SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 88
Baixar para ler offline
บทที่ 3
สารละลาย
Teacher : Miss Thidarat Soyjak
  The learning area of Science
   Yasothonpittayakom school
กิจกรรม 3.1
องค์ประกอบของสารละลาย
จุดประสงค์
1. ทดลองและอธิ บ ายองค์ ประกอบของ
   สารละลาย
2. อธิบายวิธีตรวจสอบองค์ประกอบของ
   สารละลาย
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1.   น้้าเชื่อม 1% โดยมวลต่อปริมาตร      1   cm3
2.   น้้าเกลือ 1% โดยมวลต่อปริมาตร       1   cm3
3.   น้้าอัดลม                           1   cm 3

4.   จานหลุมโลหะ                         1   ใบ
5.   ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กั้นลม
      และตะแกรงลวด                       1 ชุด
การเตรียมตัวล่วงหน้า
เตรียมสารละลายต่าง ๆ ดังนี้
1. น้้าเชื่อม 1% โดยมวลต่อปริมาตร น้าน้้าตาลทราย
     1 g มาละลายในน้้าให้มีปริมาตรเป็น 100 cm3
2. น้้าเกลือ 1% โดยมวลต่อปริมาตร น้าเกลือแกง
     1 g มาละลายในน้้าให้มีปริมาตรเป็น 100 cm3
3. น้้าอัดลมให้ใช้น้าอัดลมชนิดที่ไม่ผสมสี ที่มีจ้าหน่าย
     ในท้องตลาดและเวลาจะใช้จึงเปิดขวดน้้าอัดลม
ข้อเสนอแนะ
1. การต้ ม ของเหลวในจานหลุ ม โลหะ ให้ สั ง เกตการ
   เปลี่ยนแปลงตั้งแต่เริ่มต้นของเหลว ต้องคอยระวังอย่า
   ให้ ข องเหลวเดื อ ดแรงเกิ น ไป เพราะของเหลวจะ
   กระเด็นหรือรวมกับของเหลวในจานหลุมอื่นได้
2. การใช้ ตะเกียงแอลกอฮอล์ให้ ใส่แอลกอฮอล์ ประมาณ
   2/3 ของตะเกียง ไม่ควรดึงไส้ตะเกียงขึ้นมาสูงเกินไป
   เมื่อจะจุดตะเกียงให้จุดด้วยไม้ขีดไฟ ห้ามยกตะเกียงจุด
   ต่อกัน เมื่อจะดับตะเกียงให้ใช้ปิดด้วยฝาครอบตะเกียง
วิธีการทดลอง
ผลการทดลอง
ของเหลว ผลที่สงเกตได้กอนให้ความร้อน
              ั       ่               ผลที่สงเกตได้เมือให้ความร้อนจนแห้ง
                                            ั         ่
น้้าเชื่อม

น้้าเกลือ

น้้าอัดลม
ผลการทดลอง
ของเหลว ผลที่สงเกตได้กอนให้
                  ั          ่           ผลที่สงเกตได้เมือให้ความร้อนจนแห้ง
                                               ั         ่
           ความร้อน
น้้าเชื่อม ของเหลวใส ไม่มีสี หรือ        มีตะกอนสีน้าตาลอ่อนหรือสีน้าตาลเข้มอยู่ก้นจาน
           สีน้าตาลอ่อน                  หลุม (ขึ้นอยู่กับความร้อน ถ้าความร้อนสูงจะได้สี
           (ขึ้นอยู่กับสีน้าตาลที่ใช้)   น้้าตาลเข้ม)
