SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 84
การประยุกต์ทฤษฎีอุปสงค์และอุปทาน
เพื่อการวิเคราะห์ปัญหาเศรษฐกิจ
บทที่ 3
???????ปุจฉา??????????
หากเราเป็นผู้ขายสินค้า อยากให้มี
ยอดขายเพิ่มขึ้น เราจะทาอย่างไร?
•ขึ้นราคาสินค้า
•ลดราคาสินค้า
•อยู่เฉยๆ
•เรียนวิชา หลักเศรษฐศาสตร์
เป็นคาตอบสุดท้าย หรือเปล่า
วิสัชนา
การลดราคาสินค้านั้น แม้ว่าจะทาให้มีผู้ซื้อเพิ่ม
มากขึ้นก็ตาม แต่ยอดขายหรือรายรับรวมจะ
เพิ่มมากหรือน้อย หรือไม่เพิ่ม และอาจลดลงนั้น
ขึ้นกับสิ่งที่เรียกว่า
“ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา”
(Price Elasticity of Demand )
ความยืดหยุ่น (Elasticity)
หมายถึง การวัดการตอบสนองของตัวแปรหนึ่งต่ออีกตัว
แปรหนึ่ง ดังนั้น ความยืดหยุ่นเป็นการวัดสัดส่วนหรือเปอร์เซน
การเปลี่ยนแปลง
ในการศึกษาทฤษฎีอุปสงค์ อุปทาน และความยืดหยุ่น จาเป็นต้องทราบ
ลักษณะของสินค้าและประเภทของสินค้าและบริการที่มีความสาคัญดังนี้
ความหมายของความยืดหยุ่น
1. สินค้าที่ใช้แทนกันได้ (Substitution goods)
คือเมื่อราคาสินค้าชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้น ผู้บริโภคจะหันไปซื้อ
สินค้าอีกชนิดหนึ่งทดแทน เช่น
• ไข่เป็ด กับ ไข่ไก่
• โอวัลติน กับ ไมโล
• เนื้อหมู กับ เนื้อไก่
• ปากกา กับ ดินสอ
• ชา กับ กาแฟ
ความหมายของความยืดหยุ่น
2. สินค้าที่ใช้ประกอบกัน (Complementary goods)
คือซื้อสินค้าชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้น ต้องซื้อสินค้าอีกชนิดหนึ่งเพิ่ม
ด้วย เช่น
• รถยนต์ กับ น้ามัน
• ปากกาหมึกซึม กับ น้าหมึก
• สมุด กับ ปากกา
• รถยนต์ กับ ยางรถยนต์
ความหมายของความยืดหยุ่น
3. สินค้าปกติ(Normal goods)
คือปริมาณการซื้อและการใช้บริการจะแปรผันตรงกับรายได้
เช่น รายได้เพิ่มจะทาให้ผู้บริโภคซื้อเพิ่ม
รายได้ลด จะทาให้ผู้บิโภคซื้อลดลง
ความหมายของความยืดหยุ่น
4. สินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior goods)
คือสินค้าคุณภาพต่าในมุมมองของผู้บริโภค สินค้านี้จะ
แปรผกผันกับรายได้ผู้บริโภค ผู้บริโภคจะซื้อน้อยลงเมื่อรายได้
เพิ่มขึ้น เช่น บะหมี่กึ่งสาเร็จรูป ผ้าโหล สินค้ามือสอง สินค้า
เกรดต่า เป็นต้น
ความหมายของความยืดหยุ่น
1. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand )
2. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income Elasticity of Demand)
3. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบไขว้ ( Cross Elasticity of Demand ) หรือ
อุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น
4. ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Price Elasticity of Supply )
ประเภทของความยืดหยุ่น
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
ความหมาย อัตราส่วนร้อยละการเปลี่ยนแปลง
ต่อ ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของ
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
1.1 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาแบบจุด
เป็นการวัดความยืดหยุ่นของอุปสงค์ ณ จุดๆหนึ่ง นิยมใช้ในกรณีที่
ราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยจนแทบจะสังเกตุไม่เห็น
P
Q
Ed



%
%
100
100





K
K
K
K
d
P
P
Q
Q
E 1
1
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
1.1 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาแบบจุด
1
1
QP
PQ
Ed



