ม ตัวอย่างมาพิ จ ารณา ระดับ ความพึ งพอใจ ซึ่ งมี เกณฑ์ ใน
การพิจารณาดังนี้
              ค่าเฉลี่ย          4.20 – 5.00 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ
ในระดับ                มากที่สุด
              ค่าเฉลี่ย          3.40 – 4.19 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ
ในระดับ                มาก
              ค่าเฉลี่ย          2.60 – 3.39 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ
ในระดับ                ปานกลาง
              ค่าเฉลี่ย          1.80 – 2.59 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ
ในระดับ                น้อย
ค่าเฉลี่ย         1.00 – 1.79 หมายถึง       ระดับความพึงพอใจ
ในระดับ         น้อยที่สุด
สถิต ิท ี่ใ ช้ใ นการวิเ คราะห์ข ้อ มูล
    การใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้ได้ใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล
ด้วยค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(S.D.)



                           บทที่ 4
                      ผลการวิเ คราะห์ข ้อ มูล

การวิจัยเรื่อง การศึกษาความพึงพอใจการจัดการเรียนการสอน วิชาการ
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์ของนักศึกษาในรายวิชาปฏิบัติงานบริการ
คอมพิวเตอร์ ประจำาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 สรุปได้ว่า
ตารางที่ 4.1 จำานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม
                  ข้อ มูล ของนัก เรีย น             จำา นวน    ร้อ ยละ
       1. เพศ              ชาย                         10      12.20
       2. คะแนน            หญิง                        72      87.80
         เฉลี่ย            ตำ่ากว่า 2.5                  3      3.66
                           2.51 – 3.00                 29      35.37
                           3.01 ขึ้นไป                 50      60.98
                           6-10 ครั้ง                    7      8.54
       3. นักเรียนเข้า มากกว่า 10 ครั้ง                75      91.46
         ชันเรียน
           ้

     จากตารางที่ 4.1 แสดงว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นนักเรียน
เพศหญิง มากกว่านักเรียนเพศชาย นักเรียนส่วนใหญ่มีผลการเรียนเฉลี่ย
อยู่ในระดับปานกลาง และนั กเรี ยนส่ว นใหญ่ เข้ าห้ อ งเรี ย นมากกว่ า 10
ครั้งขึ้นไป
ตารางที่ 4.2 แสดงค่าเฉลี่ยและค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของความ
พึงพอใจของนักเรียนในการจัดการเรียนการสอนวิชาปฏิบัติงานบริการ
คอมพิวเตอร์ ด้านเนื้อหาวิชา
                                                                  ระดับ
             ด้า นเนือ หาวิช า
                     ้                                  S.D.      ความ
                                                                 พึง พอใจ
1. ได้รับความรู้ใหม่จากเนื้อหาวิชา         3.88   0.66      มาก
2. เนื้อหาวิชามีความสำาคัญและน่าสนใจ       3.82   0.67      มาก
3. เนื้อหาวิชามีความสอดคล้องกับ            4.01   0.68      มาก
วัตถุประสงค์                               3.99   0.73      มาก
4. เนื้อหาวิชาทันสมัยและทันเหตุการณ์       4.41   0.70    มากที่สุด
5. เนื้อหาวิชาที่เรียนมีประโยชน์ต่อการ     3.74   0.75      มาก
ประกอบอาชีพ                                3.88   0.74      มาก
6. เนื้อหาวิชาก่อให้เกิดความคิดริเริ่ม     3.96   0.78      มาก
สร้างสรรค์                                 4.35   0.73    มากที่สุด
7. เนื้อหาวิชาไม่ซำ้าซ้อนกับวิชาอื่น       3.91   0.69      มาก
8. ความเหมาะสมกับพื้นฐานความรู้ของผู้
เรียน
9. เนื้อหาวิชานาไปประยุกต์ใช้ได้
10. ความพึงพอใจต่อเนื้อหาวิชาที่ได้เรียน
โดยภาพรวม
                     รวม                   4.00   0.71      มาก
     จากตารางที่ 4.2 แสดงว่านักเรียนมีความพึ งพอใจในการจั ดการ
เรียนการสอน วิชาวิชาปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์ ในด้านเนื้อหาวิชา
โ ด ย ร ว ม อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ ม า ก แ ล ะ ม า ก ที่ สุ ด ( = 4.00
S.D = 0.71) เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่านักเรียนมีความพึงพอใจใน
ระดับมากเป็นส่วนใหญ่ โดยในข้อ 5 และ ข้อ 9 นักเรียนมีความพึงพอใจ
ในระดับมากที่สุด

ตารางที่ 4.3 แสดงค่าเฉลี่ยและค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของความ
พึงพอใจของนักเรียน
       ในการจัดการเรียนการสอนวิชาวิชาปฏิบัติงานบริการ
คอมพิวเตอร์ ด้านผู้สอน
                                                          ระดับ
                                                          ความ
              ด้า นเนื้อ หาวิช า                   S.D.
                                                           พึง
                                                          พอใจ
1. มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชาที่สอน     3.87   0.62   มาก
2. มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้            3.79   0.75   มาก
3. มีความรู้ทันสมัย                           4.15   0.69   มาก
4. สามารถเชื่อมโยงประสบการณ์ที่เป็น           4.07   0.77   มาก
   ประโยชน์ต่อผู้เรียน                        3.80   0.76   มาก
5. ใช้คำาถามที่ช่วยให้เกิดความคิดสร้างสรรค์   3.84   0.79   มาก
6. มีการวางแผนและเตรียมการสอนมาอย่างดี        3.65   0.87   มาก
7. การสร้างบรรยากาศในการเรียนการสอน           3.88   0.78   มาก
8. เอาใจใส่จริงจังต่อการเรียนการสอน           3.66   0.79   มาก
9. ความตรงต่อเวลาในการเรียนการสอน             3.82   0.77   มาก
10. การวางตนที่เหมาะสมและเป็นแบบอย่าง         4.04   0.82   มาก
11. ให้ความช่วยเหลือเมื่อมีปัญหาทั้งในและ     3.74   0.91   มาก
   นอกชั้นเรียน                               3.94   0.81   มาก
12. มีความมั่นคงทางอารมณ์ สุขุมรอบคอบ
13. กระตุ้นให้กาลังใจนักเรียนในการถาม         4.13 0.72     มาก
   และแสดงความความคิดเห็น                     4.00 0.72     มาก
14. มีการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ
15. ความพึงพอใจต่ออาจารย์ผู้สอนโดยภาพ
   รวม
                     รวม                      3.89 0.77     มาก

        จากตารางที่ 4.3 แสดงว่านักเรียนมีความพึงพอใจในการจัดการ
เรียนการสอนวิชาปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์ ในด้านผู้สอน โดยรวม
อยู่ในระดับมาก และมากที่สุด ( = 3.89 S.D = 0.77)
เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่านักเรียนมีความพึงพอใจในระดับมากทุกข้อ

ตารางที่ 4.4 แสดงค่าเฉลี่ยและค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของความ
พึงพอใจของนักเรียนในการจัดการเรียนการสอนวิชาวิชาปฏิบัติงาน
บริการคอมพิวเตอร์ ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน
                                                            ระดับ
                                                            ความ
     ด้า นกิจ กรรมการเรีย นการสอน                    S.D.
                                                             พึง
                                                            พอใจ
1. การชี้แจงบอกจุดมุ่งหมายของวิชาที่สอน         4.04    0.67      มาก
    อย่างชัดเจน                                  4.09    0.72      มาก
 2. ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการกำาหนด             3.89    0.72      มาก
    กิจกรรมการเรียนการสอน                        3.83    0.75      มาก
 3. กระตุ้นให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น            4.11    0.79      มาก
 4. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้แสดงออกอย่าง         3.96    0.69      มาก
    สร้างสรรค์                                   3.78    0.82      มาก
 5. ส่งเสริมการทำางานเป็นทีม                     4.06    0.82      มาก
 6. ความเหมาะสมในการมอบหมายงาน                   4.13    0.78      มาก
 7. ปลูกฝังความเป็นประชาธิปไตย                   4.10    0.80      มาก
 8. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามปัญหา
 9. ปลูกฝังระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม
 10. ความพึงพอใจเกี่ยวกับการจัดกิจกรรม
    การเรียนการสอนโดยภาพรวม
                      รวม                        4.00 0.76         มาก

จากตารางที่ 4.4 แสดงว่า นักเรียนมีความพึงพอใจในการจัดการเรียน
การสอน วิ ช าวิ ช าปฏิ บั ติ ง านบริ ก ารคอมพิ ว เตอร์ ในด้ า นกิ จ กรรมการ
เรียนการสอน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.00 S.D = 0.76)
เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่านักเรียนมีความพึงพอใจในระดับมากทุกข้อ




ตารางที่ 4.5 แสดงค่าเฉลี่ยและค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของความ
พึงพอใจของนักเรียน ในการจัดการเรียนการสอนวิชาวิชาปฏิบัติงาน
บริการคอมพิวเตอร์ ด้านปัจจัยส่งเสริมการเรียนการสอน
     ด้านปัจจัยส่งเสริมการเรียนการสอน              S.D. ระดับ
ความ
                                                           พึง
                                                          พอใจ
1. สภาพห้องเรียนมีความเหมาะสมกับการ         3.79 0.73      มาก
   เรียนการสอน                              3.76 0.73      มาก
2. โสตทัศนูปกรณ์มีความเหมาะสม ทันสมัย       3.78 0.74      มาก
3. ได้รับความสะดวกในการใช้โสต
   ทัศนูปกรณ์ต่าง ๆ เกี่ยวกับการเรียนการ    3.76   0.84    มาก
   สอน                                      3.87   0.80    มาก
4. การอำานวยความสะดวกในการใช้บริการ         3.83   0.80
   ห้องสมุด                                 3.93   0.78    มาก
5. ปริมาณหนังสือและเอกสารต่าง ๆ ในการ       3.79   0.80    มาก
   ศึกษาค้นคว้ามีเพียงพอ                    4.05   0.77    มาก
6. ความทันสมัยของหนังสือและเอกสารต่าง ๆ     4.13   0.70    มาก
   ในห้องสมุด
7. ห้องสมุดมีบรรยากาศที่เหมาะสมกับการ
   ศึกษาค้นคว้า
8. การให้บริการของเจ้าหน้าที่ในฝ่ายบริการ
   ต่าง ๆ
9. ความร่มรื่นและบรรยากาศทั่วไปภายใน
   บริเวณวิทยาลัย
10. ความพึงพอใจต่อปัจจัยส่งเสริมการเรียน
   การสอน
   โดยภาพรวม
                    รวม                     3.87 0.77      มาก

จากตารางที่ 4.5 แสดงว่านักเรียนมีความพึงพอใจในการจัดการเรียน
การสอนวิชาวิชาปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์ ในด้านปัจจัยส่งเสริมการ
เรียนการสอน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.87 S.D = 0.77)
เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่านักเรียนมีความพึงพอใจในระดับมากทุกข้อ
บทที่ 5
       สรุป ผลการวิจ ัย อภิป รายผล และข้อ เสนอแนะ