น้้าเกลือ ของเหลวใส ไม่มีสี              มีตะกอนละเอียดสีขาว อยู่ก้นจานหลุม
น้้าอัดลม ของเหลวใส ไม่มีสี              มีตะกอนละเอียดสีขาวหรือสีน้าตาลอ่อนอยู่ก้นจาน
           (อาจเห็นฟองแก๊ส)              หลุม
สรุปผลการทดลอง
- ลักษณะของเหลวที่สังเกตได้ก่อนให้ความร้อน น้้าเชื่อม
น้้าเกลือ น้้าอัดลม เป็นของเหลวใสเนื้อเดียว ไม่มีสี เมื่อน้า
ของเหลวไปให้ ความร้ อนจนแห้ง ทั้งน้้าเชื่อม น้้าเกลือ และ
น้้ า อั ด ลม มี ส ารที่ เ ป็ น ของแข็ ง เหลื อ อยู่ แสดงว่ า น้้ า เชื่ อ ม
น้้ า เกลื อ น้้ า อั ด ลม มี อ งค์ ป ระกอบมากกว่ า หนึ่ ง ชนิ ด
ประกอบด้วยตัวท้าละลายซึงเป็นน้าระเหยไป และตัวละลายเป็น
                                  ่      ้
ของแข็งอย่างน้อยหนึ่งชนิด
สรุปผลการทดลอง
      สรุปได้ว่าสารละลายเป็นสารผสมประกอบด้วย 2 ส่วน
คือ ตัวท้าละลายที่มีปริมาณมากที่สุดในของผสมและตัวละลาย
ที่อาจมีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ได้ การให้
ความร้อนแก่สารละลายจนของเหลวระเหยกลายเป็นไอแห้ง
หมด ใช้ตรวจสอบองค์ประกอบของสารละลายได้ เป็นวิธีแยก
สารโดยให้ความร้อน เรียกว่า การระเหยแห้ง เป็นวิธีที่ใช้
ตรวจสอบได้ดีกับตัวละลายที่เป็นของแข็งระเหยยาก
?      สิ่งที่เหลืออยู่บนจานหลุมโลหะแต่ละหลุม
เหมือนหรือต่างกันอย่างไร
- ต่างกัน ขึ้นอยู่กับชนิดของของเหลวตัวอย่าง ดังนี้
- น้้าหวานจะมีตะกอนสีน้าตาลอ่อน ซึ่งเป็นน้้าตาล ถ้า
  ความร้อนสูงอาจได้สีน้าตาลเข้มหรือน้้าตาลไหม้
- น้้าเกลือ จะมีตะกอนละเอียดสีขาว ซึ่งเป็นเกลือ
- น้้าอัดลม จะมีตะกอนละเอียดสีขาว อาจเป็นน้้าตาล
  แต่มีปริมาณไม่มากนัก
? มีสารเหลืออยู่ในหลุมทุกหลุมหรือไม่ เพราะ
เหตุใด
- มีสารเหลืออยู่ทุกหลุม เพราะของเหลวที่น้ามาระเหย
  แห้งนั้นเป็นสารละลายที่มีตัวท้าละลายเป็นน้้า และตัว
  ละลายเป็นของแข็งระเหยยากอยู่ด้วย จึงเหลือสารค้าง
  ที่จานหลุมโลหะ
? เราจะมีวิธีการตรวจสอบองค์ประกอบของ
สารละลายเหล่านี้ได้อย่างไร
- เช่น น้าสารละลายไประเหยแห้งหรือน้าไปกลั่น ซึ่งจะ
  ตรวจสอบได้ว่ามีองค์ประกอบชนิดเดียวหรือมากกว่า
  หนึ่งชนิด ซึ่งจะใช้ได้เฉพาะตัวละลายที่ระเหยได้ยาก
?       น้้าหวานและน้้าอัดลมเป็นสารละลายมี
องค์ประกอบเพียง 2 ชนิด หรือไม่ เพราะเหตุใด
- น้้าเชื่อมและน้้าอัดลมบอกได้ว่ามีองค์ประกอบอย่างน้อย
  2 ชนิด เพราะจากการทดลอง น้้าเชื่อมจะมีตะกอนสี
  น้้าตาลอ่อนเหลื ออยู่ และน้้าอัดลมมมีตะกอนละเอียดสี
  ขาวเหลื ออยู่ แต่ยังไม่ตรวจสอบว่าตัวละลายหรือน้้าที่