Q = ส่วนเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อ หรือ Q2-Q1
P = ส่วนเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า หรือ P2-P1
Q1 = ปริมาณซื้อก่อนการเปลี่ยนแปลง
P1 = ราคาสินค้าก่อนการเปลี่ยนแปลง
112
112
)(
)(
QPP
PQQ
Ed



ปริมาณ
ราคา
R
T
M
B
P
O
หาความยืดหยุ่นที่จุด B
แบบฝึกหัด
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
1.2 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาแบบช่วง
เป็นการวัดความยืดหยุ่นของอุปในช่วงใดช่วงหนึ่ง หรือจุดสองจุด นิยม
ใช้ในกรณีที่ราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงแบบสังเกตุเห็นได้ชัดเจน
P
Q
Ed



%
%
•การคานวณใช้จุดบนเส้นอุปสงค์เพียง 2 จุด จากสูตร
12
12
12
12
PP
PP
QQ
QQ
Ed






12
12
12
12
QQ
PP
PP
QQ
Ed






1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
1.2 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาแบบช่วง
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
Q1 = ปริมาณซื้อก่อนการเปลี่ยนแปลง
Q2 = ปริมาณซื้อหลังการเปลี่ยนแปลง
P1 = ราคาสินค้าก่อนการเปลี่ยนแปลง
P2 = ราคาสินค้าหลังการเปลี่ยนแปลง
12
12
12
12
QQ
PP
PP
QQ
Ed






ปริมาณ
ราคา
7.6
6040 503020
6.2
3.8
2.3
A
B
C
D
ตัวอย่าง
การคานวณความยืดหยุ่น ณ ช่วง AB
67 .PA  26 .PB 
20AQ 30BQ
97.1
)3020(
)2.66.7(
)2.66.7(
)3020(






dE
ความหมาย
หากราคาลดลงไป 1% จะทาให้ปริมาณเพิ่มขึ้น1.97%
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
การคานวณความยืดหยุ่น ณ ช่วง CD
83 .PC  32 .PD 
50CQ 60DQ
37.0
)6050(
)3.28.3(
)3.28.3(
)6050(






dE
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
ความหมาย
หากราคาลดลงไป 1% จะทาให้ปริมาณ เพิ่มขึ้น 0.37%
ข้อที่น่าสังเกต
การคานวณจากจุด AB จะมีค่าเท่ากับจากจุด BA หรือไม่
การคานวณจากจุด CD จะมีค่าเท่ากับ จากจุดDC หรือไม่
ทาไมค่าความยืดหยุ่นของอุปสงต์ต่อราคาจึงมีค่าเป็นลบ
ค่าความยืดหยุ่นในแต่ละจุดบนเส้นอุปสงค์เดียวกันจึงมีค่า
ไม่เท่ากัน
การตีความค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
การคานวณความยืดหยุ่น ณ ช่วง BA
67 .PA  26 .PB 
20AQ 30BQ
97.1
2030
6.72.6
6.72.6
2030






dE
จากการคานวณ
จากจุด B มายัง A มีค่าเท่ากับการคานวณจากจุด A มายัง B
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
การคานวณความยืดหยุ่น ณ ช่วง CD
83 .PC  32 .PD 
50CQ 60DQ
37.0
5060
8.33.2
8.33.2
5060






