SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 32
Baixar para ler offline
1 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
ผลการดาเนินงานตามแผนการบริหารงานที่นาเสนอต่อสภามหาวิทยาลัย
(รอบ 1 ปี 6 เดือนแรก)
2 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
C M U BUSINESS SCHOOL
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
1. สรุปแนวคิดในการบริหารส่วนงานสู่เป้าหมาย (Concept Paper)
แนวคิดการบริหารส่วนงานสู่เป้าหมาย (Concept Paper)
สาหรับรอบการประเมิน 1 ธ.ค. 59 ถึง 31 พ.8. 61
รองศาสตราจารย์ ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร คณบดีคณะบริหารธุรกิจ
เอกสารฉบับนี้ทาขึ้นเพื่อสะท้อนผลและแผนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของคณะบริหารธุรกิจ 18 เดือน
แรกของการดารงตาแหน่งคณบดี วาระที่ สอง ที่ตั้งใจไว้ก่อนเข้ารับตาแหน่งคณบดี และนาเสนอการประเมิน
ตนเองเกี่ยวกับผลสาเร็จที่ได้ทาในระหว่างรอบการประเมินและสิ่งที่ยังทาไม่สาเร็จ ตลอดจนแนวคิดการ
ดาเนินงานในอนาคต
แผนกลยุทธ์ของคณะฯ ที่ได้ตั้งไว้ระหว่างรอบการประเมิน และผลการปฏิบัติ
คาอธิบายแผนกลยุทธ์
ที่ตั้งไว้
ผลสาเร็จของการดาเนินงาน สิ่งที่ยังต้องดาเนินการต่อ
แผนดาเนินการต่อเนื่องจากวาระแรก
มุ่งเป้าหมายสู่การได้รับการรับรองมาตรฐานสากลจาก AACSB ซึ่งเป็นการรับรองระดับคณะ หลังจากได้รับ
การรับรองมาตรฐาน ABEST21 ระดับหลักสูตรแล้วในการดารงตาแหน่งวาระแรก เนื่องจากกระบวนการ
รับรองฯ AACSB กินระยะเวลากว่า 5 ปี และก่อนขึ้นดารงตาแหน่งวาระ 2 ได้ดาเนินการจนคณะฯ เป็นไป
ตามารตรฐานแล้ว 13 จาก 15 มาตรฐาน จึงต้องขับเคลื่อนประเด็นท้าทายอีกสองมาตรฐาน ดังนี้
1. มาตรฐานคุณภาพ
อาจารย์
ได้มีการดาเนินการกาหนดมาตรฐานอาจารย์
ประจาและอาจารย์พิเศษจนเป็นที่สอดคล้องกับ
พันธกิจขอคณะ มหาวิทยาลัย ตลอดจนเป็นที่
ยอมรับได้ของ AACSB โดยในปัจจุบัน อาจารย์
กว่า 90% เป็นไปตามมาตรฐานแล้ว กล่าวคือมี
คุณวุฒิ และผลงานวิชาการทั้งการตีพิมพ์และ
ดาเนินการผลักดันต่อเนื่องให้
อาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ สาเร็จ
การศึกษาภายในกาหนด และ
คณาจารย์ที่ยังไม่มีผลงาน
ตีพิมพ์ครบจานวนมาตรฐาน
สามารถผลิตผลงานการ
3 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
คาอธิบายแผนกลยุทธ์
ที่ตั้งไว้
ผลสาเร็จของการดาเนินงาน สิ่งที่ยังต้องดาเนินการต่อ
ผลงานอื่นๆ ที่มีทั้ง Social และ Economic
Impacts
ตีพิมพ์ได้โดยเร็วที่สุด โดย
ตั้งเป้าหมายที่เป็นไปได้ไว้ว่า
ภายในสิ้นปีการศึกษา 2561
(พค.2562) อาจารย์ทั้งหมด
ของคณะจะเป็นผู้มีคุณสมบัติ
ครบถ้วนตามมาตรฐาน
AACSB
ได้ดาเนินการวางระบบและ
วัดผลสัมฤทธิการเรียนรู้ ของ
นักศึกษาเป็นรายคน โดยมี
ระบบสารสนเทศรองรับทุก
ขั้นตอน จนกรรมการประเมิน
หลักสูตร เห็นว่าสิ่งที่คณะทา
นั้นไปไกลเกินกว่า มคอ. มาก
คณะจะดาเนินการเผยแพร่
ให้กับคณะอื่นๆ เพิ่มมากขึ้น
นอกจากนี้ คณะยังดาเนินการ
สร้าง Learning Dashboard
ที่นักศึกษาสามารถติดตาม
ความก้าวหน้าของพัฒนาการ
ในตนเองตลอดหลักสูตรได้
ซึ่งเมื่อแล้วเสร็จสมบูรณ์จะ
กลายเป็นต้นแบบของ
มาตรฐานโลกตามความเห็น
ของ AACSB โดยประสงค์ให้
คณะได้นาเสนอให้กับที่
ประชุมประจาปีให้กับ
ผู้บริหารของ Business
School ทั่วโลก
2. มาตรฐานการวัด
ผลสัมฤทธิ์ การเรียนรู้
การส่งรายงาน Concept Paper ฉบับนี้ล่าช้า
กว่ากาหนด เนื่องจากต้องการรอผลการ
ประเมิน SAR หลักสูตร เพื่อใช้เป็นหลักฐาน
แสดงผลสาเร็จในการพัฒนากระบวนการ
จัดการการเรียนการสอน การวัดผล และการนา
Learning Outcome ไปพัฒนากระบวนวิชา
การวัดผล และการปรับปรุงหลักสูตร ที่เป็น
ต้นแบบให้กับคณะต่างๆ ในมหาวิทยาลัย โดย
ผลการประเมิน ได้ผ่านที่ประชุม กบม. ในวันที่
12 พ.ย. 61 ที่ผ่านมา สะท้อนให้เห็นว่าคณะได้
ให้ความสาคัญกับเรื่อง Assurance of
Learning นี้มากจนได้ทาสูงกว่ามาตรฐานสกอ.
และมาตรฐาน AACSB
4 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
คาอธิบายแผนกลยุทธ์
ที่ตั้งไว้
ผลสาเร็จของการดาเนินงาน สิ่งที่ยังต้องดาเนินการต่อ
นอกเหนือจาก การผลักดันให้คณะได้รับการรับรองมาตรฐาน AACSB จนประสบความสาเร็จ มาถึงขั้นที่จะ
ได้รับรองมาตรฐานแน่นนแล้ว เพียงแต่รอการแสดงผลการดาเนินงานครบ 2 รอบปีการศึกษาเท่านั้นแล้ว ยัง
ได้มีการดาเนินการวางรากฐานของคณะเพื่อยกระดับขึ้นสู่เวทีสากลภายหลังจากได้รับรองมาตรฐานแล้ว
ดังนี้
กลยุทธ์ที่ 1.1 ความเป็นนานาชาติและการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐาสากล เพื่อนาคณะไปสู่การ
เป็น All English Program ภายใน 10 ปีข้างหน้า
เปิดหลักสูตรนานาชาติ
เน้น Service
Management
หลักสูตรพร้อมที่จะเปิด ในปีการศึกษา 2562 ดาเนินการหาพันธมิตร
เพิ่มเติมเพื่อเพิ่มความเป็น
นานาชาติของหลักสูตรที่จะ
เปิดดังกล่าว
เตรียมการเปิดหลักสูตร
นานาชาติบัญชีบัณฑิต
เจรจากับพันธมิตรโดยเน้นที่มหาวิทยาลัยในจีน
ที่ได้รับการรับรองหรืออยู่ในกระบวนการรับรอง
มาตรฐาน AACSB หรือ EFMD ของยุโรป
เน้นหลักสูตรเพื่อเรียนรู้
มาตรฐานการบัญชีและการ
สอบบัญชีที่สามารถทางาน
ข้ามประเทศได้
กลยุทธ์ที่ 1.2 ด้านการเรียนการสอนข้ามสาขา ด้วยการตระหนักถึงความสาคัญที่บัณฑิตต้องสามารถทางาน
แก้ไขปัญหาองค์กรที่มีลักษณะข้ามศาสตร์ได้ เพื่อจากปัญหาขององค์กรในปัจจุบันและโดยเฉพาะในอนาคต
จะไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยความรู้จากศาสตร์เดียว
ปรับปรุงหลักสูตรให้มี
Minor ข้ามศาสตร์
ในปัจจุบันข้อบังคับของมหาวิทยาลัยไม่เอื้อต่อ
การเรียนข้ามศาสตร์ กล่าวคือ วิชา Minor (15
หน่วยกิต) จะต้องเป็นการเรียนวิชาประมาณ 5
วิชาจากภาควิชาหรือคณะเดียว ซึ่งไม่สอดคล้อง
กับสถานการณ์ปัจจุบัน จึงได้เข้าหารือกับ
อธิการบดี และเห็นพ้องให้คณะบริหารธุรกิจ
ประสานกับคณะต่างๆ ที่มีศาสตร์เหลื่อมทับกัน
สามารถ จับมือกัน เลือกวิชาแล้วเสนอผ่านให้
มหาวิทยาลัยประกาศเป็นวิชาโทข้ามศาสตร์ได้
เป็นครั้งแรก เช่น Data Science เลือกวิชาจาก
คณะวิศวะฯ มา 3 วิชาและวิทยาศาสตร์
ในปีการศึกษา 2562 จะมี
การปรับปรุงหลักสูตรบัญชีให้
มี Minor Data Science ซึ่ง
จากการสารวจบริษัทบัญชี
รายใหญ่หรือ Big4 พบว่ามี
ความต้องการสูงมากแต่ยังไม่
มีสถาบันใดผลิตในเมืองไทย
5 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
คาอธิบายแผนกลยุทธ์
ที่ตั้งไว้
ผลสาเร็จของการดาเนินงาน สิ่งที่ยังต้องดาเนินการต่อ
คอมพิวเตอร์อีก 3 วิชาให้นักศึกษาเลือกเรียน 5
จาก 6 และประกาศเป็น Minor
การจัดการหลักสูตร
ปัจจุบันให้สามารถเรียน
ข้ามศาสตร์กับคณะอื่น
โดยไม่ต้องปรับปรุง
แก้ไขหลักสูตร หรือรอ
การแก้ไขระเบียบ
ข้อบังคับ
การรอ สกอ. และ มหาวิทยาลัยแก้ไขข้อบังคับ
ไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง คณะฯ จึงได้ร่วมกับ
คณะวิศวะฯ และวิทยาศาสตร์ และอุทยาน
วิทยาศาสตร์ (STEP) ในการจัดการเรียนการ
สอนแบบ Action Learning ที่นาโจทย์ปัญหาร
จริงจากองค์กรธุรกิจที่มีความร่วมมือกับคณะฯ
อยู่ในขณะนี้แล้วนานักศึกษาจากต่างคณาเรียน
ร่วมกัน นาร่องก่อนการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร
อย่างเป็นทางการ
ดาเนินการขยายผลจากเดิมที่
มีธนาคารไทยพาณิชย์เป็น
พันธมิตรหลัก ไปสู่ธุรกิจอื่น
นอก Finance Sector และ
สู่ธุรกิจ SMEs ในพื้นที่
ภาคเหนือ
กลยุทธ์ที่ 1.2 ด้านการพัฒนาสภาพแวดล้อมการเรียนรู้และการส่งเสริม 21st Century Learning
การพัฒนา
สภาพแวดล้อมการ
เรียนรู้
ปรับปรุงห้องเรียนให้เอื้อต่อการเรียนการ
สอนแบบ Flipped Classroom และ
Experiential Learning แบบต่างๆ
ปรับปรุงต่อเนื่องจนกว่า
จะครบทุกห้องและ
เพียงพอต่อการใช้งาน
การส่งเสริม 21st
Century Learning
ตามนโยบายของ
มหาวิทยาลัย
ลดสัดส่วนของการบรรยาย และ เพิ่มสัดส่วน
การเรียนรู้ภาคปฏิบัติมากขึ้น โดยในปัจจุบัน
คณาจารย์ทุกคนของคณะมีความรู้และทักษะใน
การเรียนการสอนผ่านการปฏิบัติจริงแล้ว
เผยแพร่ความสาเร็จของการ
จัดการเรียนการสอนแบบ
Action Learning ให้คณะ
อื่นๆ และสถาบันการศึกษา
อื่นๆ นาไปใช้
กลยุทธ์ที่ 2 การเพิ่มปริมาณการผลิตผลงานวิชาการ และการกาหนดทิศทางการวิจัยตามจุดเด่นของคณะ
การเพิ่มปริมาณการ
ผลิตผลงานวิชาการ
(Intellectual
Contribution)
การจัดการการผลิตผลงานการตีพิมพ์ของ
คณาจารย์ ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมาประสบ
ความสาเร็จใน 2 มิติ กล่าวคือ ผลงานส่วนมาก
เกิดจากคณาจารย์ส่วนใหญ่ โดยไม่ปรากฏว่า
คณาจารย์ท่านใดไม่ได้ตีพิมพ์ผลงานเลย และ
มิติด้านคุณภาพและปริมาณก็ดีขึ้นมาก ดังเห็น
ยกระดับคุณภาพการตีพิมพ์
ผลงานวิชาการโดยในปี
การศึกษา 2562 จะนับภาระ
งานวิจัยของคณาจารย์
เฉพาะที่ตีพิมพ์ใน TCI1 หรือ
ในฐานข้อมูลนานาชาติที่
ได้รับการรับรองจาก AACSB
6 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
คาอธิบายแผนกลยุทธ์
ที่ตั้งไว้
ผลสาเร็จของการดาเนินงาน สิ่งที่ยังต้องดาเนินการต่อ
ได้จาก ไม่มีการตีพิมพ์ ในวารสารที่ไม่ปรากฏใน
ฐานข้อมูล TCI หรือนานาชาติที่ไม่ได้มาตรฐาน
เท่านั้น ในปีการศึกษา 2563
เฉพาะ Top Quartile ของ
TCI1 และในปีการศึกษา
2564 นับเฉพาะนานาชาติ
เท่านั้น
จากความสาเร็จในการเร่ง
ผลิตผลงานวิชาการ ทาให้มี
คณาจารย์เกือบครึ่งหนึ่งของ
คณะได้รับตาแหน่งวิชาการที่
สูงขึ้น ต่อไปจึงจะส่งเสริมให้
คณาจารย์เลื่อนตาแหน่งทาง
วิชาการอีกอย่างต่อเนื่อง
การกาหนดทิศทางการ
วิจัยตามจุดเด่นของ
คณะ
 กาหนดกลุ่มวิจัยที่คณะต้องการมุ่งเน้นตาม
(1)อุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ของภาคเหนือ
และ (2)ประเด็นวิจัยยุทธศาสตร์ของสกว.