5.1 สรุป ผลการวิจ ัย
      การศึกษาการวิจัยเพื่อการพัฒนาการเรียนการสอนในเรื่องความพึง
พอใจในการจัดการเรียนการสอนวิชาวิชาปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
ของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2
แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ประจำาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
สรุปผลการวิจัยมีดังนี้
      5.1.1 ข้อมูลทั่วไปของนักเรียน
          นักเรียนส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีผลการเรียนอยู่ในระดับปาน
กลาง และนักเรียนเข้า
ชั้นเรียนมากกว่า 10 ครั้งขึ้นไป
      5.1.2 ความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน
          นักเรียนมีความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน วิชาวิชา
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
ในด้านเนื้อหาวิชา ด้านผู้สอน ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน และ ด้าน
ปัจจัยส่งเสริมการเรียนการสอน นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
      5.1.3 ด้านปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
          1)       ด้านเนื้อหาวิชา: ควรมีการพัฒนาให้มีความน่าสนใจ
และทันสมัยอยู่เสมอ
          2)       ด้านผู้สอน: อยากให้มีเวลากับผู้เรียนเพิ่มขึ้น มีความ
เป็นกันเอง สอนดี สอนสนุก และเป็นผู้สอนที่มีความเอาใจใส่กับผู้เรียน
เป็นอย่างดี
          3) ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน: ควรเพิ่มเวลาในการจัด
กิจกรรมให้มากขึ้น สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน
          4) ด้านปัจจัยส่งเสริมการเรียนการสอน: อยากให้มีการเอาใช้
สือการสอน อุปกรณ์สนับสนุนการค้นคว้าความรู้บนระบบอินเตอร์เน็ตเพิ่ม
  ่
ขึน เพื่อให้นักเรียนได้ความรู้และนำาไปใช้ประโยชน์
    ้
      5.1.4 ข้อเสนอแนะด้านอื่น ๆ
          การจัดสภาพที่เรียนน่าจะมีความทันสมัย เช่นการเปิด
อินเตอร์เน็ตเพื่อแสดงตัวอย่างประกอบการสอน และอยากให้มีการพัก
บ้างจะได้ผ่อนคลาย
5.2 แนวทางในการพัฒ นาการเรีย นการสอนวิช าปฏิบ ัต ิง าน
บริก ารคอมพิว เตอร์
      จากผลการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนเรื่อง ความพึงพอใจใน
การจั ด การเรีย นการสอน วิชาวิ ชาปฏิ บัติ ง านบริ ก ารคอมพิ ว เตอร์ ของ
นักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์
ธุรกิจ ประจำาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 ในครั้งนี้ ผู้วิจัยขอสรุปผล
การวิจัยเพื่อนำา ไปใช้เป็นแนวทางการพัฒนาการเรียนการสอนวิชาวิชา
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์ ดังนี้
      5.2.1 ด้ า นเนื้ อ หาวิ ช า: จากผลการวิ จั ย พอสรุ ป ได้ ว่ า นั ก เรี ย นมี
ความพึ ง พอใจในด้ า นเนื้ อ หาวิ ช าอยู่ ใ นระดั บ มากและมากที่ สุ ด เพราะ
เนื้อหาวิชามีความทันสมัย ทันเหตุการณ์และน่าสนใจ และสามารถนาค
วามรู้ ที่ ไ ด้ รั บ ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ไ ด้ ใ นชี วิ ต จริ ง แต่ ผู้ วิ จั ย ก็ ค วรจะเพิ่ ม เติ ม
ทฤษฏี เนื้อ หาวิชา สาระสำา คั ญ เพิ่ มเติม ให้ นักเรี ย นมี ค วามเข้ าใจในบท
เรี ย นได้ ม ากยิ่ ง ขึ้ น พร้ อ มทั้ ง อธิ บ ายยกตั ว อย่ า งจากสถานการณ์ จ ริ ง ที่
เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชา มาประกอบการเรียนการสอนด้วย
      5.2.2 ด้านผู้สอน: ในด้านผู้สอน นักเรียนมีความพึงพอใจโดยภาพ
รวมในระดับมาก โดยเฉพาะในด้านผู้สอนมีความรู้ทันสมัย มีการพัฒนา
ตนเองอยู่เสมอ สามารถเชื่อมโยงประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน
และให้ความช่วยเหลือผู้เรียนเมื่อมีปัญหาทั้งใน และ นอกชั้นเรียน แต่ผู้
สอนควรพัฒนาการสร้างบรรยากาศในการเรียนการสอน ให้สนุกสนาน
มีความสุข ความเป็นกันเอง เข้าใจ และสนใจผู้เรียนมากขึ้น
      5.2.3 ด้านกิจกรรมการเรีย นการสอน: ผู้เรียนมีความพึงพอใจโดย
ภาพรวมในระดับมาก โดยมี การส่ งเสริ ม การทำา งานเป็ นที ม มี ใจรั กการ
บริการ มีจิตอาสา สาธารณะ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกำา หนด
กิจกรรมการเรียนการสอน พร้อมด้วยมีการปลูกฝังระเบียบวินัย คุณธรรม
      5.2.4 ด้านปัจจัยส่งเสริมการเรียนการสอน: จากผลการวิจัยในครั้งนี้
พบว่านักเรียนมีความพึงพอใจ                    ในด้านปัจจัยส่งเสริมการเรียนการสอน
อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ความร่มรื่น และบรรยากาศทั่วไปภายในบริเวณวิ
ทยาลัยฯ ห้องสมุดมีบรรยากาศที่เหมาะสมกับการศึกษาค้นคว้ า หนังสือ
และเอกสารต่าง ๆ ในห้องสมุดมีความทันสมัย และสภาพห้องเรียนมีความ
เหมาะสมกับการเรียนการสอนอยู่ในระดับมาก
บรรณานุก รม

เชาว์ อินใย. (2540). งานวิ จั ย “ความพึ งพอใจของนั กเรี ย นโครงการ
       จัดการศึกษาสาหรับ บุค ลากรประจาการ(กศ.บป) ต่อกระบวนการ
       เรียนการสอนสถาบันราชภัฏเลย” สถาบันราชภัฏเลย.
ทิพวัลย์ ศรีจันทร์ และคณะ. (2547). งานวิจัย “การศึกษาผลสัมฤทธิ์และ
       ความพึ งพอใจในการจั ด การเรี ย นการสอนผ่ า นระบบวิ ดี โ อคอน
       เฟอเรนซ์ของการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพ
       ชี วิ ต ของนั ก เรี ย นสถาบั น ราชภั ฏ สวนดุ สิ ต ” คณะวิ ท ยาศาสตร์
       สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.
สมบู ร ณ์ สงวนญาติ . (2536). งานวิ จั ย “การศึ กษาความพึ ง พอใจของ
       นักเรียนต่อกระบวนการเรียนการสอน วิทยาลัยครูเทพสตรี”. คณะ
       ครุศาสตร์ วิทยาลัยครูเทพสตรี
สิรินดา วรรธนะวิภาต. (2543). งานวิจัย “ความพึงพอใจของนักเรียนที่
       มี ต่ อ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม
       ในมหาวิทยาลัยศรีปทุม” มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
สุวัฒพา สุวรรณเขตนิคม. (2538). แนวคิดและรูปแบบเกี่ยวกับการวิจัย
       ในชั้นเรียน. บพิธการพิมพ์. กรุงเทพฯ.
สมบู ร ณ์ ตั น ยะ. (2547). การประเมิ น ทางการศึ ก ษา. สุ วิ ริ ย าสาส์ น .
       กรุงเทพฯ.
กฤษณ์ ศุภนราพรรค์ . (2548). ความพึ งพอใจในการใช้ บ ริ ก ารสนาม
       กี ฬ าโรงเรี ย นชุ ม ชน แหลมงอบฯ ของผู้ ป กครองนั ก เรี ย นและ
       ชุมชน. ม.ป.ท.
กฤษณี โพธิ์ชนะพัน ธุ์ . (2542). ความพึ งพอใจต่ อ บริ ก ารของผู้ บ ริ การ
       แผนกผู่ป่วยนอก สถาบันโรคผิวหนัง . วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยา
       ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหาร สาธารณสุข สาธารณสุขศาสตร์,
       มหาวิทยาลัยมหิดล.
กนิษฐา ปุญญนิรันดร์ . (2539). ความพึงพอใจของผู้ รับ บริการ: ศึกษา
       กรณีเปรียบเทียบ ระหว่างธนาคารกรุงไทย จำากัด (มหาชน) สาขา
       บางนำ้า เปรี้ ย ว และธนาคาร กรุ ง เทพฯ จำา กั ด (มหาชน) สาขา
       บางนำ้า เปรี้ยว. ภาคนิพนธ์พัฒนบริหารศาสตรมหา บัณฑิต สาขา
       เทคโนโลยี ก ารบริ ห าร, โครงการบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาเทคโนโลยี ก าร
       บริหาร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
กรมการปกครอง. (2536). คู่ มือ บริ การประชาชน. กรุ งเทพมหานคร :
       โรงพิมพ์ส่วน ท้องถิ่น.
กิจติพงศ์ ขลิบแย้ม. (2541). การศึกษาการให้บริการของสำานักงานเขต
       ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร : ศึ ก ษ า ก ร ณี เ ฉ พ า ะ สำา นั ก เ ข ต จ ตุ จั ก ร .
       วิท ยานิพนธ์ศิล ปศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต . (รั ฐ ศาสตร์ ), มหาวิ ท ยาลั ย
       รามคำาแหง.
กิติยา ปรีดีดิลก. (2542). ทฤษฎีการบริหารองค์การ. กรุงเทพมหานคร:
       ม ห า วิ ท ย า ลั ย ศ รี น ค ริ น ท ร
       วิโรฒ ประสานมิตร.
กุ ล ธน ธนาพงศ์ ธ ร. (2530). การบริ ห ารงานบุ ค คล. เอกสารการสอน
       32304. หน่วยที่ 8 - 15 สาขาวิทยาการจัดการ. พิมพ์ครั้งที่ 4.
       กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
กุลธน ธนาพงศ์ธร. (2530). ประโยชน์และบริการ. ในเอกสารการสอน
       ชุ ด วิ ชา ก าร บริ ก าร ง าน บุ ค ค ล . (พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 7). น นท บุ รี :
       มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
กุลนดา โชติมุกตะ. (2538). ความพึงพอใจของประชาชนต่อระบบและ
       กระบวนการการ ให้ บ ริ ก ารของกรุ ง เทพมหานคร : ศึ ก ษากรณี
       สำา นั ก ง า น เ ข ต บ า ง ซื่ อ . ก รุ ง เ ท พ ฯ : ส ถ า บั น บั ณ ฑิ ต
       พัฒนบริหารศาสตร์.
จิรวิทย์ เดชจรัลศรี. (2538). ความพึงพอใจของประชาชนต่อระบบและ
       กระบวนการ ให้บริการของกรุงเทพมหานคร. ภาคนิพนธ์ปริญญา
       พั ฒ น า บ ริ ห า ร ศ า ส ต ร ม ห า บั ณ ฑิ ต , ส ถ า บั น บั ณ ฑิ ต
       พัฒนบริหารศาสตร์.
ชวลิ ต เหล่ า รุ่ ง กาญจน์ . (2538). ความพึ ง พอใจของลู ก ค้ า ต่ อ การให้
        บริการของธนาคาร กรุงเทพ จำา กัด (มหาชน) ศึกษาเฉพาะกรณี
        สาขาท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี . ภาค นิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต
        คณะพัฒนาสังคม, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร ศาสตร์.
ชวิณี เดชจินดา. (2530). ความพึงพอใจของประชาชนต่อศูนย์บริการ
        กำา จั ด ภ า ค อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ ข ว ง แ ส ม ดำา เ ข ต บ า ง ขุ น เ ที ย น
        กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ปริญญาสังคมศาสตรมหาบัณฑิต
        สาขาสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยมหิดล.
ชูวงศ์ ฉายะบุตร. (2536). การให้บริการแบบครบวงจรแนวทางการให้
        บ ริ ก า ร เ ชิ ง รุ ก ข อ ง ก ร ม ก า ร ป ก ค ร อ ง . เ ท ศ บ า ล 88, 30
        (กรกฎาคม): 11-14.
โชคชั ย ชั ย ธวั ช . (2547). นั ก การตลาด CEO ตอน การบริ ก ารการ
        ตลาด. กรุงเทพฯ : ซี.พี. บุ๊ค สแตนดาร์ด.
ชำา น า ญ ภู่ เ อี่ ย ม . (2548). Service Mind: ก า ร มี จิ ต มุ่ ง บ ริ ก า ร .
        เทศาภิบาล 100, 2 (ก.พ.2548) 35-38.
ธนพร ชุม วรฐานี . (2539). ความพึ งพอใจของประชาชนต่ อ ระบบและ
        กระบวนการ ให้บริการของกรุงเทพมหานคร. ภาคนิพนธ์ปริญญา
        พั ฒ นาบริ ห ารศาสตร์ มหาบั ณ ฑิ ต คณะพั ฒ นาสั ง คม, สถาบั น
        บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
นันทนา ประกอบกิจ . (2538). ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การ:
        ศึ ก ษากรณี ฝ่ า ย พั ฒ นาชุ ม ชน สำา นั ก เขตกรุ ง เทพมหานคร .
        วิ ท ยานิ พ นธ์ สั ง คมสงเคราะห์ ศ าสตรมหาบั ณ ฑิ ต , มหาวิ ท ยาลั ย
        ธรรมศาสตร์.
นิ ย ม ศรี วิ เ ศษ. (2521.) ความพึ ง พอใจในการทำา งานของข้ า ราชการ
        ส่ ว นจั ง หวั ด ตำา แหน่ ง ครู การศึ ก ษา 9 .ปริ ญ ญานิ พ นธ์ กศม.
        ก รุ ง เ ท พ ฯ : ม ห า วิ ท ย า ลั ย ศ รี น ค ริ น ท ร์ วิ โ ร ฒ
        ประสานมิตร.
บั ง อร ผงผ่ า น. (2541). ความพึ ง พอใจของผู้ รั บ บริ ก ารต่ อ งานบริ ก าร
        ของโรงพยาบาล ชุ ม ชน : กรณี ศึ กษาโรงพยาบาลกั น ทรลั ก ษณ์
        จังหวัดศรีสะเกษ. วิทยานิพนธ์ ปริญญาพัฒนาบริหารศาสตรมหา
        บั ณ ฑิ ต (พั ฒ นาสั ง คม) คณะพั ฒ นาสั ง คมสถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ น
        บริหารศาสตร์.
ประหยัด ยะคะนอง. (2523). ทั ศ นคติ ข องประชาชนที่ มี ต่ อ การบริ ก าร
        สาธารณะของหน่ ว ย การปกครองท้ อ งถิ่ น : ศึ ก ษาเฉพาะกรณี
        เทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธ์ รป.ม., ม.ป.ท.
ปรัชญา เวสารัชช์. (2526). องค์การกับลูกค้า . วารสารสังคมศาสตร์ 15,
        12 (ตุลาคม - ธันวาคม): 61-76.
ปิ ย ะดา เวชประสิ ท ธิ์ . (2539). ความพึ ง พอใจของประชาชนในเขต
       เทศบาลที่มีต่อผลงาน ของเทศบาลนครศรีธรรมราช. กรุงเทพฯ :
       ภาควิชาการปกครอง บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พรพิ ม ล ธุวสิน ธุ์ . (2538). ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ ความพึ งพอใจในการปฏิ บั ติ
       งานบริหารงาน ฝึกอบรม: ศึกษาเฉพาะหน่วยงานฝึกอบรมในเขต
       กรุงเทพมหานคร. ภาคนิพนธ์ หนังสูตรบริหารศาสตรมหาบัณฑิต
       โครงการบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาการพั ฒ นาทรั พ ยากร มนุ ษ ย์ , สถาบั น
       บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
พยุงศักดิ์ นามวรรณ. (2537). ความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่สืบสวน
       ของเจ้ า หน้ า ที่ ตำา รวจชั้ น ประทวนในสถานี ตำา รวจภู ธ ร จั ง หวั ด
       ขอนแก่น. มปป.
พิน คงพูล. (2529). ความพึงพอใจที่มีต่อบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ
       ของ คณะกรรมการการประถมศึ กษาจั งหวั ด ใน 14 จั งหวั ด ภาค
       ใ ต้ . วิ ท ย า นิ พ น ธ์ (ก ศ .ม .) ม ห า วิ ท ย า ลั ย ศ รี น ค ริ น
       ทรวิโรฒ สงขลา.
มนตรี เฉีย บแหลม.(2536). ความพึงพอใจในภาระหน้ าที่และงานของ
       เกษตรอำาเภอใน จังหวัดภาคเหนือ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหา
       บัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช. (2535). เอกสารการสอนชุ ด วิ ช า
       องค์การและการจัดการ งานบุคคล. กรุงเทพมหานคร : สำานักพิมพ์
       มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2525). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (พิมพ์
       ค รั้ ง ที่                    3).   ก รุ ง เ ท พ ฯ :
       อักษรเจริญทัศน์.
วราภรณ์ รัชตะวรรณ. (2539). ความพึงพอใจของข้าราชการที่มีต่อการ
       ให้ บ ริ ก ารของฝ่ า ย การเจ้ า หน้ า ที่ สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นาบริ ห าร
       ศาสตร์ . ภาคนิ พ นธ์ ห ลั ก สู ต รพั ฒ นา บริ ห ารศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต
       โครงการบัณฑิตศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ , สถาบันบัณฑิต
       พั                             ฒ                     น
       บริหารศาสตร์.
วาสนา พฤทธิพงศ์สิทธิ์. (2544). การเปิดรับข่าวสาร ภาพลักษณ์ ความ
       คาดหวัง และความ พึงพอใจของประชาชนชาวกรุงเทพมหานคร
       ที่ มี ต่ อ การติ ด ต่ อ สื่ อ สาร และการ ให้ บ ริ ก ารของนั ก งานเขต
       กรุ ง เทพมห านคร . วิ ท ย านิ พ นธ์ นิ เ ท ศ ศ าส ต รมห า บั ณ ฑิ ต ,
       จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...Suda Yung
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯศิริพัฒน์ ธงยศ
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนNan NaJa
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002Thidarat Termphon
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)Love Plukkie Zaa
 
