SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
การใช้ตัวแปร array มีรูปแบบดังนี้
ประเภทตัวแปร ชื่อตัวแปร array [ จานวนสมาชิกของ array];
เช่น
 int Score[4];
ในที่นี้มีความหมายว่า เป็นการประกาศตัวแปร array ชื่อ Score มีจานวน 4 รายการ
โดยมีรายการที่
Score[0]
Score[1]
 Score[2]
 Score[3]
 Score[0] Score[1] Score[2] Score[3]
                         รายการของ array จะเริ่มที่ 0 ไม่ได้เริ่มที่ 1 ถ้าเราประกาศตัว
                         แปร array เช่น int i[3] ก็จะมีรายการที่ 0 ถึง 2 จะไม่มี
int int int int          หมายเลข อินเด็กซ์ 3
การประกาศอาร์เรย์หลายตัวทาได้ดงนี้
                              ั
int [] abc , xyz;
abc = new int[500];
xyz = new int[10];
หรือเขียนรวมกันได้ดังนี้
int[] abc = new int [500], xyz = new int[10];

***ข้อควรระวัง
int [] a , b ; a และ b เป็น Array
int a[], b ; a เป็น Array b ไม่เป็น Array
⌂ สามารถกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับ array ได้ตั้งแต่ตอนประกาศตัวแปร
⌂ ค่าทีกาหนดต้องอยู่ในเครื่องหมาย { } และถ้ามีมากกว่า 1 ค่า
       ่
ต้องแยกจากกันด้วยเครื่องหมาย , (comma)
เช่น int a[5] = {10,20,30,40,50 } ;



         A[0]      A[1]      A[2]        A[3]      A[4]

A         10        20         30         40         50
⌂ ถ้าในตอนประกาศตัวแปรอาร์เรย์ไม่กาหนดค่าเริ่มต้นให้กับมันแล้ว
ค่าที่อยู่ในตัวแปรจะเป็นค่าที่ค้างอยู่ในหน่วยความจาช่วงที่เราจองไว้เป็นอาร์เรย์นั้น
             ⌂ ถ้ากาหนดค่าเริ่มต้นตั้งแต่ตอนประกาศตัวแปรแต่ กาหนดไม่ครบ ใน
กรณีที่เป็นอาร์เรย์แบบตัวเลขทั้งจานวนเต็มและจานวนจริง ค่าที่เหลือจะถูกกาหนดเป็น
0 โดยอัตโนมัติ
เช่นfloat price[5] = {50.5,2.25,10.0} ;



        price[0] price[1] price[2] price[3] price[4]

Price 50.25               2.25          10.0           0.0            0.0
      4 bytes           4 bytes       4 bytes        4 bytes       4 bytes
⌂ บางครั้งถ้ากาหนดค่าเริ่มต้นให้แก่อาร์เรย์เลย เราไม่
จาเป็นต้องใส่ขนาดของอาร์เรย์ก็ได้
         เช่น             float a[ ] = {1,2,3,4,5} ;
         ความหมายคือ เป็นการกาหนดตัวแปรอาร์เรย์ของจานวนจริงแบบ
float ขนาด 5 ช่อง


        ***เราไม่สามารถประกาศตัวแปรอาร์เรย์โดยไม่ใส่ขนาด
ของอาร์เรย์ได้ ยกเว้นมีการกาหนดค่าเริ่มต้นให้กบมันตั้งแต่แรก
                                              ั
ลาดับในการเข้าถึงแต่ละ Element ของอาร์เรย์ ลาดับแรกจะ
เป็น 0 เสมอ ลาดับของ Element ของอาร์เรย์โดยส่วนมากจะเป็นค่า
ตัวเลขจานวนเต็ม ตัวอย่างเช่น ใช้อาร์เรย์ scores ในรูปที่ 8-5 เราจะ
เข้าถึง Element แรกได้ดังนี้