โดยได้ข้อสรุปกลุ่มวิจัยได้แก่ กลุ่มAging
Society, กลุ่ม Border Trade, กลุ่ม
Sustainability and Social
Entrepreneurship เป็นต้น โดยแต่ละกลุ่ม
ได้รับงบประมาณการทาวิจัยจากเงินรายได้
ของคณะ
 คณาจารย์มีผลงานตีพิมพ์มากขึ้นใน
ฐานข้อมูลที่ AACSB ยอมรับและตรงตามยุ
ทศาสตร์การวิจัยของชาติ
ผลงานของการทาวิจัยและ
Intellectual
Contributions ต่างๆ เป็นไป
ตามพันธกิจของคณะ
กล่าวคือเป็นงานวิจัยที่นาไป
ให้ได้จริง (Close-to-
practice knowledge)
คณะจะได้พัฒนาระบบวัด
Impact ของการนาผลงาน
วิชาการไปใช้ประโยชน์ตาม
พันธกิจให้สมบูรณ์มากขึ้น ณ
ปัจจุบัน ได้เริ่มเก็บข้อมูลจาก
Target Audiences มาเป็น
เวลา 8 เดือนแล้ว
7 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
คาอธิบายแผนกลยุทธ์
ที่ตั้งไว้
ผลสาเร็จของการดาเนินงาน สิ่งที่ยังต้องดาเนินการต่อ
กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้วยการจัดตั้งศูนย์พัฒนาอาชีพให้กับนักศึกษา ให้เป็นต้นแบบของ
มช. และสถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ
ดาเนินการศูนย์พัฒนา
อาชีพให้กับนักศึกษา
 ได้จัดตั้ง Career Success Center (ศูนย์
พัฒนาความสาเร็จในอาชีพเพื่อนักศึกษา
และศิษย์เก่า) รายละเอียดหลักการและ
เหตุผลในเว็บ
http://www.ba.cmu.ac.th/th/career-
success-center/ โดยที่ศูนย์นี้มีชมรม
Career Success Club ของนักศึกษาเป็น
ผู้ร่วมจัดกิจกรรม
 กิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพมีปฏิทินกิจกรรม
ตลอดปีแจ้งให้นักศึกษาทราบตั้งแต่เริ่มปี
การศึกษา โดยที่นักศึกษาสามารถ
ลงทะเบียนผ่าน Mobile devices ต่างๆ
ได้อย่างสะดวก
 ข้อมูลการผ่านกิจกรรมต่างๆ ของนักศึกษา
จะถูกบันทึกไว้ในระบบ e Activity และจะ
รายงานเป็น Activity Transcript โดย
อัตโนมัติ
 โปรแกรม e Activity ได้รับรางวัลชนะเลิศ
ด้านนวัตกรรมทางการศึกษาและในขณะนี้
มช. นาไปขยายผลใช้กับทุกคณะ
ยังคงเน้นแนวคิด “ไม่เพียง
สอนวิชาการบริหารแต่ยังบ่ม
เพาะวิชาชีพการบริหาร”
ให้กับนักศึกษาและศิษย์เก่า
ปรับปรุงกระบวนวิชา
การเรียนรู้ผ่านกิจกรรม
ให้เป็นการทางานรับใช้
สังคมระยะยาว
กาหนดให้การจะผ่านวิชาการเรียนรู้ผ่าน
กิจกรรมได้นั้นนักศึกษาต้องเลือกปัญหาสังคมที่
ตนสนใจและชุมชนเป้าหมาย โดยกาหนดแผน
ระยะยาว 3 ปี โดยลงมือทาร่วมกับชุมชน
เป้าหมายอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2 ถึงปี 4 โดย
จัดระบบอาจารย์พี่เลี้ยงคอยดูแล มีระบบการ
Pitching โครงการ มีการรายงานความคืบหน้า
ดาเนินกาต่อเนื่อง ละร่วมทา
วิจัยกับทีมคณาจารย์จาก
คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ
พันธมิตรของคณะจาก
Copenhagen Business
School เพื่อติดตามวัด
8 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
คาอธิบายแผนกลยุทธ์
ที่ตั้งไว้
ผลสาเร็จของการดาเนินงาน สิ่งที่ยังต้องดาเนินการต่อ
มีการพัฒนาทักษะการทางานและแก้ไขปัญหา
เป็นทีม ฯลฯ
ผลสัมฤทธิ์ โดยเฉพาะด้าน
Morality Development
Stage ว่าการที่นักศึกษาได้
เรียนรู้ที่จะกาหนดเป้าหมาย
ระยะยาว และดาเนินการรับ
ใช้สังคมอย่างต่อเนื่องจะ
เกิดผลต่อคุณลักษณะและ
พัฒนาการด้านค่านิยม
อย่างไร
9 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
2. ผลการดาเนินงานตามแผนการบริหารงานที่นาเสนอต่อสภามหาวิทยาลัย
(รอบ 1 ปี 6 เดือนแรก)
C M U B U S I N E S S S C H O O L
วิสัยทัศน์คณะบริหารธุรกิจ >>
เพื่อจะบรรลุพันธกิจ และการสร้างคุณค่า คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จะต้องเป็น
1. ผู้ร่วมสร้างความรู้กับศาสตร์และศิลป์อื่นในการส่งเสริมระบบนิเวศของการเกิดธุรกิจใหม่
การพัฒนาภูมิปัญญาทางการบริหาร และการแสวงหาคาตอบต่อปัญหาของสังคม
2. ผู้เร่งรัดให้เกิดนวัตกรรมด้วยการร่วมมือกับผู้ประกอบการและองค์กรต่างๆ ในการ
สะท้อนความต้องการของผู้ใช้สู่ผู้พัฒนานวัตกรรม ตลอดจนพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
จนเป็นแบบอย่างที่ดีของนวัตกรรมการบริหาร
3. อาศรมของการเรียนรู้ตลอดชีพด้วยการเป็นห้องปฏิบัติการเพื่อการเรียนรู้ (โรงเรียน)
มิใช่เป็น “โรงสอน” ในการพัฒนาพื้นฐานทางปัญญาของผู้เรียน การพัฒนาคุณภาพการ
อบรมและสั่งสอนของคณาจารย์ และความเป็นเลิศในการประเมินสมรรถนะ
4. ผู้เอื้ออานวยต่อความรุ่งเรืองอันยั่งยืนซึ่งก้าวพ้นการสร้างความมั่งคั่งสู่การเข้าถึงความ
จาเป็นพื้นฐานได้ดีขึ้น การเกิดสภาพแวดล้อมอันเป็นมิตรต่อสุขภาวะ การมีชุมชน
เข้มแข็ง การจ้างงานที่มีความหมายต่อการดารงชีพ และการทาให้ชีวิตได้รับการเติมเต็ม
5. ผู้นาแห่งภาวะผู้นาด้วยการทาให้ธุรกิจและสังคมเข้าใจหลักการแห่งภาวะผู้นากว้างขวาง
ขึ้น สร้างและเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับภาวะผู้นาภายใต้กรอบแห่งคุณธรรม
จริยธรรมและประสิทธิผลของการดาเนินงาน
10 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
พันธกิจ >>
เรามุ่งมั่นที่จะผลิตบัณฑิตผู้เปี่ยมด้วยจิตสานึกต่อสังคม และ สร้างองค์ความรู้ที่นาไป
ปฏิบัติได้ ตลอดจน เป็นผู้ชี้นาทางอันเปี่ยมด้วยคุณธรรมและความเป็นเลิศเชิงบริหารต่อ
ธุรกิจและสังคม
คุณค่า >>
เราเกิดมาเพื่อสร้างและนาเสนอคุณค่า ดังต่อไปนี้
1. บัณฑิตผู้เปี่ยมด้วยจิตสานึกต่อสังคม
2. องค์ความรู้ที่นาไปปฏิบัติได้
3. การชี้แนวทางอันเปี่ยมด้วยคุณธรรมต่อธุรกิจและสังคม
4. การชี้แนวทางสู่ความเป็นเลิศทางการบริหารต่อธุรกิจและสังคม
โครงสร้างองค์กร >>
“ “
11 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
คณะบริหารธุรกิจ : Challenge หลักสูตรที่มี WIL / หลักสูตรที่ได้รับรองมาตรฐานนานาชาติ /
จานวนบทความตีพิมพ์ในระดับชาติและนานาชาติของอาจารย์และนักวิจัย / ผลงานทางวิชาการที่นาไปใช้จริง
/ ทุนวิจัย / รายได้จากบริการวิชาการ
ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561
ผลปี 61
(31 ธค 59- 31
พค.61)
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงาน
1.14 จานวนโครงการ/กิจกรรมและการมี
ส่วนร่วมของนักศึกษา คณาจารย์ และ
บุคลากรในการอนุรักษ์หรือใช้
ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงานอย่างมี
จิตสานึก
โครงการ/กิจกรรม 7 9
1.15 ร้อยละของความสาเร็จของการคัด
แยกขยะภายในส่วนงาน
ร้อยละ 7.09 10.51
1.16 โครงการเพิ่มพื้นที่สีเขียวภายในส่วน
งาน
ร้อยละ 28.99 29.20
1.17 ปริมาณไขมันที่ปล่อยออกจากส่วน
งาน
มิลลิกรัมต่อลิตร 1.42 0.43
ยุทธศาสตร์ที่ 2 : นวัตกรรมด้านอาหารและสุขภาพ และการดูแลผู้สูงอายุ
2.8 จานวนผลงานทางวิชาการที่ถูกนาไปใช้
ประโยชน์จริง
ผลงาน 1 2
2.9 จานวนทุนสนับสนุนงานวิจัยและ
พัฒนานวัตกรรมจากแหล่งทุนภายนอก
บาท 500,000 1,070,400
2.9.5 ทุนสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา
นวัตกรรมจากแหล่งอื่นๆ (ทุนส่วนตัว)
บาท 500,000 0
12 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561
ผลปี 61
(31 ธค 59- 31
พค.61)
2.15 จานวนโครงการ/กิจกรรมสร้าง
สภาพแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัย
ทางด้านอาหารและสุขภาพ และการดูแล
ผู้สูงอายุ
โครงการ/กิจกรรม 1 2
2.17 จานวนโครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
กับ Healthy University
โครงการ/กิจกรรม 3 0
ยุทธศาสตร์ที่ 3 : ล้านนาสร้างสรรค์
3.4 จานวนนวัตกรรมด้านล้านนา
สร้างสรรค์
ชิ้นงาน 0 0
3.7 จานวนทุนสนับสนุนงานวิจัยและ
พัฒนานวัตกรรมจากแหล่งทุนภายนอก
บาท 0 0
ยุทธศาสตร์ที่ 4 : ผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม คุณภาพ และมีทักษะการเป็นพลเมืองโลก
4.1 ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อ
ทักษะด้านคุณธรรม คุณภาพ และทักษะ
การเป็นพลเมืองโลก (ภายหลังการทางาน
1 ปี)
4.1.1 ระดับปริญญาตรี ระดับ 4.00 4.48 (มาก)
4.2 ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่มี
งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1
ปีหลังสาเร็จการศึกษา
ร้อยละ 80 67.52%
4.3 ร้อยละผลงานของนักศึกษาต่อผู้สาเร็จ
การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาที่ได้รับการ
ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ
(ที่คณะกรรรมการบัณฑิตศึกษาประจา
คณะให้ความเห็นชอบ)
ร้อยละ 0.22 0.00
13 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561
ผลปี 61
(31 ธค 59- 31
พค.61)
4.3.1 จานวนผลงานของนักศึกษาระดับ
ปริญญาโทในวารสารระดับนานาชาติ (ปี
ปฏิทิน)
ผลงาน 1 0
4.3.2 จานวนผู้สาเร็จการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา (ปีการศึกษา) (ข้อมูล CMU-
EIS)
คน
450 130
4.4 ร้อยละผลงานของนักศึกษาที่อยู่ใน
ฐานข้อมูล Scopus ต่อจานวนผลงานที่
เผยแพร่ทั้งหมด
ร้อยละ 100 0
4.4.1 จานวนผลงานของนักศึกษาระดับ
ปริญญาโท
ผลงาน 1 14
4.4.2 จานวนผลงานของนักศึกษาระดับ
ปริญญาเอก
ผลงาน 1 1
4.5 ร้อยละของหลักสูตรระดับปริญญาตรีที่
มี Entrepreneurship/Startup/สหกิจ
ศึกษา/WIL เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร
ร้อยละ 100.00 100.00
4.5.1 จานวนหลักสูตรระดับปริญญาตรีที่มี
Entrepreneurship/Startup/สหกิจ
ศึกษา/WIL เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร
หลักสูตร 2 2
4.5.2 จานวนหลักสูตรระดับปริญญาตรี
ทั้งหมด
หลักสูตร 2 2
4.6 ร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมสหกิจ
ศึกษา / WIL
ร้อยละ 100 0
4.6.1 นักศึกษาที่เข้าร่วมสหกิจศึกษา /
WIL
คน 0
14 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561
ผลปี 61
(31 ธค 59- 31
พค.61)
4.6.2 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี
ทั้งหมด (ข้อมูล CMU-EIS)
คน 2,004
4.7 จานวนหลักสูตรนานาชาติ หลักสูตร 0 1
4.7.1 จานวนหลักสูตรนานาชาติระดับ
ปริญญาตรี
หลักสูตร 0 1
4.7.2 จานวนหลักสูตรนานาชาติระดับ
ปริญญาโท
หลักสูตร 0 0
4.7.3 จานวนหลักสูตรนานาชาติระดับ
ปริญญาเอก
หลักสูตร 0 0
4.9 จานวนหลักสูตรทุกระดับที่ได้รับการ
รับรองจากเกณฑ์มาตรฐานระดับนานาชาติ
(นับสะสม)
หลักสูตร 3 3
4.11 ร้อยละของกระบวนวิชาระดับ
ปริญญาตรีที่มีกิจกรรมการเรียนการสอน
เป็นภาษาอังกฤษ และ/หรือ
ภาษาต่างประเทศ
20 36.76
4.11.1 จานวนกระบวนวิชาที่มีการเรียน
การสอนเป็นภาษาอังกฤษ
กระบวนวิชา 25
4.11.2 จานวนกระบวนวิชาที่มีการเรียน
การสอนเป็นภาษาต่างประเทศ
กระบวนวิชา -
4.11.3 จานวนกระบวนวิชาระดับปริญญา
ตรี
กระบวนวิชา 68
4.12 ร้อยละของนักศึกษาระดับปริญญาตรี
ที่มีผลการสอบวัดความรู้และทักษะ
ภาษาอังกฤษก่อนสาเร็จการศึกษา ตาม
มาตรฐาน Common European
ร้อยละ 50 24.46
15 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561
ผลปี 61
(31 ธค 59- 31
พค.61)
Framework of Reference for
Language อยู่ในระดับ B1 ขึ้นไป
4.12.1 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่
มีผลการสอบวัดความรู้และทักษะ
ภาษาอังกฤษก่อนสาเร็จการศึกษา ตาม
มาตรฐาน Common European
Framework of Reference for
Language อยู่ในระดับ B1 ขึ้นไป
คน 114
4.12.2 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่
เข้าสอบทั้งหมด
คน 466
4.13 ร้อยละของอาจารย์ที่สามารถนา
เครื่องมือ/วิธีการเพื่อพัฒนาทักษะการ
เรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 และ/หรือทักษะ
การเป็นพลเมืองโลกไปปรับใช้ในการ
จัดการเรียนการสอน
ร้อยละ 100 100.00
4.13.1 จานวนอาจารย์ที่สามารถนา
เครื่องมือ/วิธีการเพื่อพัฒนาทักษะการ
เรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 และ/หรือทักษะ
การเป็นพลเมืองโลกไปปรับใช้ในการ
จัดการเรียนการสอน
คน 52 50
4.13.2 จานวนอาจารย์ทั้งหมด คน 52 50
4.14 ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับการ
พัฒนาทักษะที่จาเป็นสาหรับการเป็น
พลเมืองโลกและประกอบอาชีพในอนาคต
โดยผ่านกิจกรรมเสริมหลักสูตร
ร้อยละ 100.00 22.43
4.14.1 จานวนนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนา
ทักษะที่จาเป็นสาหรับการเป็นพลเมืองโลก
ระดับปริญญาตรี
คน 418
16 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561
ผลปี 61
(31 ธค 59- 31
พค.61)
4.14.2 จานวนนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนา
ทักษะที่จาเป็นสาหรับการเป็นพลเมืองโลก
ระดับปริญญาโท
คน 167
4.14.3 จานวนนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนา
ทักษะที่จาเป็นสาหรับการเป็นพลเมืองโลก
ระดับปริญญาเอก
คน 0
4.14.4 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่
มีสถานภาพ (ข้อมูล CMU-EIS)
คน 2,004
4.14.5 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาโทที่
มีสถานภาพ (ข้อมูล CMU-EIS)
คน 604
4.14.6 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก
ที่มีสถานภาพ (ข้อมูล CMU-EIS)
คน 11
4.15 จานวนนักศึกษาต่างชาติที่ลงทะเบียน
ศึกษาในหลักสูตรของ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คน 4 4
4.15.1 จานวนนักศึกษาต่างชาติระดับ
ปริญญาตรี (ณ ภาคเรียนที่ 1)
คน 0 0
4.15.2 จานวนนักศึกษาต่างชาติระดับ
ปริญญาโท (ใช้ข้อมูลภาคเรียนที่ 2)
คน 4 4
4.15.3 จานวนนักศึกษาต่างชาติระดับ
ปริญญาเอก (ใช้ข้อมูลภาคเรียนที่ 2)
คน 0 0
4.16 จานวน inbound exchange
student (มช.ขอให้รายงานผล)
คน 0 0
4.16.1 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี คน 0
4.16.2 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท คน 0
4.16.3 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก คน 0
17 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561
ผลปี 61
(31 ธค 59- 31
พค.61)
4.17 จานวน Outbound Exchange
Student (มช.ขอให้รายงานผล)
คน 0 1
4.17.1 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี คน 1
4.17.2 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท คน 0
4.17.3 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก คน 0
4.18 จานวนอาจารย์ชาวต่างประเทศ
(International Staff)
คน 1 2
4.19 จานวนนักศึกษาทุกระดับที่กระทาผิด
วินัยนักศึกษา
คน 0 1
ยุทธศาสตร์ที่ 5 : วิจัยเพื่อความเป็นเลิศและนวัตกรรม
5.4 จานวนนวัตกรรม ผลงาน 0 0
5.6 จานวนบทความตีพิมพ์ในฐานข้อมูล
ระดับชาติและนานาชาติของอาจารย์และ
นักวิจัย
บทความ 5 47
5.6.1 จานวนบทความตีพิมพ์ในฐานข้อมูล
Scopus ของอาจารย์และนักวิจัย
12
5.6.2 จานวนบทความตีพิมพ์ที่ได้รับการ
เผยแพร่ในวารสาร ระดับนานาชาติ (ไม่นับ
รวม Scopus)
0
5.6.3 จานวนบทความตีพิมพ์ที่ได้รับการ
เผยแพร่ในวารสาร ระดับชาติ
35
5.7 จานวนการอ้างอิงผลงานวิจัย
(Citations) ในฐานข้อมูล Scopus
บทความ 1 1
5.8 จานวนผลงานทางวิชาการที่ถูกนาไปใช้
ประโยชน์จริง
ผลงาน 5 2
18 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561
ผลปี 61
(31 ธค 59- 31
พค.61)
5.9 จานวนทุนสนับสนุนงานวิจัยและ
พัฒนานวัตกรรมจากแหล่งทุนภายนอก
บาท 1,900,000 2,970,400
5.9.1 ทุนสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา
นวัตกรรมจากงบประมาณแผ่นดิน โดยผ่าน
ระบบ NRMS (ด้านอื่นๆ)
บาท 570,400
5.9.2 ทุนสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา
นวัตกรรมจากหน่วยงานภายนอก (ภาครัฐ)
บาท 1,400,000 2,400,000
5.9.3 ทุนสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา
นวัตกรรมจากภาคอุตสาหกรรม (เอกชน)
(ด้านอื่นๆ)
บาท 0
5.9.4 ทุนสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา
นวัตกรรมจากต่างประเทศ (ด้านอื่นๆ)
บาท 0 0
5.9.5 ทุนสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา
นวัตกรรมจากแหล่งอื่นๆ (ทุนส่วนตัว)
(ด้านอื่นๆ)
บาท 500,000.00 0
5.12 จานวนอาจารย์และนักวิจัยที่มี
ผลงานวิจัย/วิชาการ/สิ่งประดิษฐ์/งาน
สร้างสรรค์
คน 11
5.13 จานวนโครงการวิจัย 4 6
5.13.1 จานวนโครงการวิจัยด้าน
สิ่งแวดล้อมและพลังงาน (ข้อมูล CMU-
EIS)
โครงการ 1 1
5.13.2 จานวนโครงการวิจัยด้านอาหาร
และสุขภาพ และการดูแลผู้สูงอายุ (ข้อมูล
CMU-EIS)
โครงการ 1 1
5.13.3 จานวนโครงการวิจัยด้านล้านนา
สร้างสรรค์ (ข้อมูล CMU-EIS)
โครงการ 0
19 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561
ผลปี 61
(31 ธค 59- 31
พค.61)
5.13.4 จานวนโครงการวิจัยด้านอื่นๆ โครงการ 2 4
ยุทธศาสตร์ที่ 6 : บริการวิชาการที่เกิดประโยชน์แก่สังคม
6.2 จานวนงบประมาณสนับสนุนจากแหล่ง
ทุนภายนอก (นอกเหนือจากการวิจัยและ
พัฒนา)
บาท 6,287,600 17,719,000
6.2.1 ทุนสนับสนุนจากภาครัฐ (ด้านอื่นๆ) บาท 100,000 11,365,000.00
6.2.2 ทุนสนับสนุนจากภาคอุตสาหกรรม
(ด้านอื่นๆ)
บาท 323,000 200,000.00
6.2.3 ทุนสนับสนุนจากต่างประเทศ (ด้าน
อื่นๆ)
บาท 730,000 0
6.2.4 ทุนสนับสนุนจากแหล่งอื่นๆ (ด้าน
อื่นๆ)
บาท 5,134,600 6,154,000.00
ยุทธศาสตร์ที่ 7 : แสวงหารายได้เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
7.2 ร้อยละของรายได้จากค่าธรรมเนียม
การศึกษาต่อรายได้รวม
ร้อยละ 72.44 55.46
7.2.1 รายได้จากค่าธรรมเนียมการศึกษา บาท 91,488,595.90 42,344,650.51
7.2.2 รายได้รวม บาท 126,300,000 76,349,680.11
7.3 ร้อยละของรายได้จากการวิจัยต่อ
รายได้รวม
ร้อยละ 1.11 3.89
7.3.1 รายได้จากการวิจัย บาท 1,400,000 2,970,400
7.3.2 รายได้รวม บาท 126,300,000 76,349,680.11
7.4 ร้อยละของรายได้จากการบริการ
วิชาการต่อรายได้รวม
ร้อยละ 0 22.14
7.4.1 รายได้จากการบริการวิชาการ บาท 16,905,176.-
7.4.2 รายได้รวม บาท 76,349,680.11
20 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561
ผลปี 61
(31 ธค 59- 31
พค.61)
7.6 จานวนเงินรายได้จากแหล่งทุนวิจัย
ภายนอกหลังหักค่าใช้จ่าย
0
7.7 จานวนเงินรายได้จากการให้บริการ
วิชาการหลังหักค่าใช้จ่าย
2,664,654.00
7.5 สัดส่วนเงินสะสมต่องบประจารายปี
(งบบุคลากรและงบดาเนินงาน)
ร้อยละ 12.58 13.10
7.5.1 งบบุคลากรและงบดาเนินงาน บาท 14,458,225 23,188,373.55
7.5.2 เงินสะสมของส่วนงาน บาท 181,869,141 176,994,379.37
7.8 จานวนรายได้จากการแปลงสินทรัพย์
7.8.1 รายได้จากการบริหาร
อสังหาริมทรัพย์
บาท 835,282 443,335.05
ยุทธศาสตร์ที่ 8 : บริหารจัดการเชิงบูรณาการ
8.1 ผลการประเมินตามเกณฑ์ประเมิน
คุณภาพการศึกษาเพื่อดาเนินการที่เป็นเลิศ
(EdPEx200)
คะแนน 0
ผลคะแนนยังไม่
ประกาศ
8.2 ร้อยละของการใช้จ่ายงบประมาณตาม
ยุทธศาสตร์ต่องบประมาณทั้งหมดของส่วน
งาน
ร้อยละ 6.58 4.47
8.3 สัมฤทธิผลของการปฏิรูประบบบริหาร
ทรัพยากรบุคคล
8.3.1 ร้อยละของประสิทธิภาพการบรรจุ
บุคลากร
ร้อยละ 0 100%
21 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561
ผลปี 61
(31 ธค 59- 31
พค.61)
8.3.2 ร้อยละของประสิทธิภาพการใช้อัตรา
ว่าง
ร้อยละ 80 100%
8.3.3 ร้อยละของการประเมินผลการ
ปฏิบัติงานของบุคลากร อยู่ในระดับดีมาก
ร้อยละ 81 71.26%
8.3.4 ร้อยละของบุคลากรสายวิชาการและ
สายปฏิบัติการที่เข้าสู่ระดับตาแหน่งที่สูงขึ้น
ต่อจานวนบุคลากรของส่วนงานทั้งหมด
ร้อยละ 6 1.76%
8.3.5 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับรางวัลใน
ระดับต่างๆ ของส่วนงาน
ร้อยละ 5 38.05%
8.3.6 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการ
พัฒนาทักษะ (ความรู้ในงาน ทักษะ
สมรรถนะ ฯลฯ)
ร้อยละ 100 94.69%
8.3.7 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับจัดสรร
ทุนเพื่อพัฒนาความรู้ ทักษะ สมรรถนะ
ร้อยละ 100 100%
8.3.8 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการ
พัฒนาตามสมรรถนะที่เหมาะสม (IDP)
ร้อยละ 100 94.69%
8.4 ร้อยละความผูกพันของบุคลากรต่อ
มหาวิทยาลัย
8.4.1 ร้อยละความผูกพันของบุคลากรที่มี
ต่อองค์กรที่อยู่ในระดับสูง
ร้อยละ 75 N/A
8.4.2 ร้อยละความสุขของบุคลากรที่มีต่อ
องค์กรที่อยู่ในระดับสูง
ร้อยละ 75 N/A
8.7 ระดับความสาเร็จในการจัดการความรู้
ในส่วนงาน (KM)
ระดับ 4 4
22 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561
ผลปี 61
(31 ธค 59- 31
พค.61)
8.8 ระดับการรับรู้ภาพลักษณ์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ของนักศึกษาและ
บุคลากรภายในส่วนงาน
ระดับ 4 N/A
8.9 ระดับการรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่สาคัญ
ของบุคลากรและนักศึกษาภายในส่วนงาน
ระดับ 4 3
8.10 การดาเนินการที่เกี่ยวข้องกับองค์กร
คุณธรรมและความโปร่งใส (ITA)
ระดับคะแนน 100 100
ตัวชี้วัดเพิ่มเติมตาม Commit สภาฯ
9.1 ผลงานทางวิชาการทุกประเภท
ทั้งหมด สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐาน
AACSB และสอดคล้องตามการสร้างคุณค่า
แห่งพันธกิจของคณะ
ร้อยละ 100 100
9.2 มีการติดตามและวัดผลการใช้
งบประมาณที่สอดคล้องกับพันธกิจของ
คณะในทุกกิจกรรม
ร้อยละ 53 100
9.3 มี curriculum mapping ของทุก
หลักสูตร
ร้อยละ 100 100.00
9.4 กระบวนการวัดผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้
(Assurance of Learning : AOL) เป็นไป
ตามมาตรฐาน AACSB ภายในทุกสิ้นปี
การศึกษา
ร้อยละ 100 100.00
9.5 มีการนาผลการประเมินจากระบบ
AOL มาปรับปรุงทุกกระบวนวิชา ทุกปี
การศึกษา และนาไปสู่การปรับปรุง
หลักสูตร
ร้อยละ 100 100.00
23 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561
ผลปี 61
(31 ธค 59- 31
พค.61)
9.6 สัดส่วนจานวนวิชาที่มีการนา Action
learning รูปแบบใดรูปแบบหนึ่งไปใช้ในทุก
หลักสูตร
ร้อยละ 100 100.00
9.7 Diversity ของการรับนักศึกษาเข้าตาม
มิติของการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา วัด
จากความหลากหลายของพื้นฐานทาง
ครอบครัวของนักศึกษา
ร้อยละ 10 กาลังประมวลผล
9.8 Diversity ของการรับนักศึกษาเข้าตาม
มิติของ นักศึกษาจากนอกภูมิภาค 17
จังหวัดภาคเหนือเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 10 30.53
9.9 สัดส่วนนักศึกษาที่สนใจ
Entrepreneurship เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 10 9.74
9.10 หลักสูตร MBA มีสัดส่วนของ
นักศึกษาสายวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 10 -8.89
9.11 อัตราการสาเร็จการศึกษาตาม
หลักสูตรของนักศึกษาปริญญาโทเพิ่มขึ้น
อย่างต่อเนื่อง
ร้อยละ 7 ลดลง7.59 %
9.12 ค่าคะแนน Personal Skill Self-
evaluationของนักศึกษาโดยเฉลี่ยไม่ต่า
กว่าเป้าหมายในทุกมิติ
คะแนน 4.50
กาลังปรับปรุง
แบบสอบถาม
9.13 สัดส่วนระหว่างนักศึกษาและศิษย์เก่า
ที่เข้าร่วมโครงการ Alumni-Students
Mentor Program เป็นไปตามเป้าหมาย