  ระเหยไปมี อ ะไรปนอยู่ ด้ วยหรื อ ไม่ หรื อ ตะกอนที่ เ หลื อ
  อาจจะมีสารมากกว่า 1 ชนิด
? ในกรณีน้าสารตัวอย่างมาระเหยแห้งบนจาน
หลุมโลหะแล้ วพบว่าไม่เหลือสารใด ๆ จะสรุป
สารตั ว อย่ า งมี อ งค์ ป ระกอบเพี ยงชนิ ด เดี ยวได้
หรือไม่ เพราะเหตุใด
- ยังสรุปไม่ได้ เพราะสารตัวอย่างนั้นอาจประกอบด้วย
  สารชนิดเดียวหรือหลายชนิดที่ระเหยง่ายเมื่อได้รับความ
  ร้อน เช่น แก๊สหรือของเหลว เมื่อน้าไประเหยแห้งจะไม่มี
  สารใดเหลืออยู่เลย
? ถ้าน้าดินมาผสมกับน้้าจะเป็นสารผสมประเภท
ใด เพราะเหตุใด
- สารเนื้อผสมที่ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน เพราะดินไม่ละลายน้้า
  หรือละลายได้น้อยมาก ซึ่งเมื่อผสมกันจะได้ของเหลวขุ่น
  หรือน้้าโคลน เมื่อทิ้งไว้จะตกตะกอนนอนก้นและสามารถ
  แยกดินออกจากน้้าได้โดยการกรอง
? สมบัติของตัวท้าละลายและตัวละลายมีผลต่อ
การละลายของสารหรือไม่ อย่างไร
- มี สารบางอย่างไม่ละลายในน้้าเย็นแต่ละลายในน้้าร้อน
  เช่น เครื่องดื่มซองหรือชากาแฟบางชนิดที่ต้องผสมน้้า
  ร้อนในการดื่ม สารบางอย่างละลายในน้้า แต่ไม่ละลาย
  ในน้้ามัน เช่น น้้าตาลทราย สมบัติเหล่านี้จึงน้าไปใช้
  ประโยชน์ในชีวิตประจ้าวัน
การละลายของตัวละลายในตัวท้าละลายและ
การน้าการระเหยแห้งไปใช้ในชีวิตประจ้าวัน
- เช่น การท้าน้้าตาลมะพร้าว การผลิตเครื่องดื่ม
  ที่เปลี่ยนจากสารละลายเป็นเป็นเครื่องดื่มชนิด
  ผง เช่น ขิงผง เก๊กฮวยผง มะตูมผง เห็ดหอม
  ผง ชาผง กาแฟผง เป็นต้น
?  ตัวท้าละลายชนิดเดียวกัน
จะละลายตัวละลายต่างชนิด
ได้เหมือนหรือต่างกัน
กิจกรรม 3.2
การละลายของสาร
จุดประสงค์
         ทดลองและอธิ บ ายการละลาย
ของตั ว ละลายชนิ ด เดี ย วกั น ในตั ว ท้ า
ละลายต่ างชนิด และการละลายของตัว
ละลายต่ า งชนิ ด ในตั ว ท้ า ละลายชนิ ด
เดียวกัน
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1.   เอทานอล                     6 cm3
2.   น้้ากลั่น                  30 cm3
3.   น้้าตาลทราย          2 ช้อนเบอร์ 1
4.   หลอดทดลองขนาดกลาง          2 หลอด
5.   กระบอกตวงขนาด 10 cm3       1 อัน
6.   ที่ตั้งหลอดทดลอง           1 ชุด
ข้อเสนอแนะ
1. ปริมาณสารที่ ใช้ ถ้าเป็ นของเหลว อาจใช้ หลอดหยด
   จ้านวน 20 หยดแทน 1 cm3
2. การตวงสารโดยใช้กระบอกตวงให้วัดปริมาตรสารที่
   ระดับสายตาและระดับของเหลวอยู่ส่วนโค้งต่้าสุดตาม
   ปริมาตรที่ต้องการ
3. การตวงสารโดยใช้ช้อนตักสาร ให้ตวงสารเต็มช้อน
   แล้วปาดด้วยด้ามช้อนตวงอีกอันหนึ่งให้พอดีขอบช้อน
   ตามขนาดช้อนตวงที่ต้องการ
4.