scores[0]
และถ้าต้องการจะประมวลผล Element ทั้งหมด ก็สามารถใช้ลูปเข้า
มาช่วยได้ดังตัวอย่างด้านล่างนี้
for (i=0;<9;i++)
scores[i]…;
การส่ง Array เข้าไปใน Method จะเป็นการส่งตาแหน่งของ Array
( Reference ) เข้าไปให้กับ Parameter ของ Method
อาร์เรย์สามารถเก็บ reference ของ Object ได้ โดยกาหนดให้อาเรย์
เป็น Class นั้น ๆ ในตอนประกาศอาเรย์ มีรูปแบบดังนี้
className [] arrayName = new className[size];

เช่น
Student [ ] studentList = new Student[10];
Student [ ] studentList = new Student[3];
studentList[0] = new Student();
studentList[1] = new Student();
studentList[2] = new Student();
• อาร์เรย์ 2 มิติ เป็ นตัวแปรชุดที่มีการจัดการข้อมูล Row (แถว)
Column (หลัก) ซึ่งอยู่ในรูปแบบตาราง ที่มีแสดงตาแหน่ง 2 ตัว

       • อาร์เรย์ 2 มิติ คือ array of array กล่าวคือ array 2 มิติ เป็ น
array ของ array 1 มิติ นั่นเอง
การประกาศตัวแปรอาร์เรย์ 2 มิติ

• แบบที่ 1 แบบระบุขนาดไม่กาหนดค่าเริ่มต้น
data_type array_name[row_size][column_size];

• ตัวอย่าง
int score[2][10];
char id[2][10];

**สร้างตัวแปรที่มี 2 แถว 10 หลักสาหรับเก็บตัวเลขจานวนเต็ม
การกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับอาร์เรย์ 2 มิติ

ตัวอย่างรูปแบบที่ 1 int num[2][3] = {11,12,13,21,22,23};
ตัวอย่างรูปแบบที่ 2 int num[2][3] = {{11,12,13},{21,22,23}};
ตัวอย่างรูปแบบที่ 3 int num[3][3] = {{11,12,13},{21,22,23}};

โดยที่การประกาศตัวแปรทั้ง 3 รูปแบบให้ผลลัพธ์เหมือนกัน คือ

Num             {0}                     {1}                 {2}

{0}                11                    12                  13
{1}                21                    22                  23
ArrayList เป็นคลาสที่รวบรวมคาสั่งพิเศษที่ช่วยสั่งงานอาร์เรย์ ต่าง
จาก array ปกติที่จะเป็นการกาหนดขนาดของตัวแปรอาร์เรย์คงที่ แต่
ArrayList จะสามารถแก้ไขขนาดได้ เวลาใส่ข้อมูลเข้าไปก็ไม่ต้องกาหนด
ขนาดเฉพาะไว้ก่อน
***การเรียกใช้งานต้อง import เข้ามา
 import java.util.ArrayList;
 method ที่ใช้ในการจัดการข้อมูล ดังนี้
1. add(ตาแหน่งอาร์เรย์,ค่าข้อมูลในอาร์เรย์)
2. remove(ตาแหน่งอาร์เรย์)
3. get(ตาแหน่งอาร์เรย์)
4. indexOf(ข้อมูลอาร์เรย์)
5. ชื่ออาร์เรย์.size()
สตริงเป็นออปเจค (Object) ที่สืบทอดคุณสมบัติมาจากคลาสสตริง
(Class String) ถ้าต้องการสร้างออปเจคจากคลาสสตริง ต้องประกาศดังนี้
String str = new String(“Java”);
หรือ String str = “Java”;
        ถ้าเราต้องการให้ str มีค่าว่างต้องประกาศเช่นนี้ String str = null;