สัดส่วน 60
จัดกิจกรรม 1
ครั้ง มีศิษย์เก่า
ผู้บริหารสมาคมฯ
เข้าร่วมกิจกรรม 6
ท่าน
9.14 ค่าความพึงพอใจของ Recruiter ให้
Rating กับบัณฑิตของคณะในทุกมิติไม่ต่า
อันดับ 4 4.21 มาก
24 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561
ผลปี 61
(31 ธค 59- 31
พค.61)
กว่าอันดับ3 ของมหาวิทยาลัยชั้นนาใน
ประเทศไทย
9.15 ค่าความพอใจของ Recruiters ต่อ
ประโยชน์ที่ได้จากการมาร่วมงาน VOI
Dinner
คะแนน 4.50
กาลังเตรียมการ
จัดงาน
9.16 ร้อยละของกิจกรรมพัฒนาอาชีพ
สาหรับนักศึกษา ป.ตรีและป.โทต่อจานวน
กิจกรรมพัฒนาทั้งหมด
ร้อยละ 38.80 ร้อยละ 48.88
9.17 ผลการประเมินความพึงพอใจ
ประเมินปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
คะแนน 10
กาลังปรับปรุง
แบบสอบถาม
9.18 ผลการสารวจผู้เข้าร่วมงาน
Sustainability Day แสดงให้เห็นว่ามี
ความเข้าใจ เห็นด้วยและชื่นชมในพันธกิจ
เพื่อสังคมของคณะ
คะแนน 4.37 4.37 มาก
9.19 อัตราส่วน ระหว่าง อาจารย์ประจา
ต่อ อาจารย์เสริม
ร้อยละ 75 N/A
9.20 อาจารย์วุฒิ ป.โทที่เป็น SP ร้อยละ 0 0.00
9.21 อาจารย์วุฒิ ป.เอก เป็น SA ร้อยละ 60 28.00
9.22 ผลงานการตีพิมพ์เป็นทีม ร้อยละ 80 94.29
9.23 อาจารย์สามารถเข้าสู่ตาแหน่ง
วิชาการตามข้อกาหนดของมหาวิทยาลัย
ร้อยละ 85 16.67
9.24 ยอดขอรับเงินรางวัลจากผลการ
ตีพิมพ์ไม่ต่ากว่าปีละ
บาท 2,000,000 1,020,000
9.25 ผลจากการพัฒนาอาจารย์ด้านทักษะ
การสอนแบบ Interactive Learning ถูก
ร้อยละ 100 100.00
25 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561
ผลปี 61
(31 ธค 59- 31
พค.61)
นาไปใช้ภายใน 1 ภาคการศึกษาหลังการ
อบรม
9.26 ค่าเฉลี่ยจากการประเมินความเห็น
ของอาจารย์ ด้วยคาถาม "ท่านได้การ
พัฒนาศักยภาพให้สามารถช่วยคณะบรรลุ
พันธกิจได้"
ร้อยละ 100 N/A
9.27 ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ต่อการ
จัดการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน ในระดับคณะและ
หลักสูตร
คะแนน 5 N/A
9.28 อัตราส่วนจานวน Professional ต่อ
Non professional
ร้อยละ 80 50.82
9.29 บุคลากรเข้าร่วมกิจกรรม Work
Process Innovation
ร้อยละ 60 100.00
9.30เกิดค่านิยมแห่งคุณธรรม และ
พฤติกรรมที่พึงประสงค์เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 80 N/A
9.31 เปิดสอนสมาธิสาหรับผู้นาธุรกิจ
(Meditation for Business Leaders)
ตามหลักสูตรสุทันตสาสมาธิ (สมาธิเพื่อ
พัฒนาชีวิต) ของสถาบันพลังจิตตานุภาพ
โดยพระธรรมมงคลญาณ (พระอาจารย์
หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินธโร)อย่างต่อเนื่องทุก
ภาคการศึกษา
กระบวนวิชา 1 1
9.32 เป็นแบบอย่าง (Best Practice) ของ
การจัดการเรียนการสอนจริยธรรมธุรกิจที่
สถาบันการศึกษาอื่นนาไปอ้างอิง
สถาบันการศึกษา
อยู่ระหว่างการ
จัดทากรณีศึกษา
เพื่อใช้ในการเรียน
การสอน
26 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561
ผลปี 61
(31 ธค 59- 31
พค.61)
9.33 นักศึกษามีส่วนร่วมในโครงการ
social service หรือมีโครงการ social
service เป็นของตัวเอง
โครงการ 4
Introduction :
Social Work
Project จานวน
นักศึกษาเข้าร่วม
กิจกรรม 440 คน
ผลการจัดกิจกรรม
3.83 มาก
9.34 สัดส่วนอาจารย์ที่อาสาสอนเป็น
ภาษาอังกฤษมีมากขึ้น
ร้อยละ 80 80.00
9.35 ได้รับการจัดสรรพื้นที่คณะเพิ่มเติม ร้อยละ 0 0
9.36 ห้องเรียนได้รับการปรับปรุงให้เข้ากับ
การเปลี่ยนแปลงของกลยุทธ์การสอนแบบ
Active Learning
ร้อยละ 20 30.43
9.37 กระบวนการสรรหาหัวหน้าภาค และ
คณบดี เป็นไปอย่างสร้างสรรค์และ
เรียบร้อย
ร้อยละ 100 100.00
9.38 หัวหน้าภาคและรองคณบดีที่มี
ศักยภาพเป็นคณบดีได้รับการส่งเสริมให้เข้า
อบรมเตรียมการการเป็นคณบดีในหลักสูตร
ระดับสากล
ร้อยละ 80 100.00
9.39 ทาคู่มือคณบดีเพื่อเป็น KM เล่ม 0 กาลังดาเนินการ
.
27 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
3. ผลการดาเนินงานตามข้อเสนอแนะของสภามหาวิทยาลัยที่ได้ให้ไว้ในช่วงการเสนอแผนการ
บริหารงานของหัวหน้าส่วนงาน
ข้อเสนอแนะของสภา
มหาวิทยาลัย
ผลการดาเนินงาน หมายเหตุ
1. การปรับโครงสร้างการ
ประเมินอาจารย์
ได้มีการปรับโครงสร้างการ
ประเมินอาจารย์ให้สอดคล้องกับ
มาตรฐานสากล AACSB โดยได้มี
การนาเข้าที่ประชุมคณะกรรมการ
บริหารประจาคณะ ครั้งที่
6/2561 วันที่ 11 เมษายน 2561
และ ครั้งที่ 12/2561 วันที่ 8
สิงหาคม 2561 โดยกาหนดให้มีใช้
ในการประเมินในรอบ ตุลาคม
2561
เอกสารแนบ 1-3
2. การประกันคุณภาพ
การศึกษา
คณะได้ดาเนินการประกันคุณภาพ
การศึกษาระดับสากล โดยได้รับ
การรับรองจาก ABEST21 ในวันที่
9 มีนาคม 2016 และ ผ่านเกณฑ์
FACULTY QUALIFICATIONS
AND ENGAGEMENT CRITERIA
ของ AACSB Standards
เอกสารแนบ 4
3. ควรมีการออกแบบหลักสูตร
ให้นักศึกษาสามารถเรียน
กระบวนวิชาข้ามคณะได้
คณะบริหารธุรกิจได้มีการ
ออกแบบหลักสูตรที่ให้โอกาส
นักศึกษาสามารถเรียนกระบวน
วิชาข้ามคณะได้ โดยแผนในการร
ปรับปรุงหลักสูตรใหม่กาหนดให้มี
วิชาโท (Minor) เพื่อให้นักศึกษา
เลือกเรียนในวิชาที่สนใจ ซึ่งตอบ
โจทย์การเลือกทางานในอนาคตที่
28 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
ข้อเสนอแนะของสภา
มหาวิทยาลัย
ผลการดาเนินงาน หมายเหตุ
ตรงตามความต้องการ และมีการ
เปิดโอกาสให้นักศึกษาคณะอื่น
สามารถลงทะเบียนเรียนเพื่อให้มี
ความรู้พื้นฐานทางด้านธุรกิจเพิ่ม
มากขึ้น โดยมีการเปิดกระบวน
วิชาที่เป็นวิชาศึกษาทั่วไปของทั้ง
4 ภาควิชา ในกระบวนวิชา
ดังต่อไปนี้ 1) ภาควิชาการบัญชี
701181 การบัญชีสาหรับผู้ที่
ไม่ใช่นักบัญชี (Accounting for
Non Accountants) 2) ภาควิชา
การเงินและการธนาคาร 702101
การเงินในชีวิตประจาวัน
(Finance for Daily Life) 3)
ภาควิชาการจัดการ 703103
การเป็นผู้ประกอบการและธุรกิจ
เบื้องต้น (Introduction to
Entrepreneurship and
Business) และภาควิชาการตลาด
705191 ผู้บริโภคที่ชาญฉลาด
(Smart Consumer) เพื่อ
ตอบสนองความต้องการให้กับทุก
คณะในการพัฒนาความรู้ทางด้าน
บริหารธุรกิจเพิ่มเติมจากหลักสูตร
ของคณะนั้น ๆ
4. ควรนา Learning
Platforms รวมกับ
Competency Based
Learning จะก่อให้เกิด
ในปีการศึกษา 2561 คณะ
บริหารธุรกิจ ได้กาหนดให้
นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ทุกคน ต้อง
ลงทะเบียนกระบวนวิชา Social
Project ซึ่งเป็นกระบวนวิชาที่มี
29 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
ข้อเสนอแนะของสภา
มหาวิทยาลัย
ผลการดาเนินงาน หมายเหตุ
หลักสูตรการเรียนการสอน
เฉพาะบุคคล
การแบ่งกลุ่มและเลือกศึกษา
ปัญหาผ่านชุมชนที่สนใจ และ
แก้ปัญหาให้กับชุมชน โดยนา
ความรู้ทางด้านบริหารธุรกิจไป
ร่วมแก้ปัญหา และสาหรับ
นักศึกษาในชั้นปีที่ 2–4 ทั้ง 4
ภาควิชาได้มีการเปิดสอนกระบวน
วิชาที่จัดการเรียนการสอนแบบ
Action Learning โดยมีรูปแบบ
การเรียนการสอนที่ให้นักศึกษา
เลือกปัญหาที่สนใจไปเป็นโจทย์ใน
การแก้ปัญหา ทาให้เกิดการเรียนรู้
และประสบการณ์ที่ได้รับที่
แตกต่างกันตามแนวคิด
Competency Based Learning
30 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
5. ปัญหาและอุปสรรคที่พบจากการบริหารงานที่ผ่านมา
ด้านจานวนนักศึกษาต่างชาติ
เนื่องจากคณะบริหารธุรกิจ ยังไม่มีการเปิดสอนในหลักสูตรนานาชาติ จึงทาให้มีจานวนนักศึกษา
ต่างชาติที่ลงทะเบียนเรียนในหลักสูตรน้อย แต่ คณะได้รับอนุมัติให้เปิดการเรียนการสอนในหลักสูตร
3 ภาษา ธุรกิจบริการ ในปีการศึกษา 2562
ด้านวิจัย
งบประมาณวิจัยที่ได้รับจากแหล่งทุนภายนอกยังมีไม่มาก และงานวิจัยสายสังคมศาสตร์และ
มนุษยศาสตร์ยังไม่ค่อยได้รับการสนับสนุนมากเทียบเท่ากับสายวิทยาศาสตร์ซึ่งมีแหล่งทุนมากกว่า
สาหรับด้านผลงานทางวิชาการยังมีตัวชี้วัดในด้านคุณภาพของผลงานไม่ชัดเจนเมื่อเทียบเท่ากับทาง
สายวิทยาศาสตร์ และ คณะได้จัดหาทุนจากงบประมาณเงินรายได้ ให้คณาจารย์อย่างเพียงพอ
ด้านการบริการวิชาการ ผ่านศูนย์นวัตกรรมการจัดการ
1. องค์กรส่วนใหญ่มีความต้องการจัดอบรม ในหัวข้อที่เฉพาะเจาะจงและทันสมัย บางหัวข้อทาให้
ศูนนย์ต้องการพึ่งพาวิทยากรจากภายนอกซึ่ง อาจมีความเสี่ยงที่จะเสียลูกค้าในการอบรมในอนาคต
รวมถึงเสียโอกาสในการพัฒนาบุคลากรภายใน
2. ด้านการพัฒนาบุคลากรของคณะบริหารธุรกิจ
ศูนย์ได้ประชาสัมพันธ์ โครงการและสนับสนุนคณาจารย์ให้เข้าร่วมการฟังบรรยายและ
ติดตามวิทยากรที่มีประสบการณ์ ในหัวข้อที่เชี่ยวชาญและความสนใจ แต่ยังไม่มี่คณาจารย์ที่สะดวก
เข้าร่วมกิจกรรมได้เนื่องด้วยโครงการอบรมส่วนใหญ่มักจะจัดตรงกับช่วงเวลาที่มีการเรียนการสอน
31 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
6. สิ่งที่ส่วนงานต้องการให้มหาวิทยาลัยและสภามหาวิทยาลัยช่วยเหลือและสนับสนุนการ
ดาเนินงานของส่วนงาน
ด้านจานวนนักศึกษาต่างชาติ
การดาเนินการที่ผ่านมาเรื่องการจัดการนักศึกษาต่างชาติ ตั้งแต่เริ่มกระบวนการรับเข้า ลงทะเบียน
และการจัดการด้านจ่างๆ ยังไม่มีระบบการบริหารจัดการด้านนักศึกษาต่างชาติรองรับอย่างเป็นระบบ
แม้กระทั่งยังไม่มีหน่วยงานส่วนกลางที่เป็นศูนย์กลางในการเก็บรวบรวมข้อมูลนักศึกษาต่างชาติ
เนื่องจากจานวนนักศึกษาต่างชาติเป็นตัวชี้วัดในด้านความเป็นนานาชาติของมหาวิทยาลัย เช่น Qs
ranking ซึ่งมีการสารวจจานวนมายังแต่ละคณะ / ส่วนงาน ในทุกปีๆ หากมีระบบบริหารจัดการ
นักศึกษาต่างชาตินี้ นอกจากจะทาให้การดูแลและบริหารจัดการนักศึกษาต่างชาติได้อย่างมี
ประสิทธิภาพแล้ว ยังทาให้มีข้อมูลจานวนของนักศึกษาต่างชาติของมหาวิทยาลัย ที่เป็นข้อมูลที่
ตรงกันทั้งระบบเพื่อให้ผู้บริหารสามารถนาข้อมูลสารสนเทศที่วิเคราะห์ได้จากข้อมูลรายงานในทุก ๆ
ปี ไปใช้ในการตตัดสินใจและวิเคราะห์วางแผนด้านการจัดการระบบต่าง ๆ เพื่อรองรับการแลกเปลี่ยน
นักศึกษาต่างชาติ และวางแผนด้านความเป็นนานาชาติให้กับมหาวิทยาลัยได้ อีกด้วย
ด้านวิจัย
1. มหาวิทยาลัยควรหาแนวทางในการสนับสนุนให้คณะ / ส่วนงาน มีการเชิญผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ
มาเป็นที่ปรึกษาและดาเนินงานวิจัยร่วม และสนับสนุนการตีพิมพ์ผลงานวิชาการในระดับนานาชาติให้
มากขึ้น
2. มหาวิทยาลัยควรกาหนดแนวปฏิบัติและวิธีการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุเพื่อการวิจัยและ
พัฒนาหรือการให้บริการทางวิชาการให้ชัดเจน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความคล่องตัวในการ
ผลิตผลงานทางวิชาการของคณาจารย์และบุคลาการของมหาวิทยาลัยภายใต้พรบ.จัดซื้อจัดจ้างและ
การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
32 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่
ด้านการบริการวิชาการ ผ่านศูนย์นวัตกรรมการจัดการ
1. สนันสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับวิทยากรระดับประเทศ หรือต่างประเทศ เพื่อนาความรู้และ
ประสบการณ์มาพัฒนาการจัดฝึกอบรมของศูนย์นวัตกรรมการจัดการ
2. ส่งเสริมและสนับสนุนการประชาสัมพันธ์ศูนย์นวัตกรรมการจัดการให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Blog sirivuth

รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา Mana Suksa
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737gam030
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10wanneemayss