dE
จากการคานวณ
จากจุด C มายัง D มีค่าเท่ากับการคานวณจากจุด D มายัง C
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
ทาไมค่าความยืดหยุ่นของอุปสงต์ต่อราคาจึงมีค่าเป็นลบ
ตามกฎของอุปสงค์
ปริมาณของสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ
ย่อมแปรผกผัน กับระดับราคาของสินค้าและบริการชนิดนั้นดังนั้น การที่
ราคาลดลงปริมาณสินค้าก็จะเพิ่มขึ้นเครื่องหมายจึงมีค่าเป็นลบเสมอ
•เครื่องหมายเป็นการบอกถึงทิศทางเท่านั้น เวลาพิจารณาจะดูแค่ค่า
สัมบูรณ์ของมันเท่านั้น ว่ามากน้อยเพียงใด
•ถ้าค่ามาก เรียกว่า มีความยืดหยุ่นสูง
•ถ้าค่าน้อย เรียกว่า มีความยืดหยุ่นต่า
•เป็นผลมาจากการที่ความต้องการซื้อสินค้าชนิดนั้นๆมีการเปลี่ยนแปลง
ต่อราคาในระดับต่างๆไม่เท่ากัน
•เช่น พิจารณาหากปริมาณความต้องการซื้อรถ หากในช่วงราคา 1 ล้าน
และเพิ่มขึ้น เป็น 1 ล้าน 1 แสน การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อก็จะไม่
เท่ากับ ปริมาณความต้องการซื้อเมื่อราคามีการเปลี่ยนแปลงจาก 1 แสน
เป็น 2 แสน แม้ว่าจะเป็นรถชนิดเดียวกัน และมีค่าเพิ่มขี้น 1 แสนบาท
เท่าๆกัน
ค่าความยืดหยุ่นในแต่ละจุดบนเส้นอุปสงค์เดียวกันจึง
มีค่าไม่เท่ากัน
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
ลักษณะของเส้นอุปสงค์และความยืดหยุ่น
1. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นมากกว่าหนึ่ง
2. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นน้อยกว่าหนึ่ง
3. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับหนึ่ง
4. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์
5. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นอสงไขย
1. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นมากกว่าหนึ่ง
l Ed l >1
ปริมาณอุปสงค์
ราคา
A
B
D
P1
P2
D’
Q1 Q2
•ร้อยละของการเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อมากกว่าร้อยละการเปลี่ยนแปลง
ปริมาณราคา
•ส่วนใหญ่เป็นสินค้าประเภทสินค้าฟุ่มเฟือย เช่น เครื่องประดับ สุรา
ต่างประเทศ เครื่องสาอางและรถราคาแพง
1. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นมากกว่าหนึ่ง
l Ed l >1
ปริมาณอุปสงค์
ราคา
A
B
D
P1
P2
D’
Q1 Q2
2. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นน้อยกว่าหนึ่ง
0 < l Ed l <1
•ความยืดหยุ่นมีค่ามากกว่าศูนย์ แต่น้อยกว่า 1 แต่มากกว่า 0
•ส่วนใหญ่เป็นสินค้าประเภทที่มีความจาเป็น หายาก เช่น ยารักษาโรค
2. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นน้อยกว่าหนึ่ง
0 < l Ed l <1
ปริมาณอุปสงค์
ราคา
A
B
D
P1
P2
Q1 Q2
A3
3. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับหนึ่ง
l Ed l =1
•ร้อยละการเปลี่ยนแปลงราคาเท่ากับร้อยละการเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ
•สามารถเป็นสินค้าได้ทุกประเภท ไม่ได้ระบุว่าเป็นสินค้าประเภทใด
•รายจ่ายรวมของผู้บริโภคเท่าเดิม ไม่ว่าราคาจะลดลงหรือสูงขึ้น
3. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับหนึ่ง
l Ed l =1
ปริมาณอุปสงค์
ราคา
A
B
D
P1
P2
4. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์
l Ed l =0
•เส้นอุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากันตลอดทั้งเส้น
•ปริมาณซื้อจะไม่เปลี่ยนเมื่อราคาเปลี่ยนแปลงไป
•ส่วนใหญ่เป็นสินค้าที่มีความจาเป็นมาก เช่น โลงศพ ไม่ว่าราคา
จะถูกหรือแพง ผู้ซื้อก็จะซื้อแค่ 1 โลงเท่านั้น
4. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์
l Ed l =0
ปริมาณอุปสงค์
ราคา
D
5. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นอย่างสมบูรณ์
l Ed l = infinity
• เส้นอุปสงค์มีค่าเท่ากันตลอดทั้งเส้นเป็นค่าอสงไขย ( Infinity )
และเส้นอุปสงค์ขนานแกนนอน
• ถ้าแม้ว่าผู้ผลิตขึ้นราคาแม้แต่เล็กน้อย ปริมาณซื้อจะลดลงเหลือ
ศูนย์หรือใกล้ศูนย์
• ผู้ผลิตไม่สามารถตั้งราคาให้สูงกว่าราคาตลาด
• สินค้าประเภทนี้เช่น สินค้าเกษตร สินค้าที่ราคาเป็นไปตามกลไก
ตลาดอย่างสมบูรณ์
5. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นอย่างสมบูรณ์
l Ed l = infinity
ปัจจัยที่กาหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์
 สินค้าอื่นที่ใช้ทดแทน
 ความคงทนของสินค้า
 ราคาที่เป็นธรรมชาติของสินค้านั้นๆ
 ความจาเป็นต่อผู้บริโภคเฉพาะราย
1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
Y
Q
Ei