คู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพคู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพEkachai Seeyangnok
 
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนการติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนNattapon
 
นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้นนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้นดอกหญ้า ธรรมดา
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยNU
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกายสำเร็จ นางสีคุณ
 
ความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหารความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหารWanlop Chimpalee
 
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001Thidarat Termphon
 

Mais procurados (20)

บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เล่มที่ 1 โครงสร้างที่ใช้ในก...
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
 
คู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพคู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพ
 
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนการติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
 
ข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch upข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch up
 
นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้นนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
นำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ม.ต้น
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
พลังงานน้ำ
พลังงานน้ำพลังงานน้ำ
พลังงานน้ำ
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
 
ความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหารความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
 
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 

Destaque

โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
Evaluation Question 2
Evaluation Question 2Evaluation Question 2
Evaluation Question 2mags249
 
กรอบเนื้อหาการสอบ V-NET ปวช. ปีการศึกษา 2556
กรอบเนื้อหาการสอบ V-NET ปวช. ปีการศึกษา 2556กรอบเนื้อหาการสอบ V-NET ปวช. ปีการศึกษา 2556
กรอบเนื้อหาการสอบ V-NET ปวช. ปีการศึกษา 2556Totsaporn Inthanin
 
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)Siririn Noiphang
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนAon Narinchoti
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนTong Thitiphong
 
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์Hami dah'Princess
 
รายงานประเมินระดม57
รายงานประเมินระดม57รายงานประเมินระดม57
รายงานประเมินระดม57Wichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555jammaree samanchat
 
แบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อแบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อMuta Oo
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
Natural History Museum's Wildlife Photographer of the Year 2015 (People Choice)
Natural History Museum's Wildlife Photographer of the Year 2015 (People Choice)Natural History Museum's Wildlife Photographer of the Year 2015 (People Choice)
Natural History Museum's Wildlife Photographer of the Year 2015 (People Choice)maditabalnco
 

Destaque (19)

โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
Evaluation Question 2
Evaluation Question 2Evaluation Question 2
Evaluation Question 2
 
กรอบเนื้อหาการสอบ V-NET ปวช. ปีการศึกษา 2556
กรอบเนื้อหาการสอบ V-NET ปวช. ปีการศึกษา 2556กรอบเนื้อหาการสอบ V-NET ปวช. ปีการศึกษา 2556
กรอบเนื้อหาการสอบ V-NET ปวช. ปีการศึกษา 2556
 
Sun3
Sun3Sun3
Sun3
 
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
 
9816 20607-1-sm
9816 20607-1-sm9816 20607-1-sm
9816 20607-1-sm
 
รายงานประเมินระดม57
รายงานประเมินระดม57รายงานประเมินระดม57
รายงานประเมินระดม57
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
 
แบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อแบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อ
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
Natural History Museum's Wildlife Photographer of the Year 2015 (People Choice)
Natural History Museum's Wildlife Photographer of the Year 2015 (People Choice)Natural History Museum's Wildlife Photographer of the Year 2015 (People Choice)
Natural History Museum's Wildlife Photographer of the Year 2015 (People Choice)
 
4ดุษณีย์ (1)
4ดุษณีย์ (1)4ดุษณีย์ (1)
4ดุษณีย์ (1)
 
แบบสอบถาม ความพึงพอใจตำรวจ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจตำรวจแบบสอบถาม ความพึงพอใจตำรวจ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจตำรวจ
 
Doc4
Doc4Doc4
Doc4
 

Semelhante a การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55Patchanida Yadawong
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ NtNirut Uthatip
 
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสองทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสองStrisuksa Roi-Et
 
ทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสองทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสองStrisuksa Roi-Et
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษาjeabjeabloei
 
ตยคู่มือ
ตยคู่มือตยคู่มือ
ตยคู่มือunyaparnss
 
Supattra s
Supattra sSupattra s
Supattra speerapit
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54Jiraporn
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ JeeraJaree Srithai
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นLathika Phapchai
 

Semelhante a การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1 (20)

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ Nt
 
คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3
 
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสองทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
 
ทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสองทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสอง
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
 
ตยคู่มือ
ตยคู่มือตยคู่มือ
ตยคู่มือ
 
Supattra s
Supattra sSupattra s
Supattra s
 
Kp iappliedart
Kp iappliedartKp iappliedart
Kp iappliedart
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
classroom research submit
classroom research submitclassroom research submit
classroom research submit
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)
 
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSmแบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
 
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSmแบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
Potential dev62
Potential dev62Potential dev62
Potential dev62
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
 

การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1

  • 1. การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 2 วิชา ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา 2204-2417 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 โดย นางสาวพิม พ์พ ิส ุท ธิ์ ปลอดโปร่ง วิท ยาลัย เทคนิค ปทุม ธานี สำา นัก งาน คณะกรรมการการอาชีว ศึก ษา หัว ข้อ เรื่อ ง การศึ ก ษาความพึ ง พอใจในการจั ด การเรี ย นการสอน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้ น ปี ที่ 2 วิ ช าปฏิ บั ติ ง าน
  • 2. บ ริ ก า ร ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ร หั ส วิ ช า 2204-2417 ภ า ค เ รี ย น ที่ 2 ปีการศึกษา 2554 ผู้ว ิจ ัย : นางสาวพิมพ์พิสุทธิ์ ปลอดโปร่ง บทคัด ย่อ การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เรื่อง “การศึกษาความพึงพอใจ ในการจัดการเรียนการสอน วิชาปฏิบตงานบริการคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ั ิ 2201-2417 ในภาคเรีย นที่ 2 ปี การศึ กษา 2554” ฉบั บ นี้ ไ ด้ จั ด ทำา ขึ้ น โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้วิจัยได้นำาผลการวิจัยมาใช้เป็นแนวทางการ พั ฒ นา ปรั บ ปรุ ง บู ร ณาการการจั ด การเรี ย นการสอน วิ ช าปฏิ บั ติ ง าน บริการคอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถของผู้สอน ในการ วางแผนการจัดการเรียนการสอนที่เป็นประโยชน์โดยตรงแก่ นักเรียน อย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้โดยเน้น ผู้เรียนเป็นจุดศูนย์กลางต่อไป สารบัญ หน้า
  • 3. บทคัด ย่อ ............................................................................. .................................. 3 สารบัญ ..................................................................................................... ........... 4 บทที่ 1 บทนำา ความเป็นมาและความสำาคัญของ ปัญหา.................................................... 6 วัตถุประสงค์ของการ วิจัย........................................................................... 6 ขอบเขตของการ วิจัย.................................................................................. 7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้ รับ....................................................................... 8 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจ ัย ที่เ กี่ย วข้อ ง เอกสารที่ เกี่ยวข้อง............................................................................... ...... 9 งานการวิจัยที่ เกี่ยวข้อง.............................................................................. 10 บทที่ 3 วิธ ีด ำา เนิน การวิจ ัย แบบแผนการ วิจัย..................................................................................... . 13 ประชากร/กลุ่ม ตัวอย่าง............................................................................. 13 เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัย........................................................................... 13 การดำาเนินการวิจัย/การเก็บรวบรวม ข้อมูล............................................... 14
  • 4. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล................................................................ 14 บทที่ 4 ผลการวิเ คราะห์ ข้อ มูล ......................................................................... ตารางที่ 4.1 จำานวนและร้อยละของผู้ตอบ แบบสอบถาม.......................... 15 ตารางที่ 4.2 ผลความพึงพอใจด้านเนื้อหา วิชา........................................... 15 ตารางที่ 4.3 ผลความพึงพอใจด้านผู้สอน ................................................ 16 ตารางที่ 4.4 ผลความพึงพอใจด้านกิจกรรมการเรียนการสอน ................ 17 ตารางที่ 4.5 ผลความพึงพอใจด้านปัจจัยส่งเสริมการเรียนการ สอน......... 18 สารบัญ (ต่อ ) หน้า บทที่ 5 สรุป และข้อ เสนอ แนะ ............................................................................ สรุปผลการ วิจัย..................................................................................... ..... 19 แนวทางในการพัฒนาการเรียนการ สอน.................................................... 19 บรรณานุก รม ..................................................................... ...................................... 21
  • 5. ภาค ผนวก ................................................................................. ................................ แบบสอบถามสำารวจความพึงพอใจการจัดการเรียนการสอน... ……………. 22 ตารางแสดงการวิเคราะห์การหาค่าเฉลี่ยความพึงพอใจด้าน เนื้อหา............... 25 ตารางแสดงการวิเคราะห์การหาค่าเฉลี่ยความพึงพอใจด้านผู้ สอน............... 28 ตารางแสดงการวิเคราะห์การหาค่าเฉลี่ยความพึงพอใจด้าน กิจกรรมการเรียนการสอน 31 ตารางแสดงการวิเคราะห์การหาค่าเฉลี่ยความพึงพอใจด้านปัจจัย ส่งเสริมการเรียน 34 บทที่ 1 บทนำา 1.1 ความเป็น มาและความสำา คัญ ของปัญ หา การจั ด การเรี ย นการสอนตามพระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พุทธศักราช 2542 ได้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสำาคัญที่สุด ผู้เรียนทุกคนมีความ สามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ในการจัดการศึกษาจึงจำาเป็น ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ ดังนั้นใน การจัดการเรียนการสอนต้องมีรูปแบบ ที่หลากหลายเพื่อให้สนองความ
  • 6. ต้องการของผู้เรียนรายบุคคลได้ ผู้สอนต้องให้ความสำาคัญกับผู้เรียนมาก ที่สุด โดยการศึกษาถึงวิธีการสอนและวิธีการเรียนของผู้เรียนในรูปแบบ ใหม่ ๆ เพื่อ นำา มาใช้ ในการแก้ ปั ญ หา หรือ พั ฒนาผู้ เรี ย น ทั้ งนี้ เน้ นให้ ผู้ สอนสามารถนำากระบวนการวิจัยมาผสมผสาน หรือบูรณาการใช้ในการ พัฒนาการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักสร้างองค์ความรู้ใหม่ ทั้งนี้ผู้สอนและ ผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยากร ประเภทต่าง ๆ และมาตรา 30 กำาหนดให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการ เรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อ พั ฒ นาการเรี ย นรู้ ที่ เ หมาะสมกั บ ผู้ เ รี ย นในแต่ ล ะระดั บ การศึ ก ษา จาก ภารกิจที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยของครู ทั้งในฐานะผู้วิจัย และผู้ส่งเสริมให้ผู้ เรียนทำาการวิจัยได้ ตามที่ระบุไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติดัง กล่าว จึงจำาเป็นที่ครูผู้สอนจะต้องมีความรู้ความสามารถในการดาเนินการ วิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นา การเรี ย นการสอนของตนเอง พั ฒ นาการเรี ย นรู้ ข องผู้ เรียน หรือที่เรียกว่า การวิจัยในชั้นเรียน (สมบูรณ์ ตันยะ. 2547:2) การวิ จั ย ในชั้ น เรี ย นมี เ ป้ า หมายสำา คั ญ อยู่ ที่ ก ารพั ฒ นางานจั ด การ เรี ย นการสอนของครู ลั ก ษณะของการวิ จั ย เป็ น การวิ จั ย เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร (Action Research) คื อ เป็ น การวิ จั ย ควบคู่ ไ ปกั บ การปฏิ บั ติ ง านจริ ง และนำา ข้อ มูล ที่ได้ม าวิเคราะห์ ส รุ ป ผลการวิ จั ย นำา ผลการวิ จั ย ไปใช้ ใน ก า ร พั ฒ น า ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น แ ล้ ว จะพั ฒ นาข้ อ ความรู้ ที่ ไ ด้ นั้ น ต่ อ ไป ให้ มี ค วามถู ก ต้ อ งเป็ น สากลและเป็ น ประโยชน์ ม ากยิ่ ง ขึ้ น ต่ อ การพั ฒ นาการเรี ย นการสอนเพื่ อ การพั ฒ นา นักเรียนของครูให้มีคุณภาพยิ่งๆขึ้นไป โดยทั่วไปแล้วประชากรเป้าหมาย ของการวิจัย ในชั้นเรีย นจะถู กจำา กั ดเป็ นกลุ่ม ผู้เรี ยนในความรับ ผิด ชอบ ของครูนักวิจัยเท่านั้น และข้อความรู้ที่ได้มักจะมีความเฉพาะคือจะเกี่ยว กับสภาพปัญหาและผลการพัฒนาผู้เรียนในชั้นเรีย นของครูนักวิจั ยเป็น สำาคัญ (สุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม. 2538:6) 1.2 วัต ถุป ระสงค์ข องการวิจ ัย เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน วิชาเขียนแบบ ช่างเชือมโลหะ 1 ในด้านเนื้อหาวิชา ด้านผู้สอน ด้านกิจกรรมการเรีย น ่ การสอน และด้านปัจจัยส่งเสริมการเรียนการสอน 1.3 ขอบเขตของการวิจ ัย ป ร ะ ช า ก ร ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร ทำา วิ จั ย ใ น ค รั้ ง นี้ คื อ นั ก เ รี ย น ร ะ ดั บ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ที่
  • 7. เรี ย นวิช าปฏิ บั ติง านบริก ารคอมพิ ว เตอร์ ในภาคเรี ย นที่ 2 ปี ก ารศึ ก ษา 2554 จำานวน 100 คน 1.3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 2 แผนกวิ ชาคอมพิ ว เตอร์ ที่ เ รี ย นวิ ชาปฏิบตงานบริการคอมพิวเตอร์ ใน ั ิ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จำานวน 100 คน กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้น ปีที่ 2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ ที่เรียนวิชาปฏิบตงานบริการคอมพิวเตอร์ ใน ั ิ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จำานวน 82 คน 1.3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการเก็ บ ข้ อ มู ล ครั้ ง นี้ จะเป็ น แบบสอบถาม (Questionnaire) สำาหรับนักเรียน ประกอบด้วยคำาถาม 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 เป็นคำา ถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลของนักเรียน เพื่อ ถามข้ อ มูล เกี่ย วกับเพศ คะแนนเฉลี่ ย และจำา นวนครั้ งที่ นักเรี ย นเข้ าชั้ น เรียน ตอนที่ 2 เป็ น แบบสอบถามเกี่ ย วกั บ ระดั บ ความพึ ง พอใจของ นั ก เรี ย น ที่ มี ต่ อ การจั ด การเรี ย น การสอน วิ ช าปฏิ บั ติ ง านบริ ก าร คอมพิ ว เตอร์ มี ลั ก ษณะเป็ น แบบสอบถามแบบมาตราส่ ว นประมาณค่ า (Rating Scale) ชนิดกำาหนดคำาตอบเป็นข้อความ 5 ระดับ โดยแบ่งออก เป็น 5 ด้าน ดังนี้ 1) ด้านเนื้อหาวิชา จำานวน 10 ข้อ 2) ด้านผู้สอน จำานวน 15 ข้อ 3) ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน จำานวน 10 ข้อ 4) ด้านปัจจัยส่งเสริมการเรียนการสอน จำานวน 10 ข้อ รวม จำานวน 45 ข้อ ลักษณะของตัวแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ 5 คะแนน ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด 4 คะแนน ระดับความพึงพอใจ มาก 3 คะแนน ระดับความพึงพอใจ ปานกลาง 2 คะแนน ระดับความพึงพอใจ น้อย 1 คะแนน ระดับความพึงพอใจ น้อยที่สด ุ