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10benty2443
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10nattawad147
 

Semelhante a Blog sirivuth (20)

รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 

Mais de Pattie Pattie

สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567Pattie Pattie
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินPattie Pattie
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรPattie Pattie
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชPattie Pattie
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...Pattie Pattie
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationPattie Pattie
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีPattie Pattie
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Pattie Pattie
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfPattie Pattie
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPattie Pattie
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxPattie Pattie
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxPattie Pattie
 
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdfPattie Pattie
 

Mais de Pattie Pattie (20)

สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
 

Blog sirivuth

  • 1. 1 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ ผลการดาเนินงานตามแผนการบริหารงานที่นาเสนอต่อสภามหาวิทยาลัย (รอบ 1 ปี 6 เดือนแรก)
  • 2. 2 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ C M U BUSINESS SCHOOL คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1. สรุปแนวคิดในการบริหารส่วนงานสู่เป้าหมาย (Concept Paper) แนวคิดการบริหารส่วนงานสู่เป้าหมาย (Concept Paper) สาหรับรอบการประเมิน 1 ธ.ค. 59 ถึง 31 พ.8. 61 รองศาสตราจารย์ ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร คณบดีคณะบริหารธุรกิจ เอกสารฉบับนี้ทาขึ้นเพื่อสะท้อนผลและแผนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของคณะบริหารธุรกิจ 18 เดือน แรกของการดารงตาแหน่งคณบดี วาระที่ สอง ที่ตั้งใจไว้ก่อนเข้ารับตาแหน่งคณบดี และนาเสนอการประเมิน ตนเองเกี่ยวกับผลสาเร็จที่ได้ทาในระหว่างรอบการประเมินและสิ่งที่ยังทาไม่สาเร็จ ตลอดจนแนวคิดการ ดาเนินงานในอนาคต แผนกลยุทธ์ของคณะฯ ที่ได้ตั้งไว้ระหว่างรอบการประเมิน และผลการปฏิบัติ คาอธิบายแผนกลยุทธ์ ที่ตั้งไว้ ผลสาเร็จของการดาเนินงาน สิ่งที่ยังต้องดาเนินการต่อ แผนดาเนินการต่อเนื่องจากวาระแรก มุ่งเป้าหมายสู่การได้รับการรับรองมาตรฐานสากลจาก AACSB ซึ่งเป็นการรับรองระดับคณะ หลังจากได้รับ การรับรองมาตรฐาน ABEST21 ระดับหลักสูตรแล้วในการดารงตาแหน่งวาระแรก เนื่องจากกระบวนการ รับรองฯ AACSB กินระยะเวลากว่า 5 ปี และก่อนขึ้นดารงตาแหน่งวาระ 2 ได้ดาเนินการจนคณะฯ เป็นไป ตามารตรฐานแล้ว 13 จาก 15 มาตรฐาน จึงต้องขับเคลื่อนประเด็นท้าทายอีกสองมาตรฐาน ดังนี้ 1. มาตรฐานคุณภาพ อาจารย์ ได้มีการดาเนินการกาหนดมาตรฐานอาจารย์ ประจาและอาจารย์พิเศษจนเป็นที่สอดคล้องกับ พันธกิจขอคณะ มหาวิทยาลัย ตลอดจนเป็นที่ ยอมรับได้ของ AACSB โดยในปัจจุบัน อาจารย์ กว่า 90% เป็นไปตามมาตรฐานแล้ว กล่าวคือมี คุณวุฒิ และผลงานวิชาการทั้งการตีพิมพ์และ ดาเนินการผลักดันต่อเนื่องให้ อาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ สาเร็จ การศึกษาภายในกาหนด และ คณาจารย์ที่ยังไม่มีผลงาน ตีพิมพ์ครบจานวนมาตรฐาน สามารถผลิตผลงานการ
  • 3. 3 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ คาอธิบายแผนกลยุทธ์ ที่ตั้งไว้ ผลสาเร็จของการดาเนินงาน สิ่งที่ยังต้องดาเนินการต่อ ผลงานอื่นๆ ที่มีทั้ง Social และ Economic Impacts ตีพิมพ์ได้โดยเร็วที่สุด โดย ตั้งเป้าหมายที่เป็นไปได้ไว้ว่า ภายในสิ้นปีการศึกษา 2561 (พค.2562) อาจารย์ทั้งหมด ของคณะจะเป็นผู้มีคุณสมบัติ ครบถ้วนตามมาตรฐาน AACSB ได้ดาเนินการวางระบบและ วัดผลสัมฤทธิการเรียนรู้ ของ นักศึกษาเป็นรายคน โดยมี ระบบสารสนเทศรองรับทุก ขั้นตอน จนกรรมการประเมิน หลักสูตร เห็นว่าสิ่งที่คณะทา นั้นไปไกลเกินกว่า มคอ. มาก คณะจะดาเนินการเผยแพร่ ให้กับคณะอื่นๆ เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ คณะยังดาเนินการ สร้าง Learning Dashboard ที่นักศึกษาสามารถติดตาม ความก้าวหน้าของพัฒนาการ ในตนเองตลอดหลักสูตรได้ ซึ่งเมื่อแล้วเสร็จสมบูรณ์จะ กลายเป็นต้นแบบของ มาตรฐานโลกตามความเห็น ของ AACSB โดยประสงค์ให้ คณะได้นาเสนอให้กับที่ ประชุมประจาปีให้กับ ผู้บริหารของ Business School ทั่วโลก 2. มาตรฐานการวัด ผลสัมฤทธิ์ การเรียนรู้ การส่งรายงาน Concept Paper ฉบับนี้ล่าช้า กว่ากาหนด เนื่องจากต้องการรอผลการ ประเมิน SAR หลักสูตร เพื่อใช้เป็นหลักฐาน แสดงผลสาเร็จในการพัฒนากระบวนการ จัดการการเรียนการสอน การวัดผล และการนา Learning Outcome ไปพัฒนากระบวนวิชา การวัดผล และการปรับปรุงหลักสูตร ที่เป็น ต้นแบบให้กับคณะต่างๆ ในมหาวิทยาลัย โดย ผลการประเมิน ได้ผ่านที่ประชุม กบม. ในวันที่ 12 พ.ย. 61 ที่ผ่านมา สะท้อนให้เห็นว่าคณะได้ ให้ความสาคัญกับเรื่อง Assurance of Learning นี้มากจนได้ทาสูงกว่ามาตรฐานสกอ. และมาตรฐาน AACSB
  • 4. 4 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ คาอธิบายแผนกลยุทธ์ ที่ตั้งไว้ ผลสาเร็จของการดาเนินงาน สิ่งที่ยังต้องดาเนินการต่อ นอกเหนือจาก การผลักดันให้คณะได้รับการรับรองมาตรฐาน AACSB จนประสบความสาเร็จ มาถึงขั้นที่จะ ได้รับรองมาตรฐานแน่นนแล้ว เพียงแต่รอการแสดงผลการดาเนินงานครบ 2 รอบปีการศึกษาเท่านั้นแล้ว ยัง ได้มีการดาเนินการวางรากฐานของคณะเพื่อยกระดับขึ้นสู่เวทีสากลภายหลังจากได้รับรองมาตรฐานแล้ว ดังนี้ กลยุทธ์ที่ 1.1 ความเป็นนานาชาติและการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐาสากล เพื่อนาคณะไปสู่การ เป็น All English Program ภายใน 10 ปีข้างหน้า เปิดหลักสูตรนานาชาติ เน้น Service Management หลักสูตรพร้อมที่จะเปิด ในปีการศึกษา 2562 ดาเนินการหาพันธมิตร เพิ่มเติมเพื่อเพิ่มความเป็น นานาชาติของหลักสูตรที่จะ เปิดดังกล่าว เตรียมการเปิดหลักสูตร นานาชาติบัญชีบัณฑิต เจรจากับพันธมิตรโดยเน้นที่มหาวิทยาลัยในจีน ที่ได้รับการรับรองหรืออยู่ในกระบวนการรับรอง มาตรฐาน AACSB หรือ EFMD ของยุโรป เน้นหลักสูตรเพื่อเรียนรู้ มาตรฐานการบัญชีและการ สอบบัญชีที่สามารถทางาน ข้ามประเทศได้ กลยุทธ์ที่ 1.2 ด้านการเรียนการสอนข้ามสาขา ด้วยการตระหนักถึงความสาคัญที่บัณฑิตต้องสามารถทางาน แก้ไขปัญหาองค์กรที่มีลักษณะข้ามศาสตร์ได้ เพื่อจากปัญหาขององค์กรในปัจจุบันและโดยเฉพาะในอนาคต จะไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยความรู้จากศาสตร์เดียว ปรับปรุงหลักสูตรให้มี Minor ข้ามศาสตร์ ในปัจจุบันข้อบังคับของมหาวิทยาลัยไม่เอื้อต่อ การเรียนข้ามศาสตร์ กล่าวคือ วิชา Minor (15 หน่วยกิต) จะต้องเป็นการเรียนวิชาประมาณ 5 วิชาจากภาควิชาหรือคณะเดียว ซึ่งไม่สอดคล้อง กับสถานการณ์ปัจจุบัน จึงได้เข้าหารือกับ อธิการบดี และเห็นพ้องให้คณะบริหารธุรกิจ ประสานกับคณะต่างๆ ที่มีศาสตร์เหลื่อมทับกัน สามารถ จับมือกัน เลือกวิชาแล้วเสนอผ่านให้ มหาวิทยาลัยประกาศเป็นวิชาโทข้ามศาสตร์ได้ เป็นครั้งแรก เช่น Data Science เลือกวิชาจาก คณะวิศวะฯ มา 3 วิชาและวิทยาศาสตร์ ในปีการศึกษา 2562 จะมี การปรับปรุงหลักสูตรบัญชีให้ มี Minor Data Science ซึ่ง จากการสารวจบริษัทบัญชี รายใหญ่หรือ Big4 พบว่ามี ความต้องการสูงมากแต่ยังไม่ มีสถาบันใดผลิตในเมืองไทย
  • 5. 5 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ คาอธิบายแผนกลยุทธ์ ที่ตั้งไว้ ผลสาเร็จของการดาเนินงาน สิ่งที่ยังต้องดาเนินการต่อ คอมพิวเตอร์อีก 3 วิชาให้นักศึกษาเลือกเรียน 5 จาก 6 และประกาศเป็น Minor การจัดการหลักสูตร ปัจจุบันให้สามารถเรียน ข้ามศาสตร์กับคณะอื่น โดยไม่ต้องปรับปรุง แก้ไขหลักสูตร หรือรอ การแก้ไขระเบียบ ข้อบังคับ การรอ สกอ. และ มหาวิทยาลัยแก้ไขข้อบังคับ ไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง คณะฯ จึงได้ร่วมกับ คณะวิศวะฯ และวิทยาศาสตร์ และอุทยาน วิทยาศาสตร์ (STEP) ในการจัดการเรียนการ สอนแบบ Action Learning ที่นาโจทย์ปัญหาร จริงจากองค์กรธุรกิจที่มีความร่วมมือกับคณะฯ อยู่ในขณะนี้แล้วนานักศึกษาจากต่างคณาเรียน ร่วมกัน นาร่องก่อนการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร อย่างเป็นทางการ ดาเนินการขยายผลจากเดิมที่ มีธนาคารไทยพาณิชย์เป็น พันธมิตรหลัก ไปสู่ธุรกิจอื่น นอก Finance Sector และ สู่ธุรกิจ SMEs ในพื้นที่ ภาคเหนือ กลยุทธ์ที่ 1.2 ด้านการพัฒนาสภาพแวดล้อมการเรียนรู้และการส่งเสริม 21st Century Learning การพัฒนา สภาพแวดล้อมการ เรียนรู้ ปรับปรุงห้องเรียนให้เอื้อต่อการเรียนการ สอนแบบ Flipped Classroom และ Experiential Learning แบบต่างๆ ปรับปรุงต่อเนื่องจนกว่า จะครบทุกห้องและ เพียงพอต่อการใช้งาน การส่งเสริม 21st Century Learning ตามนโยบายของ มหาวิทยาลัย ลดสัดส่วนของการบรรยาย และ เพิ่มสัดส่วน การเรียนรู้ภาคปฏิบัติมากขึ้น โดยในปัจจุบัน คณาจารย์ทุกคนของคณะมีความรู้และทักษะใน การเรียนการสอนผ่านการปฏิบัติจริงแล้ว เผยแพร่ความสาเร็จของการ จัดการเรียนการสอนแบบ Action Learning ให้คณะ อื่นๆ และสถาบันการศึกษา อื่นๆ นาไปใช้ กลยุทธ์ที่ 2 การเพิ่มปริมาณการผลิตผลงานวิชาการ และการกาหนดทิศทางการวิจัยตามจุดเด่นของคณะ การเพิ่มปริมาณการ ผลิตผลงานวิชาการ (Intellectual Contribution) การจัดการการผลิตผลงานการตีพิมพ์ของ คณาจารย์ ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมาประสบ ความสาเร็จใน 2 มิติ กล่าวคือ ผลงานส่วนมาก เกิดจากคณาจารย์ส่วนใหญ่ โดยไม่ปรากฏว่า คณาจารย์ท่านใดไม่ได้ตีพิมพ์ผลงานเลย และ มิติด้านคุณภาพและปริมาณก็ดีขึ้นมาก ดังเห็น ยกระดับคุณภาพการตีพิมพ์ ผลงานวิชาการโดยในปี การศึกษา 2562 จะนับภาระ งานวิจัยของคณาจารย์ เฉพาะที่ตีพิมพ์ใน TCI1 หรือ ในฐานข้อมูลนานาชาติที่ ได้รับการรับรองจาก AACSB
  • 6. 6 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ คาอธิบายแผนกลยุทธ์ ที่ตั้งไว้ ผลสาเร็จของการดาเนินงาน สิ่งที่ยังต้องดาเนินการต่อ ได้จาก ไม่มีการตีพิมพ์ ในวารสารที่ไม่ปรากฏใน ฐานข้อมูล TCI หรือนานาชาติที่ไม่ได้มาตรฐาน เท่านั้น ในปีการศึกษา 2563 เฉพาะ Top Quartile ของ TCI1 และในปีการศึกษา 2564 นับเฉพาะนานาชาติ เท่านั้น จากความสาเร็จในการเร่ง ผลิตผลงานวิชาการ ทาให้มี คณาจารย์เกือบครึ่งหนึ่งของ คณะได้รับตาแหน่งวิชาการที่ สูงขึ้น ต่อไปจึงจะส่งเสริมให้ คณาจารย์เลื่อนตาแหน่งทาง วิชาการอีกอย่างต่อเนื่อง การกาหนดทิศทางการ วิจัยตามจุดเด่นของ คณะ  กาหนดกลุ่มวิจัยที่คณะต้องการมุ่งเน้นตาม (1)อุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ของภาคเหนือ และ (2)ประเด็นวิจัยยุทธศาสตร์ของสกว. โดยได้ข้อสรุปกลุ่มวิจัยได้แก่ กลุ่มAging Society, กลุ่ม Border Trade, กลุ่ม Sustainability and Social Entrepreneurship เป็นต้น โดยแต่ละกลุ่ม ได้รับงบประมาณการทาวิจัยจากเงินรายได้ ของคณะ  คณาจารย์มีผลงานตีพิมพ์มากขึ้นใน ฐานข้อมูลที่ AACSB ยอมรับและตรงตามยุ ทศาสตร์การวิจัยของชาติ ผลงานของการทาวิจัยและ Intellectual Contributions ต่างๆ เป็นไป ตามพันธกิจของคณะ กล่าวคือเป็นงานวิจัยที่นาไป ให้ได้จริง (Close-to- practice knowledge) คณะจะได้พัฒนาระบบวัด Impact ของการนาผลงาน วิชาการไปใช้ประโยชน์ตาม พันธกิจให้สมบูรณ์มากขึ้น ณ ปัจจุบัน ได้เริ่มเก็บข้อมูลจาก Target Audiences มาเป็น เวลา 8 เดือนแล้ว