         การเก็บข้อมูลของสตริงนั้น จะมีการเก็บข้อมูลอยู่ 2 ส่วน ส่วนแรกจะเป็นข้อมูล
ตัวอักษรโดยเก็บเรียงกันไป แบะส่วนที่ 2 จะเก็บจุดสิ้นสุดของสตริง ซึ่งจุสิ้นสุดของสตริง
จะใช้ Null Characterหรือ ‘0’ซึ่งในรูปที่ 10-2 แสดงการเก็บข้อมูลสตริงใน
หน่วยความจา
ตัวอย่าง
class string2 {
public static void main (String[] args) {
String one = "Principle ";
String two = "programming";
String three = null;
three = one + two;
System.out.printf("%s%n",three);
}
}

** ผลลัพธ์ที่ได้คือPrinciple programming
โดยใช้ equals( )ซึ่ง เป็น method ตัวนึงทีอยู่ใน String
                                                   ่
Class โดยจะทาหน้าที่เปรียบเทียบ String 2 ชุดว่ามีสมาชิกหรือ
ข้อความที่เหมือนกันหรือไม่ มีรูปแบบการใช้งานดังนี้
String1.equals(String2)
อธิบายโปรแกรม

          จากโปรแกรมมีการกาหนดตัวแปร s1 และ s2 เป็น String
โดยมีข้อความเหมือนกัน จากนั้นกาหนดเงื่อนไขของ if ว่าให้นา String
ทั้ง 2 มา เปรียบเทียบกันว่าเหมือนกันหรือไม่ โดยใช้เงือนไข
                                                     ่

s1.equals(s2) ถ้ามีข้อความเหมือนกันจริงก็จะ พิมพ์ข้อความ "s1
equals s2" แต่ถ้าข้อความไม่เหมือนกันก็จะพิมพ์ข้อความ "s1 not
equals s2" ออกมาแทน ให้เราทดสอบ โดยการไปเปลี่ยนข้อความใน
ตัวแปร s1 หรือ s2 ก็ได้แค่เปลี่ยนตัวอักษรตัวเล็กเป็นตัวใหญ่ก็ถอว่า
                                                              ื
ข้อความไม่เหมือนกัน
1.คลาสสตริงบัฟเฟอร์

      เป็น class หนึ่งที่ทางานกับ String แต่มีความยืดหยุนและใช้งานได้
                                                        ่
หลากหลายกว่า String Class ทั้งนี้ StringBuffer Class จะมี
Constructor ให้เลือกใช้ได้ 3 Constructor ได้แก่

- StringBuffer() ใช้ในการสร้าง StringBuffer ที่ไม่มีข้อมูลใดๆ และมี
ความยาวสูงสุด 16 ตัวอักษร
- StringBuffer(int length) ใช้ในการสร้าง StringBuffer ที่ไม่
มีข้อมูลใดๆ แต่ความยาวจะขึ้นอยู่กับค่าของ length ที่ส่งมาให้
- StringBuffer(String str) ใช้ในการสร้าง StringBuffer ที่มี
ข้อมูลตาม Argument “str” ที่ส่งมา โดยความยาวก็จะขึ้นอยูกับความ
                                                             ่
ยาวของ str เท่านั้น

 2.คลาสสตริงบิลเดอร์
      มีคุณสมบัติคล้ายๆกับ StringBuffer แต่ต่างกันตรงที่
 StringBuilder ไม่เป็น Thread Save จึงทาให้ทางานได้เร็วกว่า
 StringBuffer การเรียกใช้งาน ก็เรียกใช้งานได้เหมือนกัน
เอกสารอ้างอิง
http://devzilla.exteen.com
www.mwit.ac.th
http://itd.htc.ac.th
www.home.npru.ac.th
http://158.108.103.7:12222/~boonchoo
http://verzaru.blogspot.com
http://bc.feu.ac.th
http://www.webthaidd.com
http://java.pongkorn.net
http://www.jiramot.info
ผู้จัดทา
1. นายภาวัต             กระต่าย            เลขที่ 7
2. นายธนภัทร            เหลืองรัตน์วัฒนะ   เลขที่ 10
3. นายภควัต            ภควิกรัย            เลขที่ 12
4. นางสาวณัฐวดี        สายศรีนิล           เลขที่ 16
5. นางสาวนภามาศ        เชียงทอง             เลขที่ 17
6. นางสาวกมลชนก         เปรมกิจ             เลขที่ 20
7. นางสาวพลอยภัทรชา    เยี่ยมสวัสดิ์       เลขที่ 36
                      ม. 6/2