%
%
2.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
100
100





K
K
K
K
i
Y
Y
Q
Q
E
1
1
เป็นการวัดการตอบสนองของปริมาณซื้อกับรายได้ของผู้บริโภค
ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบคือ
2.1 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้แบบจุด
2.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
2.1 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้แบบจุด
1
1
QY
YQ
Ei



Q = ส่วนเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อ หรือ Q2-Q1
Y = ส่วนเปลี่ยนแปลงของรายได้ หรือ Y2-Y1
Q1 = ปริมาณซื้อก่อนการเปลี่ยนแปลง
Y1 = รายได้ก่อนการเปลี่ยนแปลง
ผู้บริโภคมีรายได้ (Y1)เดือนละ 5000 บาท เขาจะซื้อนมเดือน
ละ 3 ขวด (Q1) ต่อมารายได้เขาเป็นเดือนละ 6000 บาท (Y2) เขา
จะซื้อนมเพพิ่มขึ้นเป็นเดือนละ 4 ขวด (Q2)
จงหาความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
ก. ณ ช่วงรายได้ 5000 บาท Q
Y
Y
Q
Ei 



3
5
3
5000
50006000
34



iE
ถ้ารายได้เพิ่มขึ้น 1% ทาให้ปริมาณการซื้อนมเพิ่ม 1.67%
แบบฝึกหัด
2.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
2.2 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้แบบช่วง
Y
Q
Ei



%
%
•การคานวณใช้จุดบนเส้นอุปสงค์เพียง 2 จุด จากสูตร
12
12
12
12
YY
YY
QQ
QQ
Ed






12
12
12
12
QQ
YY
YY
QQ
Ei






1.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
2.2 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้แบบช่วง
2.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
Q1 = ปริมาณซื้อก่อนการเปลี่ยนแปลง
Q2 = ปริมาณซื้อหลังการเปลี่ยนแปลง
Y1 = รายได้ก่อนการเปลี่ยนแปลง
Y2 = รายได้หลังการเปลี่ยนแปลง
12
12
12
12
QQ
YY
YY
QQ
Ei






ผู้บริโภคมีรายได้ (Y1)เดือนละ 5000 บาท เขาจะซื้อนมเดือนละ 3
ขวด (Q1) ต่อมารายได้เขาเป็นเดือนละ 6000 บาท (Y2) เขาจะซื้อนม
เพิ่มขึ้นเป็นเดือนละ 4 ขวด (Q2) จงหาความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
แบบฝึกหัด
ก. ณ ช่วงรายได้ 5000 บาท และ 6000 บาท
21
12
12
21
QQ
YY
YY
QQ
Ei






7
11
34
50006000
50006000
34






iE
ในช่วงรายได้ดังกล่าว ถ้ารายได้เพิ่มขึ้น 1% จะทาให้ปริมาณความ
ต้องการซื้อเพิ่มขึ้น 1.57%
แบบฝึกหัด
 โดยทั่วไปค่าความยืดหยุ่นมีค่าเป็นบวก นั่นคือ การ
เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกัน คือ หากรายได้เพิ่มเขาก็จะ
ซื้อเพิ่ม ซึ่งเป็นลักษณะของสินค้าสามัญ ( Normal Goods )
 แต่หากมีค่าเป็นลบ แสดงว่าสินค้านั้นอาจเป็นสินค้าด้อย
คุณภาพ ( Inferior Goods )
2.ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้
ข้อสังเกตุ
3.ความยืดหยุ่นของสินค้าชนิดอื่นที่เกี่ยวข้อง
อัตราส่วนระหว่าง เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณความต้องการสินค้า ต่อ
เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง ( เป็นสินค้าคนละชนิด )
แบ่งออกเป็น 2 แบบคือ
3.1 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อสินค้าอื่นแบบช่วง
xy
yx
c
QP
PQ
E



Qx = ส่วนเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อ หรือ Q2-Q1
Py = ส่วนเปลี่ยนแปลงราคาสินค้า หรือ P2-P1
Q1 = ปริมาณซื้อก่อนการเปลี่ยนแปลง
P1 = ราคาสินค้าก่อนการเปลี่ยนแปลง
ความยืดหยุ่นไขว้แบบช่วง
12
12
12
12
XY
XX
YY
YY
XX
QQ
PP
PP
QQ
E