  • 8. เมื่อรวบรวมข้อมูลและแจกแจงความถี่ แล้ ว จะใช้ คะแนนเฉลี่ ย ของกลุ่ ม ตั ว อย่ า ง มาพิ จ ารณาระดั บ ความพึ ง พอใจ ซึ่ ง มี เ กณฑ์ ใ นการ พิจารณาดังนี้ ค่าเฉลี่ย 4.20 – 5.00 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ ในระดับ มากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.40 – 4.19 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ ในระดับ มาก ค่าเฉลี่ย 2.60 – 3.39 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ ในระดับ ปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.80 – 2.59 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ ในระดับ น้อย ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.79 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ ในระดับ น้อยที่สุด 1.3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยจะดำาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ด้วยตนเอง โดยนำาแบบสอบถามไปแจกให้แก่นักเรียน 1.3.4 การใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้ได้ใช้สถิติวิเคราะห์ ข้อมูลด้วยค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) และค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) 1.4 ประโยชน์ท ี่ค าดว่า จะได้ร ับ 1) ได้ทราบถึงความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนในวิชา ปฏิบตงานบริการคอมพิวเตอร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 ั ิ 2) เพือใช้เป็นแนวทางให้ผสอนได้พฒนาการจัดการเรียนการสอน ่ ู้ ั ในวิชาปฏิบตงานบริการคอมพิวเตอร์ และวิชาอื่น ๆ ต่อไป ั ิ
  • 9. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจ ัย ที่เ กี่ย วข้อ ง 2.1 ทฤษฎีเ กี่ย วกับ ความพึง พอใจ 2.1.1 ทฤษฎีทั่วไปเกี่ยวกับการจูงใจของมาสโลว์ พยุ ง ศั ก ดิ์ นามวรรณ (2537, หน้ า 53- 54) ได้ ใ ห้ แ นวคิ ด ที่ รู้ จั ก กั น อ ย่ า ง ก ว้ า ง ข ว า ง คื อ ทฤษฎี ทั่ ว ไปเกี่ ย วกั บ การจู ง ใจของมาสโลว์ (Maslow’s general theory of human motivation) เ ป็ น ท ฤ ษ ฎี ลำา ดั บ ขั้ น ข อ ง ค ว า ม ต้องการ ของมนุษย์ โดยตั้งสมมติฐานว่า มนุษย์มีความต้องการอยู่เสมอ ไม่ มี สิ้ นสุ ด เมื่ อ ความ ต้อ งการได้ รั บ การตอบสนอง หรื อ พึ ง พอใจอย่ าง หนึ่งอย่างใดแล้ว ความต้องการสิ่งอื่น ๆ ก็ จะเกิดขึ้นมาอีก ความต้องการ ของมนุษย์มีลักษณะเป็นลำา ดั บขั้ นจากตำ่า สุ ด ไปหาสู งสุ ด ซึ่ง แบ่งเป็ น 5 ขันตอน คือ ้ 1) ความต้องการความสมหวังในชีวิต (Self- Actualization Needs) 2) ความต้องการชื่อเสียง ยกย่อง (Self-esteem Needs) 3) ความต้องการด้านสังคม ความรัก ความพอใจ (Belong ness And Love Needs) 4) ความต้องการความปลอดภัย (Safety Needs) 5) ความต้องการด้านร่างกาย (Physiological Needs) ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1) ความต้ อ งการด้ า นร่ า งกาย (Physiological needs) เป็นความต้องการเบื้องต้น เพื่อความอยู่รอด เช่น ความต้องการในเรื่อง อาหาร นำ้า ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค ความต้องการพักผ่อน และความต้องการทางเพศ เป็นต้น ความต้องการทางด้านร่างกาย จะมี อิทธิพลต่อพฤติกรรมของคนก็ต่อเมื่อความต้องการทางด้านร่างกายยังไม่ ได้รับการตอบสนองเลย 2) ความต้ อ งการความปลอดภั ย (Safety need) ถ้ า หาก ความต้ อ งการทางด้ า น ร่ า งกายได้ รั บ การตอบสนองตามสมควรแล้ ว มนุษย์ยังมีความต้องการสูงในขั้นต่อไป คือ ความต้องการทางด้านความ ปลอดภัยหรือความมั่นคงต่าง ๆ ความต้องการทางด้านความปลอดภัย จะ เป็นเรื่องเกี่ยวกับการป้องกัน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยจากอันตรายต่าง ๆ ที่ เกิดขึ้นจากร่างกาย ความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจ
  • 10. 3) ความต้ อ งการทางด้ า นสั ง คม ความรั ก ความพอใจ (Belongingness and love needs) ภายหลังจากที่ตนได้รับการตอบ สนองในสองขั้ น ดั ง กล่ า วแล้ ว ก็ จ ะมี ค วามต้ อ งการ ที่ สู ง ขึ้ น คื อ ความ ต้องการทางด้านสังคม จะเริ่มเป็นสิ่งจู งใจที่สำา คัญต่อพฤติกรรมของคน ความต้องการทางด้านนี้ เป็นความต้องการเกี่ยวกับ การอยู่ร่ วมกั น และ การได้รับการยอมรับจากบุคคลอื่น โดยมีความรู้สึกว่า ตนเองนั้นเป็นส่วน หนึ่งของกลุ่มทางสังคมอยู่เสมอ 4) ความต้ อ งการชื่ อ เสี ย งยกย่ อ ง (Self-esteem needs) ความต้องการขั้นต่อมาจะเป็นความต้องการที่ประกอบไปด้วยสิ่งต่าง ๆ คือ ความมั่นใจในตนเองในเรื่องความสามารถ ความรู้ และความสำาคัญในตัว ของตัวเอง รวมตลอดทั้งความต้องการที่จะมีฐานะเด่นเป็นที่ ยอมรับของ บุคคลอื่น หรืออยากให้บุคคลอื่น ยกย่องสรรเสริญในความรับผิดชอบ ในหน้าที่ การงาน การดำารงตำาแหน่งที่สำาคัญในองค์การ 5) ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ค ว า ม ส ม ห วั ง ใ น ชี วิ ต (Self- actualization needs) ความต้องการสูงสุดของมนุษย์ คือ ความสำาเร็จ ในชีวิ ตตามความนึก คิด หรือ ความคาดหวั งความ ทะเยอทะยาน ความ ใฝ่ฝัน ภายหลังจากที่มนุษย์ได้รับการสอบสนองความต้องการ ทั้ง 4 ขั้น อย่างครบถ้วนแล้ว ความต้องการในขั้นนี้จะเกิดขึ้น และมักจะเป็นความ ต้องการที่เป็น อิสระเฉพาะแต่ละคน ซึ่งต่างก็มีความนึกคิดใฝ่ฝันอยากที่ จะประสบผลสำาเร็จในสิ่งที่ตน คาดฝันไว้อย่างสูงส่งในทัศนะของตน 2.1.2 ทฤษฏีความต้องการ อี อาร์ จี (E R G Theory) ในช่ ว งปี ค.ศ.1969 เคลย์ ดั น อั ล เดอร์ เ ฟอร์ (อ้ า งถึ ง ใน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2535, หน้า 195-197) ได้เสนอ แนว ความคิดที่สอดคล้องกับมาสโลว์ ซึ่งได้แบ่งระดับความต้องการของมนุษย์ เป็น 3 ขั้นตอนคือ 1) ความต้ อ งการที่ จ ะมี ชี วิ ต อยู่ (Existence Needs : E) ประกอบด้วยความต้องการที่จำา เป็นในการอยู่รอดของมนุษย์ที่เกี่ยวข้อง กับสภาพแวดล้อม 2) ความต้องการสัมพันธ์กับผู้อื่น (Relatedness Needs : R) เช่น ครอบครัว เพื่อน ร่วมงาน และผู้บังคับบัญชา 3) ความต้องการเจริญ เติ บ โต (Growth NEEDS :G) เป็น ความต้องการที่จะพัฒนา ตนเอง และใช้ศักยภาพในตนเองที่มีอยู่ ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด ซึ่งเป็นความต้องการ สูงสุด จะเห็นได้ว่า ทฤษฏีของอัลเดอร์เฟอร์ มีความคล้ายคลึงกับทฤษฏี ลำาดับความ ต้องการของมนุษย์ของมาสโลว์ แต่แตกต่างที่ความต้องการ ของมนุษย์อาจกลับไปกลับมาได้ เช่น กระบวนการความพึงพอใจ ความ ก้าวหน้า (Satisfaction – progression process) อาจทำาให้อึดอัดใจ
  • 11. ในความพยายาม เพราะต้ อ งเพิ่ ม ความรั บ ผิ ด ชอบ จึงกลั บ มาสนใจ ความต้อ งการทางสัง คม หรือความต้ อ งการความเป็ นอยู่ อ ย่ างสุ ข สบาย แทน เรี ย กสภาพการณ์ เช่ น นี้ ว่ า Frustration regression process (นันทนา ประกอบกิจ 2538, หน้า 37-38) อัลเดอร์เฟอร์ เห็นว่าความสำา คัญของความแตกต่างของบุ ค คล ในความต้องการต่าง ๆ กัน ทั้งความแตกต่างของบุคคลในระดับพัฒนา และความแตกต่ า งของบุ ค คลในฐานะ สมาชิ ก ของกลุ่ ม เขานำา ทฤษฏี ความต้ อ งการของมนุ ษ ย์ ข องมาสโลว์ มาประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นแง่ ที่ ว่ า แม้ ผู้ บริหารจะพยายามตอบสนองความต้องการระดับต่าง ๆ ของพนักงานโดย การ ดำา เนิ น การด้ ว ยวิ ธี ต่ า ง ๆ แต่ บ างครั้ ง การตอบสนองเหล่ า นั้ น อาจ ติดขัด หรือสิ่งที่จะพึงมอบให้ อาจยังไม่มีการตอบสนองนั้น ๆ ก็จะไม่ได้ ผลดีตามต้องการ ผู้บริหารจึงจำา เป็นต้ องปรับ เปลี่ยนการจู งใจ หรือหัน กลับให้ถูกทาง มิฉะนั้นการจูงใจอาจไม่เกิดประโยชน์ เท่าที่ควร 2.2 แนวคิด ที่เ กี่ย วกับ ความพึง พอใจ ความพึ ง พอใจหรื อ ความพอใจ (Satisfaction) พจนานุ ก รมด้ า น จิตวิทยา Chaplin (อ้างถึงใน ธนพร ชุมวรฐายี 2539, หน้า 8) ได้ให้ ความหมายไว้ ว่ า หมายถึ ง ความรู้ สึ ก ของผู้ ที่ ม ารั บ บริ ก ารต่ อ สถาน บริ ก ารตามประสบการณ์ ที่ ไ ด้ รั บ จาการเข้ า ไปติ ด ต่ อ ขอรั บ บริ ก ารใน สถานบริ ก ารนั้ น นอกจากนี้ ยั ง มี ผู้ ใ ห้ ค วามหมายของความพึ ง พอใจไว้ หลากหลาย เช่น ความพึงพอใจ คือทัศนคติในทางบวกของบุคคลจะเกิด ขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ ทุกสิ่งที่เกี่ยวเนื่องจากความต้องการด้านพื้นฐานของ มนุษย์ ถ้าบุคคลได้รับความตึ งเครียด มีผลเกี่ยวเนื่องจากความต้องการ ด้ า นพื้ น ฐานของมนุ ษ ย์ จ ะเกิ ด ความพึ ง พอใจมากขึ้ น (Smith 1966, หน้า 115) ส่วน (Vroom 1967, หน้า 90) กล่าวว่า ทัศนคติและความ พึงพอใจเป็นสิ่งหนึ่งที่สามารถใช้แทนกันได้ เพราะทั้งสองคำา นี้จะหมาย ถึงผลที่ได้จากการที่บุคคลเข้าไปมีส่วนร่วมในสิ่งนั้น ทัศนคติด้านบวก จะ แสดงให้เห็นสภาพความพึงพอใจ ในสิ่งนั้น และทัศนคติด้านลบและ แสดงให้เห็นสภาพความไม่พึงพอใจนั้นเองสอดคล้อง กับ เชลเลย์ (อ้าง ถึงในจิรวิทย์ เดชจรัสศรี 2538, หน้า 40) ที่ศึกษาแนวความคิดเกี่ยวกับ ความพึงพอใจ ซึ่งสรุปได้ว่ า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกสองแบบของ มนุษย์ คือ ความรู้สึกในทางบวก และความรู้สึกในทางลบ ความรู้สึกทาง สองแบบของมนุษย์ คือ ความรู้สึกในทางบวก และความรู้สึกในทางลบ ความรู้ สึ ก ทางบวกเป็ น ความรู้ สึ ก ที่ เ กิ ด ขึ้ น แล้ ว จะทำา ให้ เ กิ ด ความสุ ข ความสุขนั้นเป็นความรู้สึกที่แตกต่างจากความรู้สึกทางบวกอื่น กล่าวคือ เป็นความรู้สึกที่ระบบย้อนกลับ ความสุขสามารถทำา ให้เกิดความสุขหรือ ความรู้สึกทางบวกเพิ่ม ขึ้นได้ อี ก ดังนั้ น จะเห็นได้ ว่ าความสุ ข เป็ นความ รู้สึกที่สลับซับซ้อน และความสุขนั้นมีผลต่อบุคคลมากกว่าความรู้สึกทาง