More Related Content

What's hot

ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTAreeya Onnom
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงdefeat overcome
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ Areeya Onnom
 
Java-Chapter 10 Two Dimensional Arrays
Java-Chapter 10 Two Dimensional ArraysJava-Chapter 10 Two Dimensional Arrays
Java-Chapter 10 Two Dimensional ArraysWongyos Keardsri
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขรบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขรMook Sasivimon
 
Java-Chapter 07 One Dimensional Arrays
Java-Chapter 07 One Dimensional ArraysJava-Chapter 07 One Dimensional Arrays
Java-Chapter 07 One Dimensional ArraysWongyos Keardsri
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Ploy StopDark
 
09 multi arrays
09 multi arrays09 multi arrays
09 multi arraysa-num Sara
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระMook Sasivimon
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]Mook Sasivimon
 
Java-Chapter 05 String Operations
Java-Chapter 05 String OperationsJava-Chapter 05 String Operations
Java-Chapter 05 String OperationsWongyos Keardsri
 

What's hot (19)

4
44
4
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPTตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ PPT
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
New presentation1
New presentation1New presentation1
New presentation1
 
Java-Chapter 10 Two Dimensional Arrays
Java-Chapter 10 Two Dimensional ArraysJava-Chapter 10 Two Dimensional Arrays
Java-Chapter 10 Two Dimensional Arrays
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขรบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขร
 
Java-Chapter 07 One Dimensional Arrays
Java-Chapter 07 One Dimensional ArraysJava-Chapter 07 One Dimensional Arrays
Java-Chapter 07 One Dimensional Arrays
 
..Arrays..
..Arrays....Arrays..
..Arrays..
 
08 arrays
08 arrays08 arrays
08 arrays
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
09 multi arrays
09 multi arrays09 multi arrays
09 multi arrays
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ[w]
 
Java-Chapter 05 String Operations
Java-Chapter 05 String OperationsJava-Chapter 05 String Operations
Java-Chapter 05 String Operations
 

Viewers also liked

5.ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
5.ข้อมูลชนิดอาร์เรย์5.ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
5.ข้อมูลชนิดอาร์เรย์mansuang1978
 
Java Programming [8/12] : Arrays and Collection
Java Programming [8/12] : Arrays and CollectionJava Programming [8/12] : Arrays and Collection
Java Programming [8/12] : Arrays and CollectionIMC Institute
 
การใช้ตัวแปรอาร์เรย์ (Array) ใน VB.NET 2005 Express Editor
การใช้ตัวแปรอาร์เรย์ (Array) ใน VB.NET 2005 Express Editorการใช้ตัวแปรอาร์เรย์ (Array) ใน VB.NET 2005 Express Editor
การใช้ตัวแปรอาร์เรย์ (Array) ใน VB.NET 2005 Express EditorWarawut
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงOnpreeya Sahnguansak
 
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงาน
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงานการเขียนขั้นตอนวิธีและผังงาน
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงานณัฐพล บัวพันธ์
 

Viewers also liked (6)

5.ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
5.ข้อมูลชนิดอาร์เรย์5.ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
5.ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
 
Java Programming [8/12] : Arrays and Collection
Java Programming [8/12] : Arrays and CollectionJava Programming [8/12] : Arrays and Collection
Java Programming [8/12] : Arrays and Collection
 