ความยืดหยุ่นไขว้แบบจุด
X
Y
YY
XX
Q
P
PP
QQ
E 



12
12
XY
ตัวอย่าง
ในตลาด เนื้อวัวราคากิโลกรัมละ 60 บาท ปริมาณความ
ต้องการซื้อเนื้อหมูเท่ากับ 200 กิโลกรัม ต่อมาราคาเนื้อวัวสูงขึ้น
เป็น 70 บาทต่อกิโลกรัม ความต้องการเนื้อหมูเพิ่มเป็น 250
กิโลกรัม จงหาความยืดหยุ่นของอุปสงค์เนื้อหมูต่อราคาเนื้อวัว
ในช่วงราคากิโลกรัมละ 60 ถึง 70 บาท
21
21
XY
XX
YY
Y
X
QQ
PP
P
Q
E






44.1
200250
6070
6070
200250
XY 





E
การตีความ
 ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์เนื้อหมูต่อราคาเนื้อวัวมีค่าเท่ากับ
1.44 แสดงว่า ปริมาณความต้องการซื้อเนื้อหมูจะเพิ่มขึ้นเมื่อราคา
เนื้อวัวสูงขึ้น ( มันเป็นสินค้าที่ใช้ทดแทนกัน )
 ค่า 1.44 หมายความว่าถ้าราคาเนื้อวัวสูงขึ้น ( ลดลง ) 1% จะ
ทาให้ปริมาณความต้องการเนื้อหมูสุงขึ้น ( ลดลง ) 1.44%
 ถ้าค่าความยืดหยุ่นเป็นลบ แสดงว่า มันเป็นสินค้าที่ใช้
ประกอบกัน
ความหมาย
อัตราส่วนร้อยละการเปลี่ยนแปลงปริมาณขาย
ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า
P%
Q%
Es



4.ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Es)
การคานวณความยืดหยุ่นแบบจุด
2
1
12
12
Q
P
PP
QQ
ES 



12
12
12
12
QQ
PP
PP
QQ
ES






การคานวณความยืดหยุ่นแบบช่วง
4.ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Es)
จงคานวนค่าความยืดหยุ่นของอุปทาน จากจุด A ไปยังจุด B
แบบฝึกหัด
ปริมาณผลผลิต
ราคา
A
B
S
80
40
200 500
แบบฝึกหัด
ถ้าราคาลดลง 1% จะทาให้ปริมาณความต้องการขาย
ลดลง 1.29%
12
12
12
12
QQ
PP
PP
QQ
ES