                  ข้อเสนอแนะนั้น ให้เขย่า
     การเขย่าขวดทดลองเพื่อให้สารผสมกัน
   โดยเคาะหลอดที่บรรจุสารกับฝ่ามือจะช่วยให้สารผสม
   กันได้ง่ายขึ้น โดยเขย่าแต่ละครั้งนานประมาณ 1 นาที
    อย่าเขย่าแรงเกินไปเพราะสารอาจกระเด็นออกนอก
หลอดทดลอง หรือเขย่าเบาเกินไป สารจะไม่ผสมกันหรือ
ผสมกันได้ช้ามาก และเขย่าแต่ละหลอดให้เหมือนกัน
วิธีการทดลอง
ผลการทดลองตอนที่ 1
 ตัวละลาย     ผลทีสงเกตได้เมือละลายในตัวท้าละลาย
                  ่ ั        ่
                   น้้า                    เอทานอล
              (หลอดที่ 1)                 (หลอดที่ 2)
น้้าตาลทราย
ผลการทดลองตอนที่ 1
 ตัวละลาย            ผลทีสงเกตได้เมือละลายในตัวท้าละลาย
                           ่ ั         ่
                            น้้า                  เอทานอล
                     (หลอดที่ 1)                 (หลอดที่ 2)
น้้าตาลทราย น้้าตาลทรายหายไปเป็นของเหลว น้้าตาลทราย ไม่ละลาย
                 ใส ไม่มีสี เนื้อเดียวกัน
สรุปผลตอนที่ 1
     น้้าตาลทรายละลายได้ดีในน้้า น้้าเป็นตัวท้า
ละลาย และน้้ าตาลทรายเป็ น ตั ว ละลาย แต่ ไ ม่
ละลายในเอทานอล แสดงว่ า ตั ว ละลายชนิ ด
เดียวกันละลายได้ไม่เท่ากันในตัวท้าละลายต่าง
ชนิดกัน
ผลการทดลองตอนที่ 2
ตัวท้า                ผลทีสงเกตได้เมือเติมตัวละลาย
                          ่ ั        ่
ละลาย    เอทานอล   น้้ามันพืช น้้าตาล ดินเหนียว คอปเปอร์
                                 ทราย         บดละเอียด ซัลเฟต
 น้้า
ผลการทดลองตอนที่ 2
ตัวท้า                     ผลทีสงเกตได้เมือเติมตัวละลาย
                                 ่ ั       ่
ละลาย      เอทานอล        น้้ามันพืช   น้้าตาล ดินเหนียว          คอปเปอร์
                                        ทราย       บดละเอียด       ซัลเฟต
 น้้า      ละลายได้       ไม่ละลาย ละลายได้ ไม่ละลาย              ละลายได้
          ของเหลวใส        แยกชั้น ของเหลว           สารมี        ของเหลว
         เป็นเนื้อเดียว              ใสเป็นเนื้อ ลักษณะขุ่น       ใส สีฟ้า
                                        เดียว        ขาว มี        เป็นเนื้อ
                                                   ตะกอนอยู่ที่     เดียว
                                                    ก้นหลอด
สรุปผลตอนที่ 2
     น้้าตาลทรายละลายได้ดีในน้้า น้้าเป็นตัวท้า
ละลาย และน้้ าตาลทรายเป็ น ตั ว ละลาย แต่ ไ ม่
ละลายในเอทานอล แสดงว่ า ตั ว ละลายชนิ ด
เดียวกันละลายได้ไม่เท่ากันในตัวท้าละลายต่าง
ชนิดกัน
? ท้าไมเรือที่ท้าจากเหล็กจึงลอยที่
ผิวน้้าได้
- มวลต่ อ ปริ ม าตรหรื อ ความหนาแน่ น
ของเรือน้อยกว่าน้้า
กราฟ
สรุปผลการทดลอง
ขณะที่น้าแข็งก้าลังหลอมเหลว กราฟเป็นเส้นขนานกับ
แกนนอน และเมื่อน้้าแข็งหลอมเหลวหมดแล้ว เส้นกราฟ