  • 12. บวกอื่น ๆ ส่วนความรู้สึกทางลบ ความรู้สึกทางบวก และความสุขมีความ สัม พันธ์กันอย่างสลับซับซ้อ นและระบบ ความสัม พั นธ์ ข องความรู้ สึ กทั้ ง สามนี้ เรีย กว่ า ระบบความพึ ง พอใจ โดยความพึ ง พอใจจะ เกิ ด ขึ้ นเมื่ อ ระบบความพึงพอใจมีความรู้สึกทางบวกมากกว่าทางลบ สิ่งที่ทำา ให้เกิดความรู้สึกพึงพอใจของมนุ ษย์มั กจะได้แก่ ทรัพยากร (Resources) หรือ สิ่ งเร้ า (Stimuli) การวิ เ คราะห์ ร ะบบความพอใจคื อ การศึกษาว่าทรัพยากรหรือสิ่งเร้า แบบใดเป็นสิ่งที่ต้องการที่จะทำาให้เกิด ความพึงพอใจและความสุขแก่มนุษย์ ความพอใจ จะเกิดได้มากที่ใดเมื่อมี ทรัพยากรทุกอย่างที่เป็นที่ต้องการครบถ้วน นอกจากนี้ กิ ติ ย า ปรี ดี ดิ ล ก (2524, หน้ า 321-322) ได้ ใ ห้ ค วาม หมายของความพึง พอใจว่ า หมายถึงความรู้ สึ กชอบหรื อ พอใจที่ มี อ งค์ ประกอบ และสิ่งจูงใจในด้านต่าง ๆ ของงาน และเขาได้รับการตอบสนอง ความต้องการเขาได้ หลุ ย จำา ปาเทศ (2533, หน้ า 35) ได้ อ ธิ บ ายว่ า ความพึ ง พอใจ หมายถึง ความ ต้องการได้บรรลุเป้าหมาย พฤติกรรมที่แสดงออกมาก็จะมี ความสุข สังเกตได้จากสายตา คำาพูด และการแสดงออก ชวิ ณี เดชจิ น ดา (2530, หน้ า 45) กล่ า วถึ ง ความพึ ง พอใจว่ า หมายถึง ความรู้สึกหรือ ทัศนคติของบุคคลที่มีต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดหรือปัจจัย ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ความรู้สึกพอใจจะ เกิดขึ้นเมื่อความต้องการของบุคคล ได้รับการตอบสนองหรือบรรลุจุดมุ่งหมายในระดับ จากที่กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกหรือ ทัศนคติ ทางด้านบวกของบุคคลที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ สิ่งนั้นสามารถ ตอบสนองความต้องการให้แก่บุคคลนั้นได้ แต่ทั้งนี้ความ พึ ง พอใจของแต่ ล ะบุ ค คลย่ อ มมี ความแตกต่ า งกั น ขึ้ น กั บ ค่ า นิ ย มและ ประสบการณ์ที่ได้รับ โวลแมน (1973, หน้ า 384) กล่ า วว่ า ความพึ ง พอใจ หมายถึ ง ความรู้สึกที่มีความสุข เมื่อได้รับผลสำาเร็จตามจุดมุ่งหมาย ความต้องการ หรือแรงจูงใจ 2.2.1 ความหมายของความพึง พอใจ ความพึงพอใจตรงกับคำาในภาษาอังกฤษว่า “Satisfaction” มีผู้ ให้ความหมายของความพึงพอใจ ไว้ดังนี้ พิน คงพูล (2529, หน้า 21) ได้ส รุป ความหมายของความพึ ง พอใจไว้ ว่ า หมายถึ ง ความรู้ สึ ก รั ก ชอบ ยิ น ดี เต็ ม ใจ หรื อ เจตคติ ข อง บุคคลที่เกิดจากการได้รับการตอบสนอง ความต้องการทั้งด้านวัตถุและ จิตใจ
  • 13. กู๊ด (1973, หน้า 320) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจว่า ความพึงพอใจ หมายถึง สภาพ คุณภาพ หรือระดับความพึงพอใจซึ่งเป็น ผลมาจากความสนใจต่าง ๆ และ ทัศนคติที่บุคคลมีต่อสิ่งที่ทำาอยู่ วู ล แมน (1973, หน้ า 384) ได้ ใ ห้ ค วามหมายของความพึ ง พอใจไว้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่มีความสุขเมื่อได้รับผล สำาเร็จตามความมุ่งหมาย ความต้องการ หรือ แรงจูงใจ สรุปได้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่ดี หรือเจตคติที่ดี ของบุคคลที่มีต่อ สิ่งนั้น ๆ เมื่อบุคคลอุทิศแรงกาย แรงใจ และสติปัญญา เพื่อกระทำาในสิ่งนั้น ๆ 2.2.2 ความสำา คัญ ของความพึง พอใจ สาโรช ไสยสมบัติ (2534, หน้า 15) กล่าวถึง ความสำาคัญของ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ว่ า ความพึ ง พอใจเป็ น ปั จ จั ย สำา คั ญ ที่ ช่ ว ยให้ ง านประสบ ผลสำา เร็ จ โดย เฉพาะอย่างยิ่งงานเกี่ยวกับการให้บริการ ซึ่งเป็นปัจจัยสำาคัญประการแรก ที่ เป็นตัวบ่งชี้ถึงความเจริญก้าวหน้าของงานบริการก็คือ จำานวนผู้มาใช้ บริการ ดังนั้น ผู้บริหารที่ชาญฉลาดจึงควรอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาให้ลึก ซึ้ ง ถึ ง ปัจ จัย และองค์ ป ระกอบต่ า ง ๆ ที่ จ ะทำา ให้ เ กิ ด ความพึ ง พอใจ ทั้ งผู้ ปฏิบัติงานและผู้มาใช้บริการ เพื่อใช้เป็นแนวทางใน การบริหารองค์กร ให้มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงที่สุดจากความสำาคัญดังกล่าว สรุป ได้ว่า หากบุคคลมีความพึงพอใจย่อมส่งผลต่อ ความเจริ ญก้ าวหน้ าของ หน่วยงาน ตลอดจนทำาให้เกิดความศรัทธาในหน่วยงานต่อไป บทที่ 3 วิธ ีด ำา เนิน การวิจ ัย
  • 14. การวิ จั ย เรื่ อ ง การศึ ก ษาความพึ ง พอใจการจั ด การเรี ย นการสอน วิชาการปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์ของนักศึกษาในรายวิชาปฏิบัติงาน บริ การคอมพิว เตอร์ ประจำา ภาคเรี ย นที่ 2 ปี การศึ กษา 2554 ผู้ วิ จั ย ได้ ดำาเนินการวิจัย ตามขั้นตอนดังนี้ 1. แบบแผนการวิจ ัย การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน วิชาปฏิบัติ งานบริการคอมพิวเตอร์ ในด้านเนื้อหาวิชา ด้านผู้สอน ด้านกิจกรรมการ เรียนการสอน ด้านปัจจัยส่งเสริมการเรียนการสอน ประจำาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 2. เพื่ อ ใช้ เ ป็ น แนวทางให้ ผู้ ส อน ได้ พั ฒ นาการจั ด การเรี ย นการ สอน ในรายวิชาปฏิบัติงานบริการ คอมพิวเตอร์ และ วิชาอื่น ๆ ต่อไป 2. ประชากร/กลุ่ม ตัว อย่า ง ประชากรของการวิจัยครั้งนี้คือ นักศึกษาระดับ ปวช.ชั้นปีที่ 2 สาขางาน/ แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ของวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี ที่ ลงทะเบียนเรียนวิชา ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์ ในภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2554 จำานวน 100 คน กลุ่ม ตัวอย่า งคื อ นั กศึ กษาระดั บ ปวช. ชั้ นปี ที่ 2 สาขางาน/ แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิ จ ของวิ ท ยาลั ย เทคนิ ค ปทุ ม ธานี ที่ ล งทะเบี ย น เรียนวิชา ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จำานวน 82 คน 3. เครื่อ งมือ ที่ใ ช้ใ นการวิจ ัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 3.1 ในการวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยได้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ ในการเก็ บรวบรวมข้อ มูล มี ลั กษณะเป็ นแบบสอบถามแบบ มาตราส่ ว น ประมาณค่า (Rating Scale) ชนิดกำา หนดคำา ตอบเป็นข้อความ 5 ระดับ โดยแบ่งออกเป็น 5 ด้าน ดังนี้ 1) ด้านเนื้อหาวิชา จำานวน 10 ข้อ 2) ด้านผู้สอน จำานวน 15 ข้อ 3) ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน จำานวน 10 ข้อ 4) ด้านปัจจัยส่งเสริมการเรียนการสอน จำานวน 10 ข้อ รวม จำานวน 45 ข้อ
  • 15. ลักษณะของตัวแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ 5 คะแนน ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด 4 คะแนน ระดับความพึงพอใจ มาก 3 คะแนน ระดับความพึงพอใจ ปานกลาง 2 คะแนน ระดับความพึงพอใจ น้อย 1 คะแนน ระดับความพึงพอใจ น้อยที่สด ุ 4. การดำา เนิน การวิจ ัย / การเก็บ รวบรวมข้อ มูล การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) ซึ่งเป็ นการเก็บข้อ มูล จากกลุ่ม ประชากร แบบปฐมภู มิ โดยผู้ วิจั ยดำา เนิน การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง 5. การวิเ คราะห์ข ้อ มูล ในการศึ ก ษาวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ พื่ อ ศึ ก ษาความความพึ ง พอใจการ จัดการเรียนการสอน วิชาการปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์ ภาคเรียนที่ 2 ปี ก ารศึ ก ษา 2554 และเพื่ อ หาข้ อ มู ล ข้ อ เสนอแนะ ในการ พั ฒ นาการจั ด การด้ า นการเรี ย นรู้ และฝึ ก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ให้ สอดคล้องกับการจัดการศึกษาในระดับอาชีวศึกษา . ผู้ วิ จั ย ได้ดำา เนินการวิเ คราะห์ ต่ างๆดั ง นี้ การวิ เคราะห์ ข้ อ มู ล แบ่ งเป็ น 2 ส่วน ดังนี้ 1. ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มประชากรวิเคราะห์โดยการหาค่าร้อย ละ 2. การประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการเชิงสำารวจ ซึ่ง จะวิเคราะห์ โดยการหาค่าเฉลี่ยและ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3. เมื่อ รวบรวมข้ อ มู ล และแจกแจงความถี่ แล้ ว จะใช้ ค ะแนน เฉลี่ย ของกลุ่ม ตัวอย่างมาพิ จ ารณา ระดับ ความพึ งพอใจ ซึ่ งมี เกณฑ์ ใน การพิจารณาดังนี้ ค่าเฉลี่ย 4.20 – 5.00 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ ในระดับ มากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.40 – 4.19 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ ในระดับ มาก ค่าเฉลี่ย 2.60 – 3.39 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ ในระดับ ปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.80 – 2.59 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ ในระดับ น้อย
  • 16. ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.79 หมายถึง ระดับความพึงพอใจ ในระดับ น้อยที่สุด สถิต ิท ี่ใ ช้ใ นการวิเ คราะห์ข ้อ มูล การใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้ได้ใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) บทที่ 4 ผลการวิเ คราะห์ข ้อ มูล การวิจัยเรื่อง การศึกษาความพึงพอใจการจัดการเรียนการสอน วิชาการ ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์ของนักศึกษาในรายวิชาปฏิบัติงานบริการ คอมพิวเตอร์ ประจำาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 สรุปได้ว่า ตารางที่ 4.1 จำานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม ข้อ มูล ของนัก เรีย น จำา นวน ร้อ ยละ 1. เพศ ชาย 10 12.20 2. คะแนน หญิง 72 87.80 เฉลี่ย ตำ่ากว่า 2.5 3 3.66 2.51 – 3.00 29 35.37 3.01 ขึ้นไป 50 60.98 6-10 ครั้ง 7 8.54 3. นักเรียนเข้า มากกว่า 10 ครั้ง 75 91.46 ชันเรียน ้ จากตารางที่ 4.1 แสดงว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นนักเรียน เพศหญิง มากกว่านักเรียนเพศชาย นักเรียนส่วนใหญ่มีผลการเรียนเฉลี่ย อยู่ในระดับปานกลาง และนั กเรี ยนส่ว นใหญ่ เข้ าห้ อ งเรี ย นมากกว่ า 10 ครั้งขึ้นไป ตารางที่ 4.2 แสดงค่าเฉลี่ยและค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของความ พึงพอใจของนักเรียนในการจัดการเรียนการสอนวิชาปฏิบัติงานบริการ คอมพิวเตอร์ ด้านเนื้อหาวิชา ระดับ ด้า นเนือ หาวิช า ้ S.D. ความ พึง พอใจ