  • 7. 7 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ คาอธิบายแผนกลยุทธ์ ที่ตั้งไว้ ผลสาเร็จของการดาเนินงาน สิ่งที่ยังต้องดาเนินการต่อ กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้วยการจัดตั้งศูนย์พัฒนาอาชีพให้กับนักศึกษา ให้เป็นต้นแบบของ มช. และสถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ ดาเนินการศูนย์พัฒนา อาชีพให้กับนักศึกษา  ได้จัดตั้ง Career Success Center (ศูนย์ พัฒนาความสาเร็จในอาชีพเพื่อนักศึกษา และศิษย์เก่า) รายละเอียดหลักการและ เหตุผลในเว็บ http://www.ba.cmu.ac.th/th/career- success-center/ โดยที่ศูนย์นี้มีชมรม Career Success Club ของนักศึกษาเป็น ผู้ร่วมจัดกิจกรรม  กิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพมีปฏิทินกิจกรรม ตลอดปีแจ้งให้นักศึกษาทราบตั้งแต่เริ่มปี การศึกษา โดยที่นักศึกษาสามารถ ลงทะเบียนผ่าน Mobile devices ต่างๆ ได้อย่างสะดวก  ข้อมูลการผ่านกิจกรรมต่างๆ ของนักศึกษา จะถูกบันทึกไว้ในระบบ e Activity และจะ รายงานเป็น Activity Transcript โดย อัตโนมัติ  โปรแกรม e Activity ได้รับรางวัลชนะเลิศ ด้านนวัตกรรมทางการศึกษาและในขณะนี้ มช. นาไปขยายผลใช้กับทุกคณะ ยังคงเน้นแนวคิด “ไม่เพียง สอนวิชาการบริหารแต่ยังบ่ม เพาะวิชาชีพการบริหาร” ให้กับนักศึกษาและศิษย์เก่า ปรับปรุงกระบวนวิชา การเรียนรู้ผ่านกิจกรรม ให้เป็นการทางานรับใช้ สังคมระยะยาว กาหนดให้การจะผ่านวิชาการเรียนรู้ผ่าน กิจกรรมได้นั้นนักศึกษาต้องเลือกปัญหาสังคมที่ ตนสนใจและชุมชนเป้าหมาย โดยกาหนดแผน ระยะยาว 3 ปี โดยลงมือทาร่วมกับชุมชน เป้าหมายอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2 ถึงปี 4 โดย จัดระบบอาจารย์พี่เลี้ยงคอยดูแล มีระบบการ Pitching โครงการ มีการรายงานความคืบหน้า ดาเนินกาต่อเนื่อง ละร่วมทา วิจัยกับทีมคณาจารย์จาก คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ พันธมิตรของคณะจาก Copenhagen Business School เพื่อติดตามวัด
  • 8. 8 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ คาอธิบายแผนกลยุทธ์ ที่ตั้งไว้ ผลสาเร็จของการดาเนินงาน สิ่งที่ยังต้องดาเนินการต่อ มีการพัฒนาทักษะการทางานและแก้ไขปัญหา เป็นทีม ฯลฯ ผลสัมฤทธิ์ โดยเฉพาะด้าน Morality Development Stage ว่าการที่นักศึกษาได้ เรียนรู้ที่จะกาหนดเป้าหมาย ระยะยาว และดาเนินการรับ ใช้สังคมอย่างต่อเนื่องจะ เกิดผลต่อคุณลักษณะและ พัฒนาการด้านค่านิยม อย่างไร
  • 9. 9 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ 2. ผลการดาเนินงานตามแผนการบริหารงานที่นาเสนอต่อสภามหาวิทยาลัย (รอบ 1 ปี 6 เดือนแรก) C M U B U S I N E S S S C H O O L วิสัยทัศน์คณะบริหารธุรกิจ >> เพื่อจะบรรลุพันธกิจ และการสร้างคุณค่า คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จะต้องเป็น 1. ผู้ร่วมสร้างความรู้กับศาสตร์และศิลป์อื่นในการส่งเสริมระบบนิเวศของการเกิดธุรกิจใหม่ การพัฒนาภูมิปัญญาทางการบริหาร และการแสวงหาคาตอบต่อปัญหาของสังคม 2. ผู้เร่งรัดให้เกิดนวัตกรรมด้วยการร่วมมือกับผู้ประกอบการและองค์กรต่างๆ ในการ สะท้อนความต้องการของผู้ใช้สู่ผู้พัฒนานวัตกรรม ตลอดจนพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง จนเป็นแบบอย่างที่ดีของนวัตกรรมการบริหาร 3. อาศรมของการเรียนรู้ตลอดชีพด้วยการเป็นห้องปฏิบัติการเพื่อการเรียนรู้ (โรงเรียน) มิใช่เป็น “โรงสอน” ในการพัฒนาพื้นฐานทางปัญญาของผู้เรียน การพัฒนาคุณภาพการ อบรมและสั่งสอนของคณาจารย์ และความเป็นเลิศในการประเมินสมรรถนะ 4. ผู้เอื้ออานวยต่อความรุ่งเรืองอันยั่งยืนซึ่งก้าวพ้นการสร้างความมั่งคั่งสู่การเข้าถึงความ จาเป็นพื้นฐานได้ดีขึ้น การเกิดสภาพแวดล้อมอันเป็นมิตรต่อสุขภาวะ การมีชุมชน เข้มแข็ง การจ้างงานที่มีความหมายต่อการดารงชีพ และการทาให้ชีวิตได้รับการเติมเต็ม 5. ผู้นาแห่งภาวะผู้นาด้วยการทาให้ธุรกิจและสังคมเข้าใจหลักการแห่งภาวะผู้นากว้างขวาง ขึ้น สร้างและเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับภาวะผู้นาภายใต้กรอบแห่งคุณธรรม จริยธรรมและประสิทธิผลของการดาเนินงาน
  • 10. 10 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ พันธกิจ >> เรามุ่งมั่นที่จะผลิตบัณฑิตผู้เปี่ยมด้วยจิตสานึกต่อสังคม และ สร้างองค์ความรู้ที่นาไป ปฏิบัติได้ ตลอดจน เป็นผู้ชี้นาทางอันเปี่ยมด้วยคุณธรรมและความเป็นเลิศเชิงบริหารต่อ ธุรกิจและสังคม คุณค่า >> เราเกิดมาเพื่อสร้างและนาเสนอคุณค่า ดังต่อไปนี้ 1. บัณฑิตผู้เปี่ยมด้วยจิตสานึกต่อสังคม 2. องค์ความรู้ที่นาไปปฏิบัติได้ 3. การชี้แนวทางอันเปี่ยมด้วยคุณธรรมต่อธุรกิจและสังคม 4. การชี้แนวทางสู่ความเป็นเลิศทางการบริหารต่อธุรกิจและสังคม โครงสร้างองค์กร >> “ “
  • 11. 11 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ คณะบริหารธุรกิจ : Challenge หลักสูตรที่มี WIL / หลักสูตรที่ได้รับรองมาตรฐานนานาชาติ / จานวนบทความตีพิมพ์ในระดับชาติและนานาชาติของอาจารย์และนักวิจัย / ผลงานทางวิชาการที่นาไปใช้จริง / ทุนวิจัย / รายได้จากบริการวิชาการ ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561 ผลปี 61 (31 ธค 59- 31 พค.61) ยุทธศาสตร์ที่ 1 : นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงาน 1.14 จานวนโครงการ/กิจกรรมและการมี ส่วนร่วมของนักศึกษา คณาจารย์ และ บุคลากรในการอนุรักษ์หรือใช้ ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงานอย่างมี จิตสานึก โครงการ/กิจกรรม 7 9 1.15 ร้อยละของความสาเร็จของการคัด แยกขยะภายในส่วนงาน ร้อยละ 7.09 10.51 1.16 โครงการเพิ่มพื้นที่สีเขียวภายในส่วน งาน ร้อยละ 28.99 29.20 1.17 ปริมาณไขมันที่ปล่อยออกจากส่วน งาน มิลลิกรัมต่อลิตร 1.42 0.43 ยุทธศาสตร์ที่ 2 : นวัตกรรมด้านอาหารและสุขภาพ และการดูแลผู้สูงอายุ 2.8 จานวนผลงานทางวิชาการที่ถูกนาไปใช้ ประโยชน์จริง ผลงาน 1 2 2.9 จานวนทุนสนับสนุนงานวิจัยและ พัฒนานวัตกรรมจากแหล่งทุนภายนอก บาท 500,000 1,070,400 2.9.5 ทุนสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมจากแหล่งอื่นๆ (ทุนส่วนตัว) บาท 500,000 0
  • 12. 12 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561 ผลปี 61 (31 ธค 59- 31 พค.61) 2.15 จานวนโครงการ/กิจกรรมสร้าง สภาพแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัย ทางด้านอาหารและสุขภาพ และการดูแล ผู้สูงอายุ โครงการ/กิจกรรม 1 2 2.17 จานวนโครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับ Healthy University โครงการ/กิจกรรม 3 0 ยุทธศาสตร์ที่ 3 : ล้านนาสร้างสรรค์ 3.4 จานวนนวัตกรรมด้านล้านนา สร้างสรรค์ ชิ้นงาน 0 0 3.7 จานวนทุนสนับสนุนงานวิจัยและ พัฒนานวัตกรรมจากแหล่งทุนภายนอก บาท 0 0 ยุทธศาสตร์ที่ 4 : ผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม คุณภาพ และมีทักษะการเป็นพลเมืองโลก 4.1 ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อ ทักษะด้านคุณธรรม คุณภาพ และทักษะ การเป็นพลเมืองโลก (ภายหลังการทางาน 1 ปี) 4.1.1 ระดับปริญญาตรี ระดับ 4.00 4.48 (มาก) 4.2 ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่มี งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปีหลังสาเร็จการศึกษา ร้อยละ 80 67.52% 4.3 ร้อยละผลงานของนักศึกษาต่อผู้สาเร็จ การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาที่ได้รับการ ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ (ที่คณะกรรรมการบัณฑิตศึกษาประจา คณะให้ความเห็นชอบ) ร้อยละ 0.22 0.00
  • 13. 13 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561 ผลปี 61 (31 ธค 59- 31 พค.61) 4.3.1 จานวนผลงานของนักศึกษาระดับ ปริญญาโทในวารสารระดับนานาชาติ (ปี ปฏิทิน) ผลงาน 1 0 4.3.2 จานวนผู้สาเร็จการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา (ปีการศึกษา) (ข้อมูล CMU- EIS) คน 450 130 4.4 ร้อยละผลงานของนักศึกษาที่อยู่ใน ฐานข้อมูล Scopus ต่อจานวนผลงานที่ เผยแพร่ทั้งหมด ร้อยละ 100 0 4.4.1 จานวนผลงานของนักศึกษาระดับ ปริญญาโท ผลงาน 1 14 4.4.2 จานวนผลงานของนักศึกษาระดับ ปริญญาเอก ผลงาน 1 1 4.5 ร้อยละของหลักสูตรระดับปริญญาตรีที่ มี Entrepreneurship/Startup/สหกิจ ศึกษา/WIL เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร ร้อยละ 100.00 100.00 4.5.1 จานวนหลักสูตรระดับปริญญาตรีที่มี Entrepreneurship/Startup/สหกิจ ศึกษา/WIL เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร หลักสูตร 2 2 4.5.2 จานวนหลักสูตรระดับปริญญาตรี ทั้งหมด หลักสูตร 2 2 4.6 ร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมสหกิจ ศึกษา / WIL ร้อยละ 100 0 4.6.1 นักศึกษาที่เข้าร่วมสหกิจศึกษา / WIL คน 0
  • 14. 14 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561 ผลปี 61 (31 ธค 59- 31 พค.61) 4.6.2 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี ทั้งหมด (ข้อมูล CMU-EIS) คน 2,004 4.7 จานวนหลักสูตรนานาชาติ หลักสูตร 0 1 4.7.1 จานวนหลักสูตรนานาชาติระดับ ปริญญาตรี หลักสูตร 0 1 4.7.2 จานวนหลักสูตรนานาชาติระดับ ปริญญาโท หลักสูตร 0 0 4.7.3 จานวนหลักสูตรนานาชาติระดับ ปริญญาเอก หลักสูตร 0 0 4.9 จานวนหลักสูตรทุกระดับที่ได้รับการ รับรองจากเกณฑ์มาตรฐานระดับนานาชาติ (นับสะสม) หลักสูตร 3 3 4.11 ร้อยละของกระบวนวิชาระดับ ปริญญาตรีที่มีกิจกรรมการเรียนการสอน เป็นภาษาอังกฤษ และ/หรือ ภาษาต่างประเทศ 20 36.76 4.11.1 จานวนกระบวนวิชาที่มีการเรียน การสอนเป็นภาษาอังกฤษ กระบวนวิชา 25 4.11.2 จานวนกระบวนวิชาที่มีการเรียน การสอนเป็นภาษาต่างประเทศ กระบวนวิชา - 4.11.3 จานวนกระบวนวิชาระดับปริญญา ตรี กระบวนวิชา 68 4.12 ร้อยละของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ที่มีผลการสอบวัดความรู้และทักษะ ภาษาอังกฤษก่อนสาเร็จการศึกษา ตาม มาตรฐาน Common European ร้อยละ 50 24.46