500200
8040
8040
500200





SE
29.1
700
120
40
300



SE
4.ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา
ลักษณะของเส้นอุปทานและความยืดหยุ่น
1. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นมากกว่าหนึ่ง
2. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นน้อยกว่าหนึ่ง
3. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับหนึ่ง
4. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์
5. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นอสงไขย
การตีความในเรื่องของ ค่าความยืดหยุ่น
• ค่าความยืดหยุ่นนั้นมีค่าติดบวกนั้น มีความหมายถึง
การที่ราคาเปลี่ยนแปลงไปแล้ว ปริมาณขายจะเปลี่ยนไป
ในทิศเดียวกัน
• ค่าความยืดหยุ่นจะมีค่าตั้งแต่ 0 ไปถึง infinity
• ถ้าเป็น 0 เรียก ไม่มีความยืดหยุ่น
• ถ้าเป็น 0 - 1 เรียกว่า ยืดหยุ่นต่า
• ถ้าเป็น 1 ขึ้นไป เรียกว่า ยืดหยุ่นสูง
• ความยืดหยุ่นขึ้นกับระยะตัดแกน
1. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นมากกว่าหนึ่ง
Es >1
ปริมาณผลผลิต
ราคา
A
B
S
P1
P2
Q1Q2
• ถ้าราคาเปลี่ยนแปลงไป 1% ทาให้ปริมาณเสนอขายเปลี่ยนแปลง
มากกว่า 1 %
•ส่วนใหญ่เป็นสินค้าประเภทสินค้าประเภท สินค้าอุตสาหกรรม
1. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นมากกว่าหนึ่ง
l Ed l >1
2. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นน้อยกว่าหนึ่ง
0 < Es < 1
ปริมาณผลผลิต
ราคา
A
B
S
P1
P2
Q1
Q2
• ถ้าราคาเปลี่ยนแปลงไป 1% ทาให้ปริมาณเสนอขายเปลี่ยนแปลง
น้อยกว่า 1 %
•ส่วนใหญ่เป็นสินค้าประเภทสินค้าประเภท สินค้าเกษตร
2. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นน้อยหนึ่ง
0 < Es < 1
3. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับหนึ่ง
Es =1
ปริมาณผลผลิต
ราคา
A
B
S
P1
P2
Q1Q2
•ร้อยละการเปลี่ยนแปลงราคาเท่ากับร้อยละการเปลี่ยนแปลงปริมาณ
ขาย
•สามารถเป็นสินค้าได้ทุกประเภท ไม่ได้ระบุว่าเป็นสินค้าประเภทใด
•เส้นอุปทานจะเริ่มต้นจากจุดกาเนิด
3. อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับหนึ่ง
Es =1
ปริมาณผลิต
ราคา
A
B
s
P1
P2
4. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์
Es =0
Q1
•ปริมาณเสนอขายไม่เปลี่ยนแปลง ณ ราคาใดๆ
•ส่วนใหญ่เป็นสินค้าที่มีจานวนจากัดในโลก เช่น วัตถุโบราณ
ต่างๆ สินค้าที่ผลิตมาในจานวนจากัด หายากมากๆ
4. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์
Es =0
ปริมาณผลิต
ราคา
D
5. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นอย่างสมบูรณ์
Es = infinity
Q1
Q2
• เส้นอุปทานมีค่าเท่ากันตลอดทั้งเส้นเป็นค่าอสงไขย ( Infinity )
• ณ ระดับราคานั้น ๆ ผู้ผลิตยินดีเสนอขายอย่างไม่จากัด
• ผู้ผลิตไม่สามารถตั้งราคาให้สูงกว่าราคาตลาด
• สินค้าประเภทนี้เช่น สินค้าเกษตร สินค้าที่ราคาเป็นไปตามกลไก
ตลาดอย่างสมบูรณ์
5. อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นอย่างสมบูรณ์
Es = infinity
สรุป ความยืดหยุ่นของอุปทาน
• ตีความ ความยืดหยุ่นของอุปทานมีค่าเท่ากับ 0.6 คือ
ถ้าราคาสินค้าเพิ่มขึ้น ( ลดลง ) 1% จะทาให้ปริมาณความ
ต้องการขายสินค้านั้นเพิ่มขึ้น ( ลดลง ) 0.6%
• ค่าความยืดหยุ่นที่เป็นบวกแสดงว่ามีการเปลี่ยนแปลง
ไปในทิศทางเดียวกัน
• การวัดความยืดหยุ่นพิจารณาจากระยะตัดแกนเป็น
สาคัญ
ปริมาณผลผลิต
ราคา
O
ES > 1
ES = 1
ES < 1
ปัจจัยที่กาหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปทาน
 ระยะเวลา
 ความเปนไปได้ของการผลิต
 ความเป็นไปได้ของการรักษาผลผลิต
 ต้นทุนการผลิต
4.ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Es)
การประยุกต์ความยืดหยุ่น
เพื่อการวิเคราะห์ปัญหาทาง
เศรษฐกิจ
ประโยชน์ของความยืดหยุ่น
1. วิเคราะห์ปัญหาการเก็บภาษีและภาระภาษี
2. วิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาการค้าระหว่างประเทศ
3. การกาหนดราคาขั้นสูง
4. การประกันราคาขั้นต่า
5. พิจารณาค่าจ้างขั้นต่า
6. การกาหนดราคาสาธารณูปโภค
7. การให้เงินอุดหนุน
ตัวอย่าง การแทรกแซงราคาโดยรัฐ
•การประกันราคาขั้นต่า ( Price Support )
นิยมใช้กับสินค้าทางการเกษตร เป็นการช่วยเหลือเกษตรกร สินค้ามีความ
ยืดหยุ่นต่ออุปสงค์ต่า อุปทานควบคุมได้ยากขึ้นกับฟ้าดิน
1. การประกันราคาขั้นต่าโดยรับซื้ออุปทานส่วนเกิน