Tec4
Tec4Tec4
Tec4
 
การใช้ตัวแปรอาร์เรย์ (Array) ใน VB.NET 2005 Express Editor
การใช้ตัวแปรอาร์เรย์ (Array) ใน VB.NET 2005 Express Editorการใช้ตัวแปรอาร์เรย์ (Array) ใน VB.NET 2005 Express Editor
การใช้ตัวแปรอาร์เรย์ (Array) ใน VB.NET 2005 Express Editor
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงาน
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงานการเขียนขั้นตอนวิธีและผังงาน
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงาน
 

Similar to บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1prapassonmook
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Mook Prapasson
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระAreeya Onnom
 
บทที่ 6 อาร์เรย์
บทที่ 6 อาร์เรย์บทที่ 6 อาร์เรย์
บทที่ 6 อาร์เรย์Theeravaj Tum
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระMook Sasivimon
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระMook Sasivimon
 
ตัวแปรชุด
ตัวแปรชุดตัวแปรชุด
ตัวแปรชุดPear Pimnipa
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระLacus Methini
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระSanita Fakbua
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงOnpreeya Sahnguansak
 

Similar to บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง (17)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
บทที่ 6 อาร์เรย์
บทที่ 6 อาร์เรย์บทที่ 6 อาร์เรย์
บทที่ 6 อาร์เรย์
 
อาร์เรย์
อาร์เรย์อาร์เรย์
อาร์เรย์
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระบทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
บทที่ 5 ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
ตัวแปรชุด
ตัวแปรชุดตัวแปรชุด
ตัวแปรชุด
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
Chapter 02 Flowchart
Chapter 02 FlowchartChapter 02 Flowchart
Chapter 02 Flowchart
 

More from Naphamas

งานย่อย1 กิจกรรมร่วมการแข่งขัน17
งานย่อย1 กิจกรรมร่วมการแข่งขัน17งานย่อย1 กิจกรรมร่วมการแข่งขัน17
งานย่อย1 กิจกรรมร่วมการแข่งขัน17Naphamas
 
แอปเปิลคาดยอดขายไอแพดมินิพุ่งทะลุ2.3ล้าน
แอปเปิลคาดยอดขายไอแพดมินิพุ่งทะลุ2.3ล้านแอปเปิลคาดยอดขายไอแพดมินิพุ่งทะลุ2.3ล้าน
แอปเปิลคาดยอดขายไอแพดมินิพุ่งทะลุ2.3ล้านNaphamas
 
ทวิตเตอร์ปรับทัพรับทรัพย์ ข่าวIT
ทวิตเตอร์ปรับทัพรับทรัพย์ ข่าวITทวิตเตอร์ปรับทัพรับทรัพย์ ข่าวIT
ทวิตเตอร์ปรับทัพรับทรัพย์ ข่าวITNaphamas
 
Powerpointการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
Powerpointการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกPowerpointการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
Powerpointการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกNaphamas
 
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกกลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกNaphamas
 

More from Naphamas (6)

งานย่อย1 กิจกรรมร่วมการแข่งขัน17
งานย่อย1 กิจกรรมร่วมการแข่งขัน17งานย่อย1 กิจกรรมร่วมการแข่งขัน17
งานย่อย1 กิจกรรมร่วมการแข่งขัน17
 
แอปเปิลคาดยอดขายไอแพดมินิพุ่งทะลุ2.3ล้าน
แอปเปิลคาดยอดขายไอแพดมินิพุ่งทะลุ2.3ล้านแอปเปิลคาดยอดขายไอแพดมินิพุ่งทะลุ2.3ล้าน
แอปเปิลคาดยอดขายไอแพดมินิพุ่งทะลุ2.3ล้าน
 
It news
It newsIt news
It news
 
ทวิตเตอร์ปรับทัพรับทรัพย์ ข่าวIT
ทวิตเตอร์ปรับทัพรับทรัพย์ ข่าวITทวิตเตอร์ปรับทัพรับทรัพย์ ข่าวIT
ทวิตเตอร์ปรับทัพรับทรัพย์ ข่าวIT
 
Powerpointการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
Powerpointการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกPowerpointการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
Powerpointการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกกลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 

บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง

  • 1.
  • 2. การใช้ตัวแปร array มีรูปแบบดังนี้ ประเภทตัวแปร ชื่อตัวแปร array [ จานวนสมาชิกของ array]; เช่น int Score[4]; ในที่นี้มีความหมายว่า เป็นการประกาศตัวแปร array ชื่อ Score มีจานวน 4 รายการ โดยมีรายการที่ Score[0] Score[1] Score[2] Score[3] Score[0] Score[1] Score[2] Score[3] รายการของ array จะเริ่มที่ 0 ไม่ได้เริ่มที่ 1 ถ้าเราประกาศตัว แปร array เช่น int i[3] ก็จะมีรายการที่ 0 ถึง 2 จะไม่มี int int int int หมายเลข อินเด็กซ์ 3
  • 3. การประกาศอาร์เรย์หลายตัวทาได้ดงนี้ ั int [] abc , xyz; abc = new int[500]; xyz = new int[10]; หรือเขียนรวมกันได้ดังนี้ int[] abc = new int [500], xyz = new int[10]; ***ข้อควรระวัง int [] a , b ; a และ b เป็น Array int a[], b ; a เป็น Array b ไม่เป็น Array
  • 4. ⌂ สามารถกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับ array ได้ตั้งแต่ตอนประกาศตัวแปร ⌂ ค่าทีกาหนดต้องอยู่ในเครื่องหมาย { } และถ้ามีมากกว่า 1 ค่า ่ ต้องแยกจากกันด้วยเครื่องหมาย , (comma) เช่น int a[5] = {10,20,30,40,50 } ; A[0] A[1] A[2] A[3] A[4] A 10 20 30 40 50
  • 5. ⌂ ถ้าในตอนประกาศตัวแปรอาร์เรย์ไม่กาหนดค่าเริ่มต้นให้กับมันแล้ว ค่าที่อยู่ในตัวแปรจะเป็นค่าที่ค้างอยู่ในหน่วยความจาช่วงที่เราจองไว้เป็นอาร์เรย์นั้น ⌂ ถ้ากาหนดค่าเริ่มต้นตั้งแต่ตอนประกาศตัวแปรแต่ กาหนดไม่ครบ ใน กรณีที่เป็นอาร์เรย์แบบตัวเลขทั้งจานวนเต็มและจานวนจริง ค่าที่เหลือจะถูกกาหนดเป็น 0 โดยอัตโนมัติ เช่นfloat price[5] = {50.5,2.25,10.0} ; price[0] price[1] price[2] price[3] price[4] Price 50.25 2.25 10.0 0.0 0.0 4 bytes 4 bytes 4 bytes 4 bytes 4 bytes
  • 6. ⌂ บางครั้งถ้ากาหนดค่าเริ่มต้นให้แก่อาร์เรย์เลย เราไม่ จาเป็นต้องใส่ขนาดของอาร์เรย์ก็ได้ เช่น float a[ ] = {1,2,3,4,5} ; ความหมายคือ เป็นการกาหนดตัวแปรอาร์เรย์ของจานวนจริงแบบ float ขนาด 5 ช่อง ***เราไม่สามารถประกาศตัวแปรอาร์เรย์โดยไม่ใส่ขนาด ของอาร์เรย์ได้ ยกเว้นมีการกาหนดค่าเริ่มต้นให้กบมันตั้งแต่แรก ั