  • 15. 15 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561 ผลปี 61 (31 ธค 59- 31 พค.61) Framework of Reference for Language อยู่ในระดับ B1 ขึ้นไป 4.12.1 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่ มีผลการสอบวัดความรู้และทักษะ ภาษาอังกฤษก่อนสาเร็จการศึกษา ตาม มาตรฐาน Common European Framework of Reference for Language อยู่ในระดับ B1 ขึ้นไป คน 114 4.12.2 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่ เข้าสอบทั้งหมด คน 466 4.13 ร้อยละของอาจารย์ที่สามารถนา เครื่องมือ/วิธีการเพื่อพัฒนาทักษะการ เรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 และ/หรือทักษะ การเป็นพลเมืองโลกไปปรับใช้ในการ จัดการเรียนการสอน ร้อยละ 100 100.00 4.13.1 จานวนอาจารย์ที่สามารถนา เครื่องมือ/วิธีการเพื่อพัฒนาทักษะการ เรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 และ/หรือทักษะ การเป็นพลเมืองโลกไปปรับใช้ในการ จัดการเรียนการสอน คน 52 50 4.13.2 จานวนอาจารย์ทั้งหมด คน 52 50 4.14 ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับการ พัฒนาทักษะที่จาเป็นสาหรับการเป็น พลเมืองโลกและประกอบอาชีพในอนาคต โดยผ่านกิจกรรมเสริมหลักสูตร ร้อยละ 100.00 22.43 4.14.1 จานวนนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนา ทักษะที่จาเป็นสาหรับการเป็นพลเมืองโลก ระดับปริญญาตรี คน 418
  • 16. 16 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561 ผลปี 61 (31 ธค 59- 31 พค.61) 4.14.2 จานวนนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนา ทักษะที่จาเป็นสาหรับการเป็นพลเมืองโลก ระดับปริญญาโท คน 167 4.14.3 จานวนนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนา ทักษะที่จาเป็นสาหรับการเป็นพลเมืองโลก ระดับปริญญาเอก คน 0 4.14.4 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่ มีสถานภาพ (ข้อมูล CMU-EIS) คน 2,004 4.14.5 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาโทที่ มีสถานภาพ (ข้อมูล CMU-EIS) คน 604 4.14.6 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก ที่มีสถานภาพ (ข้อมูล CMU-EIS) คน 11 4.15 จานวนนักศึกษาต่างชาติที่ลงทะเบียน ศึกษาในหลักสูตรของ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คน 4 4 4.15.1 จานวนนักศึกษาต่างชาติระดับ ปริญญาตรี (ณ ภาคเรียนที่ 1) คน 0 0 4.15.2 จานวนนักศึกษาต่างชาติระดับ ปริญญาโท (ใช้ข้อมูลภาคเรียนที่ 2) คน 4 4 4.15.3 จานวนนักศึกษาต่างชาติระดับ ปริญญาเอก (ใช้ข้อมูลภาคเรียนที่ 2) คน 0 0 4.16 จานวน inbound exchange student (มช.ขอให้รายงานผล) คน 0 0 4.16.1 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี คน 0 4.16.2 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท คน 0 4.16.3 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก คน 0
  • 17. 17 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561 ผลปี 61 (31 ธค 59- 31 พค.61) 4.17 จานวน Outbound Exchange Student (มช.ขอให้รายงานผล) คน 0 1 4.17.1 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี คน 1 4.17.2 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท คน 0 4.17.3 จานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก คน 0 4.18 จานวนอาจารย์ชาวต่างประเทศ (International Staff) คน 1 2 4.19 จานวนนักศึกษาทุกระดับที่กระทาผิด วินัยนักศึกษา คน 0 1 ยุทธศาสตร์ที่ 5 : วิจัยเพื่อความเป็นเลิศและนวัตกรรม 5.4 จานวนนวัตกรรม ผลงาน 0 0 5.6 จานวนบทความตีพิมพ์ในฐานข้อมูล ระดับชาติและนานาชาติของอาจารย์และ นักวิจัย บทความ 5 47 5.6.1 จานวนบทความตีพิมพ์ในฐานข้อมูล Scopus ของอาจารย์และนักวิจัย 12 5.6.2 จานวนบทความตีพิมพ์ที่ได้รับการ เผยแพร่ในวารสาร ระดับนานาชาติ (ไม่นับ รวม Scopus) 0 5.6.3 จานวนบทความตีพิมพ์ที่ได้รับการ เผยแพร่ในวารสาร ระดับชาติ 35 5.7 จานวนการอ้างอิงผลงานวิจัย (Citations) ในฐานข้อมูล Scopus บทความ 1 1 5.8 จานวนผลงานทางวิชาการที่ถูกนาไปใช้ ประโยชน์จริง ผลงาน 5 2
  • 18. 18 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561 ผลปี 61 (31 ธค 59- 31 พค.61) 5.9 จานวนทุนสนับสนุนงานวิจัยและ พัฒนานวัตกรรมจากแหล่งทุนภายนอก บาท 1,900,000 2,970,400 5.9.1 ทุนสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมจากงบประมาณแผ่นดิน โดยผ่าน ระบบ NRMS (ด้านอื่นๆ) บาท 570,400 5.9.2 ทุนสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมจากหน่วยงานภายนอก (ภาครัฐ) บาท 1,400,000 2,400,000 5.9.3 ทุนสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมจากภาคอุตสาหกรรม (เอกชน) (ด้านอื่นๆ) บาท 0 5.9.4 ทุนสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมจากต่างประเทศ (ด้านอื่นๆ) บาท 0 0 5.9.5 ทุนสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมจากแหล่งอื่นๆ (ทุนส่วนตัว) (ด้านอื่นๆ) บาท 500,000.00 0 5.12 จานวนอาจารย์และนักวิจัยที่มี ผลงานวิจัย/วิชาการ/สิ่งประดิษฐ์/งาน สร้างสรรค์ คน 11 5.13 จานวนโครงการวิจัย 4 6 5.13.1 จานวนโครงการวิจัยด้าน สิ่งแวดล้อมและพลังงาน (ข้อมูล CMU- EIS) โครงการ 1 1 5.13.2 จานวนโครงการวิจัยด้านอาหาร และสุขภาพ และการดูแลผู้สูงอายุ (ข้อมูล CMU-EIS) โครงการ 1 1 5.13.3 จานวนโครงการวิจัยด้านล้านนา สร้างสรรค์ (ข้อมูล CMU-EIS) โครงการ 0
  • 19. 19 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561 ผลปี 61 (31 ธค 59- 31 พค.61) 5.13.4 จานวนโครงการวิจัยด้านอื่นๆ โครงการ 2 4 ยุทธศาสตร์ที่ 6 : บริการวิชาการที่เกิดประโยชน์แก่สังคม 6.2 จานวนงบประมาณสนับสนุนจากแหล่ง ทุนภายนอก (นอกเหนือจากการวิจัยและ พัฒนา) บาท 6,287,600 17,719,000 6.2.1 ทุนสนับสนุนจากภาครัฐ (ด้านอื่นๆ) บาท 100,000 11,365,000.00 6.2.2 ทุนสนับสนุนจากภาคอุตสาหกรรม (ด้านอื่นๆ) บาท 323,000 200,000.00 6.2.3 ทุนสนับสนุนจากต่างประเทศ (ด้าน อื่นๆ) บาท 730,000 0 6.2.4 ทุนสนับสนุนจากแหล่งอื่นๆ (ด้าน อื่นๆ) บาท 5,134,600 6,154,000.00 ยุทธศาสตร์ที่ 7 : แสวงหารายได้เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 7.2 ร้อยละของรายได้จากค่าธรรมเนียม การศึกษาต่อรายได้รวม ร้อยละ 72.44 55.46 7.2.1 รายได้จากค่าธรรมเนียมการศึกษา บาท 91,488,595.90 42,344,650.51 7.2.2 รายได้รวม บาท 126,300,000 76,349,680.11 7.3 ร้อยละของรายได้จากการวิจัยต่อ รายได้รวม ร้อยละ 1.11 3.89 7.3.1 รายได้จากการวิจัย บาท 1,400,000 2,970,400 7.3.2 รายได้รวม บาท 126,300,000 76,349,680.11 7.4 ร้อยละของรายได้จากการบริการ วิชาการต่อรายได้รวม ร้อยละ 0 22.14 7.4.1 รายได้จากการบริการวิชาการ บาท 16,905,176.- 7.4.2 รายได้รวม บาท 76,349,680.11
  • 20. 20 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561 ผลปี 61 (31 ธค 59- 31 พค.61) 7.6 จานวนเงินรายได้จากแหล่งทุนวิจัย ภายนอกหลังหักค่าใช้จ่าย 0 7.7 จานวนเงินรายได้จากการให้บริการ วิชาการหลังหักค่าใช้จ่าย 2,664,654.00 7.5 สัดส่วนเงินสะสมต่องบประจารายปี (งบบุคลากรและงบดาเนินงาน) ร้อยละ 12.58 13.10 7.5.1 งบบุคลากรและงบดาเนินงาน บาท 14,458,225 23,188,373.55 7.5.2 เงินสะสมของส่วนงาน บาท 181,869,141 176,994,379.37 7.8 จานวนรายได้จากการแปลงสินทรัพย์ 7.8.1 รายได้จากการบริหาร อสังหาริมทรัพย์ บาท 835,282 443,335.05 ยุทธศาสตร์ที่ 8 : บริหารจัดการเชิงบูรณาการ 8.1 ผลการประเมินตามเกณฑ์ประเมิน คุณภาพการศึกษาเพื่อดาเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx200) คะแนน 0 ผลคะแนนยังไม่ ประกาศ 8.2 ร้อยละของการใช้จ่ายงบประมาณตาม ยุทธศาสตร์ต่องบประมาณทั้งหมดของส่วน งาน ร้อยละ 6.58 4.47 8.3 สัมฤทธิผลของการปฏิรูประบบบริหาร ทรัพยากรบุคคล 8.3.1 ร้อยละของประสิทธิภาพการบรรจุ บุคลากร ร้อยละ 0 100%
  • 21. 21 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561 ผลปี 61 (31 ธค 59- 31 พค.61) 8.3.2 ร้อยละของประสิทธิภาพการใช้อัตรา ว่าง ร้อยละ 80 100% 8.3.3 ร้อยละของการประเมินผลการ ปฏิบัติงานของบุคลากร อยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ 81 71.26% 8.3.4 ร้อยละของบุคลากรสายวิชาการและ สายปฏิบัติการที่เข้าสู่ระดับตาแหน่งที่สูงขึ้น ต่อจานวนบุคลากรของส่วนงานทั้งหมด ร้อยละ 6 1.76% 8.3.5 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับรางวัลใน ระดับต่างๆ ของส่วนงาน ร้อยละ 5 38.05% 8.3.6 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการ พัฒนาทักษะ (ความรู้ในงาน ทักษะ สมรรถนะ ฯลฯ) ร้อยละ 100 94.69% 8.3.7 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับจัดสรร ทุนเพื่อพัฒนาความรู้ ทักษะ สมรรถนะ ร้อยละ 100 100% 8.3.8 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการ พัฒนาตามสมรรถนะที่เหมาะสม (IDP) ร้อยละ 100 94.69% 8.4 ร้อยละความผูกพันของบุคลากรต่อ มหาวิทยาลัย 8.4.1 ร้อยละความผูกพันของบุคลากรที่มี ต่อองค์กรที่อยู่ในระดับสูง ร้อยละ 75 N/A 8.4.2 ร้อยละความสุขของบุคลากรที่มีต่อ องค์กรที่อยู่ในระดับสูง ร้อยละ 75 N/A 8.7 ระดับความสาเร็จในการจัดการความรู้ ในส่วนงาน (KM) ระดับ 4 4
  • 22. 22 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561 ผลปี 61 (31 ธค 59- 31 พค.61) 8.8 ระดับการรับรู้ภาพลักษณ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ของนักศึกษาและ บุคลากรภายในส่วนงาน ระดับ 4 N/A 8.9 ระดับการรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่สาคัญ ของบุคลากรและนักศึกษาภายในส่วนงาน ระดับ 4 3 8.10 การดาเนินการที่เกี่ยวข้องกับองค์กร คุณธรรมและความโปร่งใส (ITA) ระดับคะแนน 100 100 ตัวชี้วัดเพิ่มเติมตาม Commit สภาฯ 9.1 ผลงานทางวิชาการทุกประเภท ทั้งหมด สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐาน AACSB และสอดคล้องตามการสร้างคุณค่า แห่งพันธกิจของคณะ ร้อยละ 100 100 9.2 มีการติดตามและวัดผลการใช้ งบประมาณที่สอดคล้องกับพันธกิจของ คณะในทุกกิจกรรม ร้อยละ 53 100 9.3 มี curriculum mapping ของทุก หลักสูตร ร้อยละ 100 100.00 9.4 กระบวนการวัดผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ (Assurance of Learning : AOL) เป็นไป ตามมาตรฐาน AACSB ภายในทุกสิ้นปี การศึกษา ร้อยละ 100 100.00 9.5 มีการนาผลการประเมินจากระบบ AOL มาปรับปรุงทุกกระบวนวิชา ทุกปี การศึกษา และนาไปสู่การปรับปรุง หลักสูตร ร้อยละ 100 100.00
  • 23. 23 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561 ผลปี 61 (31 ธค 59- 31 พค.61) 9.6 สัดส่วนจานวนวิชาที่มีการนา Action learning รูปแบบใดรูปแบบหนึ่งไปใช้ในทุก หลักสูตร ร้อยละ 100 100.00 9.7 Diversity ของการรับนักศึกษาเข้าตาม มิติของการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา วัด จากความหลากหลายของพื้นฐานทาง ครอบครัวของนักศึกษา ร้อยละ 10 กาลังประมวลผล 9.8 Diversity ของการรับนักศึกษาเข้าตาม มิติของ นักศึกษาจากนอกภูมิภาค 17 จังหวัดภาคเหนือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 30.53 9.9 สัดส่วนนักศึกษาที่สนใจ Entrepreneurship เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 9.74 9.10 หลักสูตร MBA มีสัดส่วนของ นักศึกษาสายวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 -8.89 9.11 อัตราการสาเร็จการศึกษาตาม หลักสูตรของนักศึกษาปริญญาโทเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 7 ลดลง7.59 % 9.12 ค่าคะแนน Personal Skill Self- evaluationของนักศึกษาโดยเฉลี่ยไม่ต่า กว่าเป้าหมายในทุกมิติ คะแนน 4.50 กาลังปรับปรุง แบบสอบถาม 9.13 สัดส่วนระหว่างนักศึกษาและศิษย์เก่า ที่เข้าร่วมโครงการ Alumni-Students Mentor Program เป็นไปตามเป้าหมาย สัดส่วน 60 จัดกิจกรรม 1 ครั้ง มีศิษย์เก่า ผู้บริหารสมาคมฯ เข้าร่วมกิจกรรม 6 ท่าน 9.14 ค่าความพึงพอใจของ Recruiter ให้ Rating กับบัณฑิตของคณะในทุกมิติไม่ต่า อันดับ 4 4.21 มาก