2. การประกันราคาขั้นต่าโดยรัฐบาลจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่
เกษตรกร
•การกาหนดราคาขั้นสูง ( Price Ceiling )
การกาหนดราคาขั้นสูง ( Price Ceiling )
•ใช้เมื่อสินค้าและบริการมีการขาดแคลนอย่างหนัก
•ราคาสินค้าจะมีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น ในช่วง
สงคราม
•รัฐบาลอาจใช้กระบวนการปันส่วนคูปองเพื่อกาหนดสิทธิ
•อาจเกิดตลาดมืด ( Black Market )
D
S
E
ปริมาณ
PE
ราคา
A B
Pขั้นสูง
QE QBQA
อุปสงค์ส่วนเกิน
( Excess Demand )
อุปสงค์ QD = 30-5P
อุปทาน Qs = 16+2P
ตัวอย่างการกาหนดราคาขั้นสูง
ของสมการอุปสงค์และอุปทานถ้ารัฐบาลเข้ามากาหนดราคาสินค้า 1 บาท/หน่วย ราคา
นี้เรียกว่าราคาอะไร และจะมีผลอย่างไรต่ออุสงค์
อุปทาน และควรมีวิธีแก้ไขอย่างไร
อุปสงค์ QD = 30-5P
อุปทาน Qs = 16+2P
ตัวอย่างการกาหนดราคาขั้นสูง
ของสมการอุปสงค์และอุปทาน
การประกันราคาขั้นต่า ( Price Support )
การประกันราคาขั้นต่าโดยรับซื้ออุปทานส่วนเกิน
การประกันราคาขั้นต่า คือ การที่รัฐบาลประกาศราคาประกัน ( ไม่ใช่
ปริมาณประกัน ) และบังคับให้ผู้ซื้อทุกรายซื้อสินค้าในราคาประกัน
มิฉะนั้น จะมีความผิดทางกฎหมาย และหากเกษตรกรไม่สามารถขาย
ผลผลิตกับพ่อค้าในราคาประกันได้ รัฐซื้อโดยไม่จากัดจานวน
1. แสดงว่า ราคาประกัน ต้องสูงกว่าราคาดุลยภาพในขณะนั้น
2. พ่อค้าอาจไม่ซื้อในราคาประกันก็ได้ โดยให้เหตุผลในเรื่องของ
ปริมาณความต้องการ
D
S
E
ปริมาณ
PE
ราคา
A B
Pประกัน
QE QBQA
อุปทานส่วนเกิน ( Excess Supply )
QA
พ่อค้า
จ่าย
D
S
A B
E
ปริมาณ
ราคา
Pประกัน
QB
รัฐบาล
จ่าย
เกษตรกรได้รับ
D
S
A B
E
ปริมาณ
ราคา
Pประกัน
QBQA
เกษตรกรได้รับ
พ่อค้า
จ่าย
รัฐบาลจ่าย
หากความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่า
การประกันราคาขั้นต่า ( Price Support )
การประกันราคาขั้นต่าโดยรัฐบาลจ่ายเงินอุดหนุนให้เกษตรกร
•รัฐบาลปล่อยให้มีการซื้อขายตามกลไกตลาดแบบปกติ
•รัฐบาลจะจ่ายเงินชดเชยเท่ากับส่วนต่างระหว่างราคาประกัน
กับราคาตลาด
•รัฐบาลต้องมีการควบคุมในเรื่องของปริมาณ โดยต้องประกาศ
นโยบายนี้ในช่วงเวลาที่เหมาะสม ( Why ? )
อุปสงค์ QD = 120-20P
อุปทาน Qs = 10P
ตัวอย่างการกาหนดราคาขั้นต่า
ของสมการอุปสงค์และอุปทานถ้ารัฐบาลเข้ามากาหนดราคาสินค้า 5 บาท/หน่วย ราคา
นี้เรียกว่าราคาอะไร และจะมีผลอย่างไรต่ออุสงค์
อุปทาน และควรมีวิธีแก้ไขอย่างไร
อุปสงค์ QD = 30-5P
อุปทาน Qs = 16+2P
ตัวอย่างการกาหนดราคาขั้นสูง
ของสมการอุปสงค์และอุปทาน
The End

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Elasticity
ElasticityElasticity
Elasticitybnongluk
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตOrnkapat Bualom
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติOrnkapat Bualom
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคPattapong Promchai
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์Orawonya Wbac
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดtumetr1
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดOrnkapat Bualom
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copyKunlaya Kamwut
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนOrnkapat Bualom
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...VolunteerCharmSchool
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคtumetr1
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1Green Greenz
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อบทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 

Mais procurados (20)

Elasticity
ElasticityElasticity
Elasticity
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาด
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
 
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ อุปทาน และประโยชน์ของการนำความรู้ทางความยืดหยุ่นไปวิเค...
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
 
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อบทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
 

Chapter3 ความยืดหยุ่น