  • 7. ลาดับในการเข้าถึงแต่ละ Element ของอาร์เรย์ ลาดับแรกจะ เป็น 0 เสมอ ลาดับของ Element ของอาร์เรย์โดยส่วนมากจะเป็นค่า ตัวเลขจานวนเต็ม ตัวอย่างเช่น ใช้อาร์เรย์ scores ในรูปที่ 8-5 เราจะ เข้าถึง Element แรกได้ดังนี้ scores[0] และถ้าต้องการจะประมวลผล Element ทั้งหมด ก็สามารถใช้ลูปเข้า มาช่วยได้ดังตัวอย่างด้านล่างนี้ for (i=0;<9;i++) scores[i]…;
  • 8. การส่ง Array เข้าไปใน Method จะเป็นการส่งตาแหน่งของ Array ( Reference ) เข้าไปให้กับ Parameter ของ Method
  • 9. อาร์เรย์สามารถเก็บ reference ของ Object ได้ โดยกาหนดให้อาเรย์ เป็น Class นั้น ๆ ในตอนประกาศอาเรย์ มีรูปแบบดังนี้ className [] arrayName = new className[size]; เช่น Student [ ] studentList = new Student[10]; Student [ ] studentList = new Student[3]; studentList[0] = new Student(); studentList[1] = new Student(); studentList[2] = new Student();
  • 10. • อาร์เรย์ 2 มิติ เป็ นตัวแปรชุดที่มีการจัดการข้อมูล Row (แถว) Column (หลัก) ซึ่งอยู่ในรูปแบบตาราง ที่มีแสดงตาแหน่ง 2 ตัว • อาร์เรย์ 2 มิติ คือ array of array กล่าวคือ array 2 มิติ เป็ น array ของ array 1 มิติ นั่นเอง
  • 11. การประกาศตัวแปรอาร์เรย์ 2 มิติ • แบบที่ 1 แบบระบุขนาดไม่กาหนดค่าเริ่มต้น data_type array_name[row_size][column_size]; • ตัวอย่าง int score[2][10]; char id[2][10]; **สร้างตัวแปรที่มี 2 แถว 10 หลักสาหรับเก็บตัวเลขจานวนเต็ม
  • 12. การกาหนดค่าเริ่มต้นให้กับอาร์เรย์ 2 มิติ ตัวอย่างรูปแบบที่ 1 int num[2][3] = {11,12,13,21,22,23}; ตัวอย่างรูปแบบที่ 2 int num[2][3] = {{11,12,13},{21,22,23}}; ตัวอย่างรูปแบบที่ 3 int num[3][3] = {{11,12,13},{21,22,23}}; โดยที่การประกาศตัวแปรทั้ง 3 รูปแบบให้ผลลัพธ์เหมือนกัน คือ Num {0} {1} {2} {0} 11 12 13 {1} 21 22 23
  • 13. ArrayList เป็นคลาสที่รวบรวมคาสั่งพิเศษที่ช่วยสั่งงานอาร์เรย์ ต่าง จาก array ปกติที่จะเป็นการกาหนดขนาดของตัวแปรอาร์เรย์คงที่ แต่ ArrayList จะสามารถแก้ไขขนาดได้ เวลาใส่ข้อมูลเข้าไปก็ไม่ต้องกาหนด ขนาดเฉพาะไว้ก่อน ***การเรียกใช้งานต้อง import เข้ามา import java.util.ArrayList; method ที่ใช้ในการจัดการข้อมูล ดังนี้ 1. add(ตาแหน่งอาร์เรย์,ค่าข้อมูลในอาร์เรย์) 2. remove(ตาแหน่งอาร์เรย์) 3. get(ตาแหน่งอาร์เรย์) 4. indexOf(ข้อมูลอาร์เรย์) 5. ชื่ออาร์เรย์.size()