  • 17. 1. ได้รับความรู้ใหม่จากเนื้อหาวิชา 3.88 0.66 มาก 2. เนื้อหาวิชามีความสำาคัญและน่าสนใจ 3.82 0.67 มาก 3. เนื้อหาวิชามีความสอดคล้องกับ 4.01 0.68 มาก วัตถุประสงค์ 3.99 0.73 มาก 4. เนื้อหาวิชาทันสมัยและทันเหตุการณ์ 4.41 0.70 มากที่สุด 5. เนื้อหาวิชาที่เรียนมีประโยชน์ต่อการ 3.74 0.75 มาก ประกอบอาชีพ 3.88 0.74 มาก 6. เนื้อหาวิชาก่อให้เกิดความคิดริเริ่ม 3.96 0.78 มาก สร้างสรรค์ 4.35 0.73 มากที่สุด 7. เนื้อหาวิชาไม่ซำ้าซ้อนกับวิชาอื่น 3.91 0.69 มาก 8. ความเหมาะสมกับพื้นฐานความรู้ของผู้ เรียน 9. เนื้อหาวิชานาไปประยุกต์ใช้ได้ 10. ความพึงพอใจต่อเนื้อหาวิชาที่ได้เรียน โดยภาพรวม รวม 4.00 0.71 มาก จากตารางที่ 4.2 แสดงว่านักเรียนมีความพึ งพอใจในการจั ดการ เรียนการสอน วิชาวิชาปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์ ในด้านเนื้อหาวิชา โ ด ย ร ว ม อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ ม า ก แ ล ะ ม า ก ที่ สุ ด ( = 4.00 S.D = 0.71) เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่านักเรียนมีความพึงพอใจใน ระดับมากเป็นส่วนใหญ่ โดยในข้อ 5 และ ข้อ 9 นักเรียนมีความพึงพอใจ ในระดับมากที่สุด ตารางที่ 4.3 แสดงค่าเฉลี่ยและค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของความ พึงพอใจของนักเรียน ในการจัดการเรียนการสอนวิชาวิชาปฏิบัติงานบริการ คอมพิวเตอร์ ด้านผู้สอน ระดับ ความ ด้า นเนื้อ หาวิช า S.D. พึง พอใจ
  • 18. 1. มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชาที่สอน 3.87 0.62 มาก 2. มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ 3.79 0.75 มาก 3. มีความรู้ทันสมัย 4.15 0.69 มาก 4. สามารถเชื่อมโยงประสบการณ์ที่เป็น 4.07 0.77 มาก ประโยชน์ต่อผู้เรียน 3.80 0.76 มาก 5. ใช้คำาถามที่ช่วยให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ 3.84 0.79 มาก 6. มีการวางแผนและเตรียมการสอนมาอย่างดี 3.65 0.87 มาก 7. การสร้างบรรยากาศในการเรียนการสอน 3.88 0.78 มาก 8. เอาใจใส่จริงจังต่อการเรียนการสอน 3.66 0.79 มาก 9. ความตรงต่อเวลาในการเรียนการสอน 3.82 0.77 มาก 10. การวางตนที่เหมาะสมและเป็นแบบอย่าง 4.04 0.82 มาก 11. ให้ความช่วยเหลือเมื่อมีปัญหาทั้งในและ 3.74 0.91 มาก นอกชั้นเรียน 3.94 0.81 มาก 12. มีความมั่นคงทางอารมณ์ สุขุมรอบคอบ 13. กระตุ้นให้กาลังใจนักเรียนในการถาม 4.13 0.72 มาก และแสดงความความคิดเห็น 4.00 0.72 มาก 14. มีการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ 15. ความพึงพอใจต่ออาจารย์ผู้สอนโดยภาพ รวม รวม 3.89 0.77 มาก จากตารางที่ 4.3 แสดงว่านักเรียนมีความพึงพอใจในการจัดการ เรียนการสอนวิชาปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์ ในด้านผู้สอน โดยรวม อยู่ในระดับมาก และมากที่สุด ( = 3.89 S.D = 0.77) เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่านักเรียนมีความพึงพอใจในระดับมากทุกข้อ ตารางที่ 4.4 แสดงค่าเฉลี่ยและค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของความ พึงพอใจของนักเรียนในการจัดการเรียนการสอนวิชาวิชาปฏิบัติงาน บริการคอมพิวเตอร์ ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน ระดับ ความ ด้า นกิจ กรรมการเรีย นการสอน S.D. พึง พอใจ
  • 19. 1. การชี้แจงบอกจุดมุ่งหมายของวิชาที่สอน 4.04 0.67 มาก อย่างชัดเจน 4.09 0.72 มาก 2. ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการกำาหนด 3.89 0.72 มาก กิจกรรมการเรียนการสอน 3.83 0.75 มาก 3. กระตุ้นให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น 4.11 0.79 มาก 4. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้แสดงออกอย่าง 3.96 0.69 มาก สร้างสรรค์ 3.78 0.82 มาก 5. ส่งเสริมการทำางานเป็นทีม 4.06 0.82 มาก 6. ความเหมาะสมในการมอบหมายงาน 4.13 0.78 มาก 7. ปลูกฝังความเป็นประชาธิปไตย 4.10 0.80 มาก 8. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามปัญหา 9. ปลูกฝังระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม 10. ความพึงพอใจเกี่ยวกับการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนโดยภาพรวม รวม 4.00 0.76 มาก จากตารางที่ 4.4 แสดงว่า นักเรียนมีความพึงพอใจในการจัดการเรียน การสอน วิ ช าวิ ช าปฏิ บั ติ ง านบริ ก ารคอมพิ ว เตอร์ ในด้ า นกิ จ กรรมการ เรียนการสอน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.00 S.D = 0.76) เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่านักเรียนมีความพึงพอใจในระดับมากทุกข้อ ตารางที่ 4.5 แสดงค่าเฉลี่ยและค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของความ พึงพอใจของนักเรียน ในการจัดการเรียนการสอนวิชาวิชาปฏิบัติงาน บริการคอมพิวเตอร์ ด้านปัจจัยส่งเสริมการเรียนการสอน ด้านปัจจัยส่งเสริมการเรียนการสอน S.D. ระดับ
  • 20. ความ พึง พอใจ 1. สภาพห้องเรียนมีความเหมาะสมกับการ 3.79 0.73 มาก เรียนการสอน 3.76 0.73 มาก 2. โสตทัศนูปกรณ์มีความเหมาะสม ทันสมัย 3.78 0.74 มาก 3. ได้รับความสะดวกในการใช้โสต ทัศนูปกรณ์ต่าง ๆ เกี่ยวกับการเรียนการ 3.76 0.84 มาก สอน 3.87 0.80 มาก 4. การอำานวยความสะดวกในการใช้บริการ 3.83 0.80 ห้องสมุด 3.93 0.78 มาก 5. ปริมาณหนังสือและเอกสารต่าง ๆ ในการ 3.79 0.80 มาก ศึกษาค้นคว้ามีเพียงพอ 4.05 0.77 มาก 6. ความทันสมัยของหนังสือและเอกสารต่าง ๆ 4.13 0.70 มาก ในห้องสมุด 7. ห้องสมุดมีบรรยากาศที่เหมาะสมกับการ ศึกษาค้นคว้า 8. การให้บริการของเจ้าหน้าที่ในฝ่ายบริการ ต่าง ๆ 9. ความร่มรื่นและบรรยากาศทั่วไปภายใน บริเวณวิทยาลัย 10. ความพึงพอใจต่อปัจจัยส่งเสริมการเรียน การสอน โดยภาพรวม รวม 3.87 0.77 มาก จากตารางที่ 4.5 แสดงว่านักเรียนมีความพึงพอใจในการจัดการเรียน การสอนวิชาวิชาปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์ ในด้านปัจจัยส่งเสริมการ เรียนการสอน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.87 S.D = 0.77) เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่านักเรียนมีความพึงพอใจในระดับมากทุกข้อ
  • 21. บทที่ 5 สรุป ผลการวิจ ัย อภิป รายผล และข้อ เสนอแนะ 5.1 สรุป ผลการวิจ ัย การศึกษาการวิจัยเพื่อการพัฒนาการเรียนการสอนในเรื่องความพึง พอใจในการจัดการเรียนการสอนวิชาวิชาปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์ ของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ประจำาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 สรุปผลการวิจัยมีดังนี้ 5.1.1 ข้อมูลทั่วไปของนักเรียน นักเรียนส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีผลการเรียนอยู่ในระดับปาน กลาง และนักเรียนเข้า ชั้นเรียนมากกว่า 10 ครั้งขึ้นไป 5.1.2 ความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน นักเรียนมีความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน วิชาวิชา ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์ ในด้านเนื้อหาวิชา ด้านผู้สอน ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน และ ด้าน ปัจจัยส่งเสริมการเรียนการสอน นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก 5.1.3 ด้านปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ 1) ด้านเนื้อหาวิชา: ควรมีการพัฒนาให้มีความน่าสนใจ และทันสมัยอยู่เสมอ 2) ด้านผู้สอน: อยากให้มีเวลากับผู้เรียนเพิ่มขึ้น มีความ เป็นกันเอง สอนดี สอนสนุก และเป็นผู้สอนที่มีความเอาใจใส่กับผู้เรียน เป็นอย่างดี 3) ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน: ควรเพิ่มเวลาในการจัด กิจกรรมให้มากขึ้น สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน 4) ด้านปัจจัยส่งเสริมการเรียนการสอน: อยากให้มีการเอาใช้ สือการสอน อุปกรณ์สนับสนุนการค้นคว้าความรู้บนระบบอินเตอร์เน็ตเพิ่ม ่ ขึน เพื่อให้นักเรียนได้ความรู้และนำาไปใช้ประโยชน์ ้ 5.1.4 ข้อเสนอแนะด้านอื่น ๆ การจัดสภาพที่เรียนน่าจะมีความทันสมัย เช่นการเปิด อินเตอร์เน็ตเพื่อแสดงตัวอย่างประกอบการสอน และอยากให้มีการพัก บ้างจะได้ผ่อนคลาย
  • 22. 5.2 แนวทางในการพัฒ นาการเรีย นการสอนวิช าปฏิบ ัต ิง าน บริก ารคอมพิว เตอร์ จากผลการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนเรื่อง ความพึงพอใจใน การจั ด การเรีย นการสอน วิชาวิ ชาปฏิ บัติ ง านบริ ก ารคอมพิ ว เตอร์ ของ นักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ ประจำาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 ในครั้งนี้ ผู้วิจัยขอสรุปผล การวิจัยเพื่อนำา ไปใช้เป็นแนวทางการพัฒนาการเรียนการสอนวิชาวิชา ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์ ดังนี้ 5.2.1 ด้ า นเนื้ อ หาวิ ช า: จากผลการวิ จั ย พอสรุ ป ได้ ว่ า นั ก เรี ย นมี ความพึ ง พอใจในด้ า นเนื้ อ หาวิ ช าอยู่ ใ นระดั บ มากและมากที่ สุ ด เพราะ เนื้อหาวิชามีความทันสมัย ทันเหตุการณ์และน่าสนใจ และสามารถนาค วามรู้ ที่ ไ ด้ รั บ ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ไ ด้ ใ นชี วิ ต จริ ง แต่ ผู้ วิ จั ย ก็ ค วรจะเพิ่ ม เติ ม ทฤษฏี เนื้อ หาวิชา สาระสำา คั ญ เพิ่ มเติม ให้ นักเรี ย นมี ค วามเข้ าใจในบท เรี ย นได้ ม ากยิ่ ง ขึ้ น พร้ อ มทั้ ง อธิ บ ายยกตั ว อย่ า งจากสถานการณ์ จ ริ ง ที่ เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชา มาประกอบการเรียนการสอนด้วย 5.2.2 ด้านผู้สอน: ในด้านผู้สอน นักเรียนมีความพึงพอใจโดยภาพ รวมในระดับมาก โดยเฉพาะในด้านผู้สอนมีความรู้ทันสมัย มีการพัฒนา ตนเองอยู่เสมอ สามารถเชื่อมโยงประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน และให้ความช่วยเหลือผู้เรียนเมื่อมีปัญหาทั้งใน และ นอกชั้นเรียน แต่ผู้ สอนควรพัฒนาการสร้างบรรยากาศในการเรียนการสอน ให้สนุกสนาน มีความสุข ความเป็นกันเอง เข้าใจ และสนใจผู้เรียนมากขึ้น 5.2.3 ด้านกิจกรรมการเรีย นการสอน: ผู้เรียนมีความพึงพอใจโดย ภาพรวมในระดับมาก โดยมี การส่ งเสริ ม การทำา งานเป็ นที ม มี ใจรั กการ บริการ มีจิตอาสา สาธารณะ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกำา หนด กิจกรรมการเรียนการสอน พร้อมด้วยมีการปลูกฝังระเบียบวินัย คุณธรรม 5.2.4 ด้านปัจจัยส่งเสริมการเรียนการสอน: จากผลการวิจัยในครั้งนี้ พบว่านักเรียนมีความพึงพอใจ ในด้านปัจจัยส่งเสริมการเรียนการสอน อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ความร่มรื่น และบรรยากาศทั่วไปภายในบริเวณวิ ทยาลัยฯ ห้องสมุดมีบรรยากาศที่เหมาะสมกับการศึกษาค้นคว้ า หนังสือ และเอกสารต่าง ๆ ในห้องสมุดมีความทันสมัย และสภาพห้องเรียนมีความ เหมาะสมกับการเรียนการสอนอยู่ในระดับมาก