  • 24. 24 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561 ผลปี 61 (31 ธค 59- 31 พค.61) กว่าอันดับ3 ของมหาวิทยาลัยชั้นนาใน ประเทศไทย 9.15 ค่าความพอใจของ Recruiters ต่อ ประโยชน์ที่ได้จากการมาร่วมงาน VOI Dinner คะแนน 4.50 กาลังเตรียมการ จัดงาน 9.16 ร้อยละของกิจกรรมพัฒนาอาชีพ สาหรับนักศึกษา ป.ตรีและป.โทต่อจานวน กิจกรรมพัฒนาทั้งหมด ร้อยละ 38.80 ร้อยละ 48.88 9.17 ผลการประเมินความพึงพอใจ ประเมินปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน คะแนน 10 กาลังปรับปรุง แบบสอบถาม 9.18 ผลการสารวจผู้เข้าร่วมงาน Sustainability Day แสดงให้เห็นว่ามี ความเข้าใจ เห็นด้วยและชื่นชมในพันธกิจ เพื่อสังคมของคณะ คะแนน 4.37 4.37 มาก 9.19 อัตราส่วน ระหว่าง อาจารย์ประจา ต่อ อาจารย์เสริม ร้อยละ 75 N/A 9.20 อาจารย์วุฒิ ป.โทที่เป็น SP ร้อยละ 0 0.00 9.21 อาจารย์วุฒิ ป.เอก เป็น SA ร้อยละ 60 28.00 9.22 ผลงานการตีพิมพ์เป็นทีม ร้อยละ 80 94.29 9.23 อาจารย์สามารถเข้าสู่ตาแหน่ง วิชาการตามข้อกาหนดของมหาวิทยาลัย ร้อยละ 85 16.67 9.24 ยอดขอรับเงินรางวัลจากผลการ ตีพิมพ์ไม่ต่ากว่าปีละ บาท 2,000,000 1,020,000 9.25 ผลจากการพัฒนาอาจารย์ด้านทักษะ การสอนแบบ Interactive Learning ถูก ร้อยละ 100 100.00
  • 25. 25 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561 ผลปี 61 (31 ธค 59- 31 พค.61) นาไปใช้ภายใน 1 ภาคการศึกษาหลังการ อบรม 9.26 ค่าเฉลี่ยจากการประเมินความเห็น ของอาจารย์ ด้วยคาถาม "ท่านได้การ พัฒนาศักยภาพให้สามารถช่วยคณะบรรลุ พันธกิจได้" ร้อยละ 100 N/A 9.27 ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ต่อการ จัดการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน ในระดับคณะและ หลักสูตร คะแนน 5 N/A 9.28 อัตราส่วนจานวน Professional ต่อ Non professional ร้อยละ 80 50.82 9.29 บุคลากรเข้าร่วมกิจกรรม Work Process Innovation ร้อยละ 60 100.00 9.30เกิดค่านิยมแห่งคุณธรรม และ พฤติกรรมที่พึงประสงค์เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 N/A 9.31 เปิดสอนสมาธิสาหรับผู้นาธุรกิจ (Meditation for Business Leaders) ตามหลักสูตรสุทันตสาสมาธิ (สมาธิเพื่อ พัฒนาชีวิต) ของสถาบันพลังจิตตานุภาพ โดยพระธรรมมงคลญาณ (พระอาจารย์ หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินธโร)อย่างต่อเนื่องทุก ภาคการศึกษา กระบวนวิชา 1 1 9.32 เป็นแบบอย่าง (Best Practice) ของ การจัดการเรียนการสอนจริยธรรมธุรกิจที่ สถาบันการศึกษาอื่นนาไปอ้างอิง สถาบันการศึกษา อยู่ระหว่างการ จัดทากรณีศึกษา เพื่อใช้ในการเรียน การสอน
  • 26. 26 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย 2561 ผลปี 61 (31 ธค 59- 31 พค.61) 9.33 นักศึกษามีส่วนร่วมในโครงการ social service หรือมีโครงการ social service เป็นของตัวเอง โครงการ 4 Introduction : Social Work Project จานวน นักศึกษาเข้าร่วม กิจกรรม 440 คน ผลการจัดกิจกรรม 3.83 มาก 9.34 สัดส่วนอาจารย์ที่อาสาสอนเป็น ภาษาอังกฤษมีมากขึ้น ร้อยละ 80 80.00 9.35 ได้รับการจัดสรรพื้นที่คณะเพิ่มเติม ร้อยละ 0 0 9.36 ห้องเรียนได้รับการปรับปรุงให้เข้ากับ การเปลี่ยนแปลงของกลยุทธ์การสอนแบบ Active Learning ร้อยละ 20 30.43 9.37 กระบวนการสรรหาหัวหน้าภาค และ คณบดี เป็นไปอย่างสร้างสรรค์และ เรียบร้อย ร้อยละ 100 100.00 9.38 หัวหน้าภาคและรองคณบดีที่มี ศักยภาพเป็นคณบดีได้รับการส่งเสริมให้เข้า อบรมเตรียมการการเป็นคณบดีในหลักสูตร ระดับสากล ร้อยละ 80 100.00 9.39 ทาคู่มือคณบดีเพื่อเป็น KM เล่ม 0 กาลังดาเนินการ .
  • 27. 27 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ 3. ผลการดาเนินงานตามข้อเสนอแนะของสภามหาวิทยาลัยที่ได้ให้ไว้ในช่วงการเสนอแผนการ บริหารงานของหัวหน้าส่วนงาน ข้อเสนอแนะของสภา มหาวิทยาลัย ผลการดาเนินงาน หมายเหตุ 1. การปรับโครงสร้างการ ประเมินอาจารย์ ได้มีการปรับโครงสร้างการ ประเมินอาจารย์ให้สอดคล้องกับ มาตรฐานสากล AACSB โดยได้มี การนาเข้าที่ประชุมคณะกรรมการ บริหารประจาคณะ ครั้งที่ 6/2561 วันที่ 11 เมษายน 2561 และ ครั้งที่ 12/2561 วันที่ 8 สิงหาคม 2561 โดยกาหนดให้มีใช้ ในการประเมินในรอบ ตุลาคม 2561 เอกสารแนบ 1-3 2. การประกันคุณภาพ การศึกษา คณะได้ดาเนินการประกันคุณภาพ การศึกษาระดับสากล โดยได้รับ การรับรองจาก ABEST21 ในวันที่ 9 มีนาคม 2016 และ ผ่านเกณฑ์ FACULTY QUALIFICATIONS AND ENGAGEMENT CRITERIA ของ AACSB Standards เอกสารแนบ 4 3. ควรมีการออกแบบหลักสูตร ให้นักศึกษาสามารถเรียน กระบวนวิชาข้ามคณะได้ คณะบริหารธุรกิจได้มีการ ออกแบบหลักสูตรที่ให้โอกาส นักศึกษาสามารถเรียนกระบวน วิชาข้ามคณะได้ โดยแผนในการร ปรับปรุงหลักสูตรใหม่กาหนดให้มี วิชาโท (Minor) เพื่อให้นักศึกษา เลือกเรียนในวิชาที่สนใจ ซึ่งตอบ โจทย์การเลือกทางานในอนาคตที่
  • 28. 28 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ ข้อเสนอแนะของสภา มหาวิทยาลัย ผลการดาเนินงาน หมายเหตุ ตรงตามความต้องการ และมีการ เปิดโอกาสให้นักศึกษาคณะอื่น สามารถลงทะเบียนเรียนเพื่อให้มี ความรู้พื้นฐานทางด้านธุรกิจเพิ่ม มากขึ้น โดยมีการเปิดกระบวน วิชาที่เป็นวิชาศึกษาทั่วไปของทั้ง 4 ภาควิชา ในกระบวนวิชา ดังต่อไปนี้ 1) ภาควิชาการบัญชี 701181 การบัญชีสาหรับผู้ที่ ไม่ใช่นักบัญชี (Accounting for Non Accountants) 2) ภาควิชา การเงินและการธนาคาร 702101 การเงินในชีวิตประจาวัน (Finance for Daily Life) 3) ภาควิชาการจัดการ 703103 การเป็นผู้ประกอบการและธุรกิจ เบื้องต้น (Introduction to Entrepreneurship and Business) และภาควิชาการตลาด 705191 ผู้บริโภคที่ชาญฉลาด (Smart Consumer) เพื่อ ตอบสนองความต้องการให้กับทุก คณะในการพัฒนาความรู้ทางด้าน บริหารธุรกิจเพิ่มเติมจากหลักสูตร ของคณะนั้น ๆ 4. ควรนา Learning Platforms รวมกับ Competency Based Learning จะก่อให้เกิด ในปีการศึกษา 2561 คณะ บริหารธุรกิจ ได้กาหนดให้ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ทุกคน ต้อง ลงทะเบียนกระบวนวิชา Social Project ซึ่งเป็นกระบวนวิชาที่มี
  • 29. 29 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ ข้อเสนอแนะของสภา มหาวิทยาลัย ผลการดาเนินงาน หมายเหตุ หลักสูตรการเรียนการสอน เฉพาะบุคคล การแบ่งกลุ่มและเลือกศึกษา ปัญหาผ่านชุมชนที่สนใจ และ แก้ปัญหาให้กับชุมชน โดยนา ความรู้ทางด้านบริหารธุรกิจไป ร่วมแก้ปัญหา และสาหรับ นักศึกษาในชั้นปีที่ 2–4 ทั้ง 4 ภาควิชาได้มีการเปิดสอนกระบวน วิชาที่จัดการเรียนการสอนแบบ Action Learning โดยมีรูปแบบ การเรียนการสอนที่ให้นักศึกษา เลือกปัญหาที่สนใจไปเป็นโจทย์ใน การแก้ปัญหา ทาให้เกิดการเรียนรู้ และประสบการณ์ที่ได้รับที่ แตกต่างกันตามแนวคิด Competency Based Learning
  • 30. 30 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ 5. ปัญหาและอุปสรรคที่พบจากการบริหารงานที่ผ่านมา ด้านจานวนนักศึกษาต่างชาติ เนื่องจากคณะบริหารธุรกิจ ยังไม่มีการเปิดสอนในหลักสูตรนานาชาติ จึงทาให้มีจานวนนักศึกษา ต่างชาติที่ลงทะเบียนเรียนในหลักสูตรน้อย แต่ คณะได้รับอนุมัติให้เปิดการเรียนการสอนในหลักสูตร 3 ภาษา ธุรกิจบริการ ในปีการศึกษา 2562 ด้านวิจัย งบประมาณวิจัยที่ได้รับจากแหล่งทุนภายนอกยังมีไม่มาก และงานวิจัยสายสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์ยังไม่ค่อยได้รับการสนับสนุนมากเทียบเท่ากับสายวิทยาศาสตร์ซึ่งมีแหล่งทุนมากกว่า สาหรับด้านผลงานทางวิชาการยังมีตัวชี้วัดในด้านคุณภาพของผลงานไม่ชัดเจนเมื่อเทียบเท่ากับทาง สายวิทยาศาสตร์ และ คณะได้จัดหาทุนจากงบประมาณเงินรายได้ ให้คณาจารย์อย่างเพียงพอ ด้านการบริการวิชาการ ผ่านศูนย์นวัตกรรมการจัดการ 1. องค์กรส่วนใหญ่มีความต้องการจัดอบรม ในหัวข้อที่เฉพาะเจาะจงและทันสมัย บางหัวข้อทาให้ ศูนนย์ต้องการพึ่งพาวิทยากรจากภายนอกซึ่ง อาจมีความเสี่ยงที่จะเสียลูกค้าในการอบรมในอนาคต รวมถึงเสียโอกาสในการพัฒนาบุคลากรภายใน 2. ด้านการพัฒนาบุคลากรของคณะบริหารธุรกิจ ศูนย์ได้ประชาสัมพันธ์ โครงการและสนับสนุนคณาจารย์ให้เข้าร่วมการฟังบรรยายและ ติดตามวิทยากรที่มีประสบการณ์ ในหัวข้อที่เชี่ยวชาญและความสนใจ แต่ยังไม่มี่คณาจารย์ที่สะดวก เข้าร่วมกิจกรรมได้เนื่องด้วยโครงการอบรมส่วนใหญ่มักจะจัดตรงกับช่วงเวลาที่มีการเรียนการสอน
  • 31. 31 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ 6. สิ่งที่ส่วนงานต้องการให้มหาวิทยาลัยและสภามหาวิทยาลัยช่วยเหลือและสนับสนุนการ ดาเนินงานของส่วนงาน ด้านจานวนนักศึกษาต่างชาติ การดาเนินการที่ผ่านมาเรื่องการจัดการนักศึกษาต่างชาติ ตั้งแต่เริ่มกระบวนการรับเข้า ลงทะเบียน และการจัดการด้านจ่างๆ ยังไม่มีระบบการบริหารจัดการด้านนักศึกษาต่างชาติรองรับอย่างเป็นระบบ แม้กระทั่งยังไม่มีหน่วยงานส่วนกลางที่เป็นศูนย์กลางในการเก็บรวบรวมข้อมูลนักศึกษาต่างชาติ เนื่องจากจานวนนักศึกษาต่างชาติเป็นตัวชี้วัดในด้านความเป็นนานาชาติของมหาวิทยาลัย เช่น Qs ranking ซึ่งมีการสารวจจานวนมายังแต่ละคณะ / ส่วนงาน ในทุกปีๆ หากมีระบบบริหารจัดการ นักศึกษาต่างชาตินี้ นอกจากจะทาให้การดูแลและบริหารจัดการนักศึกษาต่างชาติได้อย่างมี ประสิทธิภาพแล้ว ยังทาให้มีข้อมูลจานวนของนักศึกษาต่างชาติของมหาวิทยาลัย ที่เป็นข้อมูลที่ ตรงกันทั้งระบบเพื่อให้ผู้บริหารสามารถนาข้อมูลสารสนเทศที่วิเคราะห์ได้จากข้อมูลรายงานในทุก ๆ ปี ไปใช้ในการตตัดสินใจและวิเคราะห์วางแผนด้านการจัดการระบบต่าง ๆ เพื่อรองรับการแลกเปลี่ยน นักศึกษาต่างชาติ และวางแผนด้านความเป็นนานาชาติให้กับมหาวิทยาลัยได้ อีกด้วย ด้านวิจัย 1. มหาวิทยาลัยควรหาแนวทางในการสนับสนุนให้คณะ / ส่วนงาน มีการเชิญผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ มาเป็นที่ปรึกษาและดาเนินงานวิจัยร่วม และสนับสนุนการตีพิมพ์ผลงานวิชาการในระดับนานาชาติให้ มากขึ้น 2. มหาวิทยาลัยควรกาหนดแนวปฏิบัติและวิธีการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุเพื่อการวิจัยและ พัฒนาหรือการให้บริการทางวิชาการให้ชัดเจน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความคล่องตัวในการ ผลิตผลงานทางวิชาการของคณาจารย์และบุคลาการของมหาวิทยาลัยภายใต้พรบ.จัดซื้อจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
  • 32. 32 | P a g eค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ ด้านการบริการวิชาการ ผ่านศูนย์นวัตกรรมการจัดการ 1. สนันสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับวิทยากรระดับประเทศ หรือต่างประเทศ เพื่อนาความรู้และ ประสบการณ์มาพัฒนาการจัดฝึกอบรมของศูนย์นวัตกรรมการจัดการ 2. ส่งเสริมและสนับสนุนการประชาสัมพันธ์ศูนย์นวัตกรรมการจัดการให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น