  • 14. สตริงเป็นออปเจค (Object) ที่สืบทอดคุณสมบัติมาจากคลาสสตริง (Class String) ถ้าต้องการสร้างออปเจคจากคลาสสตริง ต้องประกาศดังนี้ String str = new String(“Java”); หรือ String str = “Java”; ถ้าเราต้องการให้ str มีค่าว่างต้องประกาศเช่นนี้ String str = null; การเก็บข้อมูลของสตริงนั้น จะมีการเก็บข้อมูลอยู่ 2 ส่วน ส่วนแรกจะเป็นข้อมูล ตัวอักษรโดยเก็บเรียงกันไป แบะส่วนที่ 2 จะเก็บจุดสิ้นสุดของสตริง ซึ่งจุสิ้นสุดของสตริง จะใช้ Null Characterหรือ ‘0’ซึ่งในรูปที่ 10-2 แสดงการเก็บข้อมูลสตริงใน หน่วยความจา
  • 15. ตัวอย่าง class string2 { public static void main (String[] args) { String one = "Principle "; String two = "programming"; String three = null; three = one + two; System.out.printf("%s%n",three); } } ** ผลลัพธ์ที่ได้คือPrinciple programming
  • 16. โดยใช้ equals( )ซึ่ง เป็น method ตัวนึงทีอยู่ใน String ่ Class โดยจะทาหน้าที่เปรียบเทียบ String 2 ชุดว่ามีสมาชิกหรือ ข้อความที่เหมือนกันหรือไม่ มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ String1.equals(String2)
  • 17. อธิบายโปรแกรม จากโปรแกรมมีการกาหนดตัวแปร s1 และ s2 เป็น String โดยมีข้อความเหมือนกัน จากนั้นกาหนดเงื่อนไขของ if ว่าให้นา String ทั้ง 2 มา เปรียบเทียบกันว่าเหมือนกันหรือไม่ โดยใช้เงือนไข ่ s1.equals(s2) ถ้ามีข้อความเหมือนกันจริงก็จะ พิมพ์ข้อความ "s1 equals s2" แต่ถ้าข้อความไม่เหมือนกันก็จะพิมพ์ข้อความ "s1 not equals s2" ออกมาแทน ให้เราทดสอบ โดยการไปเปลี่ยนข้อความใน ตัวแปร s1 หรือ s2 ก็ได้แค่เปลี่ยนตัวอักษรตัวเล็กเป็นตัวใหญ่ก็ถอว่า ื ข้อความไม่เหมือนกัน
  • 18. 1.คลาสสตริงบัฟเฟอร์ เป็น class หนึ่งที่ทางานกับ String แต่มีความยืดหยุนและใช้งานได้ ่ หลากหลายกว่า String Class ทั้งนี้ StringBuffer Class จะมี Constructor ให้เลือกใช้ได้ 3 Constructor ได้แก่ - StringBuffer() ใช้ในการสร้าง StringBuffer ที่ไม่มีข้อมูลใดๆ และมี ความยาวสูงสุด 16 ตัวอักษร
  • 19. - StringBuffer(int length) ใช้ในการสร้าง StringBuffer ที่ไม่ มีข้อมูลใดๆ แต่ความยาวจะขึ้นอยู่กับค่าของ length ที่ส่งมาให้ - StringBuffer(String str) ใช้ในการสร้าง StringBuffer ที่มี ข้อมูลตาม Argument “str” ที่ส่งมา โดยความยาวก็จะขึ้นอยูกับความ ่ ยาวของ str เท่านั้น 2.คลาสสตริงบิลเดอร์ มีคุณสมบัติคล้ายๆกับ StringBuffer แต่ต่างกันตรงที่ StringBuilder ไม่เป็น Thread Save จึงทาให้ทางานได้เร็วกว่า StringBuffer การเรียกใช้งาน ก็เรียกใช้งานได้เหมือนกัน
  • 21. ผู้จัดทา 1. นายภาวัต กระต่าย เลขที่ 7 2. นายธนภัทร เหลืองรัตน์วัฒนะ เลขที่ 10 3. นายภควัต ภควิกรัย เลขที่ 12 4. นางสาวณัฐวดี สายศรีนิล เลขที่ 16 5. นางสาวนภามาศ เชียงทอง เลขที่ 17 6. นางสาวกมลชนก เปรมกิจ เลขที่ 20 7. นางสาวพลอยภัทรชา เยี่ยมสวัสดิ์ เลขที่ 36 ม. 6/2