  • 23. บรรณานุก รม เชาว์ อินใย. (2540). งานวิ จั ย “ความพึ งพอใจของนั กเรี ย นโครงการ จัดการศึกษาสาหรับ บุค ลากรประจาการ(กศ.บป) ต่อกระบวนการ เรียนการสอนสถาบันราชภัฏเลย” สถาบันราชภัฏเลย. ทิพวัลย์ ศรีจันทร์ และคณะ. (2547). งานวิจัย “การศึกษาผลสัมฤทธิ์และ ความพึ งพอใจในการจั ด การเรี ย นการสอนผ่ า นระบบวิ ดี โ อคอน เฟอเรนซ์ของการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพ ชี วิ ต ของนั ก เรี ย นสถาบั น ราชภั ฏ สวนดุ สิ ต ” คณะวิ ท ยาศาสตร์ สถาบันราชภัฏสวนดุสิต. สมบู ร ณ์ สงวนญาติ . (2536). งานวิ จั ย “การศึ กษาความพึ ง พอใจของ นักเรียนต่อกระบวนการเรียนการสอน วิทยาลัยครูเทพสตรี”. คณะ ครุศาสตร์ วิทยาลัยครูเทพสตรี สิรินดา วรรธนะวิภาต. (2543). งานวิจัย “ความพึงพอใจของนักเรียนที่ มี ต่ อ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ในมหาวิทยาลัยศรีปทุม” มหาวิทยาลัยศรีปทุม. สุวัฒพา สุวรรณเขตนิคม. (2538). แนวคิดและรูปแบบเกี่ยวกับการวิจัย ในชั้นเรียน. บพิธการพิมพ์. กรุงเทพฯ. สมบู ร ณ์ ตั น ยะ. (2547). การประเมิ น ทางการศึ ก ษา. สุ วิ ริ ย าสาส์ น . กรุงเทพฯ.
  • 24. กฤษณ์ ศุภนราพรรค์ . (2548). ความพึ งพอใจในการใช้ บ ริ ก ารสนาม กี ฬ าโรงเรี ย นชุ ม ชน แหลมงอบฯ ของผู้ ป กครองนั ก เรี ย นและ ชุมชน. ม.ป.ท. กฤษณี โพธิ์ชนะพัน ธุ์ . (2542). ความพึ งพอใจต่ อ บริ ก ารของผู้ บ ริ การ แผนกผู่ป่วยนอก สถาบันโรคผิวหนัง . วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยา ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหาร สาธารณสุข สาธารณสุขศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหิดล. กนิษฐา ปุญญนิรันดร์ . (2539). ความพึงพอใจของผู้ รับ บริการ: ศึกษา กรณีเปรียบเทียบ ระหว่างธนาคารกรุงไทย จำากัด (มหาชน) สาขา บางนำ้า เปรี้ ย ว และธนาคาร กรุ ง เทพฯ จำา กั ด (มหาชน) สาขา บางนำ้า เปรี้ยว. ภาคนิพนธ์พัฒนบริหารศาสตรมหา บัณฑิต สาขา เทคโนโลยี ก ารบริ ห าร, โครงการบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาเทคโนโลยี ก าร บริหาร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. กรมการปกครอง. (2536). คู่ มือ บริ การประชาชน. กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์ส่วน ท้องถิ่น. กิจติพงศ์ ขลิบแย้ม. (2541). การศึกษาการให้บริการของสำานักงานเขต ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร : ศึ ก ษ า ก ร ณี เ ฉ พ า ะ สำา นั ก เ ข ต จ ตุ จั ก ร . วิท ยานิพนธ์ศิล ปศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต . (รั ฐ ศาสตร์ ), มหาวิ ท ยาลั ย รามคำาแหง. กิติยา ปรีดีดิลก. (2542). ทฤษฎีการบริหารองค์การ. กรุงเทพมหานคร: ม ห า วิ ท ย า ลั ย ศ รี น ค ริ น ท ร วิโรฒ ประสานมิตร. กุ ล ธน ธนาพงศ์ ธ ร. (2530). การบริ ห ารงานบุ ค คล. เอกสารการสอน 32304. หน่วยที่ 8 - 15 สาขาวิทยาการจัดการ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. กุลธน ธนาพงศ์ธร. (2530). ประโยชน์และบริการ. ในเอกสารการสอน ชุ ด วิ ชา ก าร บริ ก าร ง าน บุ ค ค ล . (พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 7). น นท บุ รี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. กุลนดา โชติมุกตะ. (2538). ความพึงพอใจของประชาชนต่อระบบและ กระบวนการการ ให้ บ ริ ก ารของกรุ ง เทพมหานคร : ศึ ก ษากรณี สำา นั ก ง า น เ ข ต บ า ง ซื่ อ . ก รุ ง เ ท พ ฯ : ส ถ า บั น บั ณ ฑิ ต พัฒนบริหารศาสตร์. จิรวิทย์ เดชจรัลศรี. (2538). ความพึงพอใจของประชาชนต่อระบบและ กระบวนการ ให้บริการของกรุงเทพมหานคร. ภาคนิพนธ์ปริญญา พั ฒ น า บ ริ ห า ร ศ า ส ต ร ม ห า บั ณ ฑิ ต , ส ถ า บั น บั ณ ฑิ ต พัฒนบริหารศาสตร์.
  • 25. ชวลิ ต เหล่ า รุ่ ง กาญจน์ . (2538). ความพึ ง พอใจของลู ก ค้ า ต่ อ การให้ บริการของธนาคาร กรุงเทพ จำา กัด (มหาชน) ศึกษาเฉพาะกรณี สาขาท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี . ภาค นิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะพัฒนาสังคม, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร ศาสตร์. ชวิณี เดชจินดา. (2530). ความพึงพอใจของประชาชนต่อศูนย์บริการ กำา จั ด ภ า ค อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ ข ว ง แ ส ม ดำา เ ข ต บ า ง ขุ น เ ที ย น กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ปริญญาสังคมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยมหิดล. ชูวงศ์ ฉายะบุตร. (2536). การให้บริการแบบครบวงจรแนวทางการให้ บ ริ ก า ร เ ชิ ง รุ ก ข อ ง ก ร ม ก า ร ป ก ค ร อ ง . เ ท ศ บ า ล 88, 30 (กรกฎาคม): 11-14. โชคชั ย ชั ย ธวั ช . (2547). นั ก การตลาด CEO ตอน การบริ ก ารการ ตลาด. กรุงเทพฯ : ซี.พี. บุ๊ค สแตนดาร์ด. ชำา น า ญ ภู่ เ อี่ ย ม . (2548). Service Mind: ก า ร มี จิ ต มุ่ ง บ ริ ก า ร . เทศาภิบาล 100, 2 (ก.พ.2548) 35-38. ธนพร ชุม วรฐานี . (2539). ความพึ งพอใจของประชาชนต่ อ ระบบและ กระบวนการ ให้บริการของกรุงเทพมหานคร. ภาคนิพนธ์ปริญญา พั ฒ นาบริ ห ารศาสตร์ มหาบั ณ ฑิ ต คณะพั ฒ นาสั ง คม, สถาบั น บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. นันทนา ประกอบกิจ . (2538). ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การ: ศึ ก ษากรณี ฝ่ า ย พั ฒ นาชุ ม ชน สำา นั ก เขตกรุ ง เทพมหานคร . วิ ท ยานิ พ นธ์ สั ง คมสงเคราะห์ ศ าสตรมหาบั ณ ฑิ ต , มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์. นิ ย ม ศรี วิ เ ศษ. (2521.) ความพึ ง พอใจในการทำา งานของข้ า ราชการ ส่ ว นจั ง หวั ด ตำา แหน่ ง ครู การศึ ก ษา 9 .ปริ ญ ญานิ พ นธ์ กศม. ก รุ ง เ ท พ ฯ : ม ห า วิ ท ย า ลั ย ศ รี น ค ริ น ท ร์ วิ โ ร ฒ ประสานมิตร. บั ง อร ผงผ่ า น. (2541). ความพึ ง พอใจของผู้ รั บ บริ ก ารต่ อ งานบริ ก าร ของโรงพยาบาล ชุ ม ชน : กรณี ศึ กษาโรงพยาบาลกั น ทรลั ก ษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ. วิทยานิพนธ์ ปริญญาพัฒนาบริหารศาสตรมหา บั ณ ฑิ ต (พั ฒ นาสั ง คม) คณะพั ฒ นาสั ง คมสถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ น บริหารศาสตร์. ประหยัด ยะคะนอง. (2523). ทั ศ นคติ ข องประชาชนที่ มี ต่ อ การบริ ก าร สาธารณะของหน่ ว ย การปกครองท้ อ งถิ่ น : ศึ ก ษาเฉพาะกรณี เทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธ์ รป.ม., ม.ป.ท. ปรัชญา เวสารัชช์. (2526). องค์การกับลูกค้า . วารสารสังคมศาสตร์ 15, 12 (ตุลาคม - ธันวาคม): 61-76.
  • 26. ปิ ย ะดา เวชประสิ ท ธิ์ . (2539). ความพึ ง พอใจของประชาชนในเขต เทศบาลที่มีต่อผลงาน ของเทศบาลนครศรีธรรมราช. กรุงเทพฯ : ภาควิชาการปกครอง บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พรพิ ม ล ธุวสิน ธุ์ . (2538). ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ ความพึ งพอใจในการปฏิ บั ติ งานบริหารงาน ฝึกอบรม: ศึกษาเฉพาะหน่วยงานฝึกอบรมในเขต กรุงเทพมหานคร. ภาคนิพนธ์ หนังสูตรบริหารศาสตรมหาบัณฑิต โครงการบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาการพั ฒ นาทรั พ ยากร มนุ ษ ย์ , สถาบั น บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. พยุงศักดิ์ นามวรรณ. (2537). ความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่สืบสวน ของเจ้ า หน้ า ที่ ตำา รวจชั้ น ประทวนในสถานี ตำา รวจภู ธ ร จั ง หวั ด ขอนแก่น. มปป. พิน คงพูล. (2529). ความพึงพอใจที่มีต่อบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ ของ คณะกรรมการการประถมศึ กษาจั งหวั ด ใน 14 จั งหวั ด ภาค ใ ต้ . วิ ท ย า นิ พ น ธ์ (ก ศ .ม .) ม ห า วิ ท ย า ลั ย ศ รี น ค ริ น ทรวิโรฒ สงขลา. มนตรี เฉีย บแหลม.(2536). ความพึงพอใจในภาระหน้ าที่และงานของ เกษตรอำาเภอใน จังหวัดภาคเหนือ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหา บัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช. (2535). เอกสารการสอนชุ ด วิ ช า องค์การและการจัดการ งานบุคคล. กรุงเทพมหานคร : สำานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ราชบัณฑิตยสถาน. (2525). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (พิมพ์ ค รั้ ง ที่ 3). ก รุ ง เ ท พ ฯ : อักษรเจริญทัศน์. วราภรณ์ รัชตะวรรณ. (2539). ความพึงพอใจของข้าราชการที่มีต่อการ ให้ บ ริ ก ารของฝ่ า ย การเจ้ า หน้ า ที่ สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นาบริ ห าร ศาสตร์ . ภาคนิ พ นธ์ ห ลั ก สู ต รพั ฒ นา บริ ห ารศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต โครงการบัณฑิตศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ , สถาบันบัณฑิต พั ฒ น บริหารศาสตร์. วาสนา พฤทธิพงศ์สิทธิ์. (2544). การเปิดรับข่าวสาร ภาพลักษณ์ ความ คาดหวัง และความ พึงพอใจของประชาชนชาวกรุงเทพมหานคร ที่ มี ต่ อ การติ ด ต่ อ สื่ อ สาร และการ ให้ บ ริ ก ารของนั ก งานเขต กรุ ง เทพมห านคร . วิ ท ย านิ พ นธ์ นิ เ ท ศ ศ าส ต รมห า บั ณ ฑิ ต , จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.