มี ลั ก ษณะชั น ขึ้ น เป็ น เส้ น ตรง เมื่ อ น้้ า เดื อ ดเป็ น ไอน้้ า
เส้นกราฟจะขนานกับแกนนอน ช่วงที่อุณหภูมิคงที่มี 2
ช่วง คือ ขณะที่น้าแข็งหลอมเหลว และขณะที่น้าเดือด
กลายเป็นไอน้้า อธิบายได้ว่าความร้อนที่น้าได้รับถูกใช้ไป
ท้าให้น้าแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นน้้า และน้้าเปลี่ยนสถานะ
เป็นไอน้้า อุณหภูมิจึงคงที่
? น้้าผสมน้้าแข็งมีการเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิและสถานะอย่างไร
- ขณะที่ น้ า แข็ ง ก้ า ลั ง หลอมเหลวเป็ น น้้ า
น้้ า แข็ ง จะเปลี่ ย นสถานะจากของแข็ ง เป็ น
ของเหลว แต่ อุณหภู มิจะไม่ เปลี่ยนแปลง คื อ
0   ๐C คงที่ จากนั้นเมื่อน้้าหลอมเหลวอุณหภูมิ

จะสูงขึ้นเรื่อยๆ จนเท่ากับอุณหภูมิห้อง
?จุดเดือดและจุดหลอมเหลว
เป็นสมบัติเฉพาะตัวของสารหรือไม่
- ใ ช่ เ ช่ น มี เ ท น มี จุ ด เ ดื อ ด แ ล ะ จุ ด
หลอมเหลวไม่เท่ากับโพรเพนและบิวเทน และ
ไม่เท่ากับสารอื่นๆ เช่น น้้า แอลกอฮอล์
? ตาราง 2.3 มีสารใดบ้าง
มี ส ถานะเป็ น ของแข็ ง ที่ อุ ณ หภู มิ
25  ๐C

- โซเดียม
? ถ้าต้องการเก็บเอทิลอีเทอร์ที่
เป็ นของเหลวโดยให้ กลายเป็ นไอ
น้อยที่สุด ควรจะเก็บไว้ที่อุณหภูมิ
ประมาณเท่าไร เพราะเหตุใด
- ต่้ากว่าจุดเดือด คือ 34.4   ๐C
ของเหลว
การแข็งตัว                    การควบแน่น


               การระเหิด
   ของแข็ง                     แก๊ส
              การระเหิดกลับ
การระเหิด
ลูกเหม็น
การบูร หรือ แนพทาลีน
น้้าแข็งแห้ง
การน้าความรู้เรื่องการเปลี่ยน
 สถานะไปใช้ในชีวิตประจ้าวัน
การท้าไอศกรีม
การตกแต่งเวทีแสดงละคร ดนตรี
เครื่องท้าความเย็น
2.4 การถ่ายโอนความร้อน
กิจกรรม 2.3
การพาความร้อนของน้้า
จุดประสงค์
1. ทดลองและอธิบายการถ่ายโอนความ
   ร้อนของน้้า
2. อธิบายการพาความร้อนของน้้า
3. ยกตัวอย่างการน้าความรู้เรื่องการน้า
   ความร้อนไปใช้ประโยชน์
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1.  ด่างทับทิม                        ช้อนเบอร์ 1
2.  น้้ากลั่น                         250 cm   3

3.  บีกเกอร์ขนาด 250 cm3               1 ใบ
4.  เทอร์มอมิเตอร์                     2 อัน
5.  ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กั้นลม
     และตะแกรงลวด                      1 ชุด
6. ขาตั้งและที่จับหลอดทดลอง            2 ชุด
วิธีการทดลอง
ผลการทดลอง
 เวลา อุณหภูมของน้า (๐ อุณหภูมของน้า
                ิ ้             ิ ้                  การเปลียนแปลงทีสงเกตได้
                                                            ่       ่ ั
(วินาที) C) ที่กนบีกเกอร์ (๐C) ที่ผิวน้า
                 ้                     ้
   0            30            28         เกล็ดด่างทับทิมจมลงที่ก้นบีกเกอร์
 30            32              29       เกล็ดด่างทับทิมละลายสารละลายมีสีม่วง
  60           35              31       สีม่วงเคลื่อนที่ลอยขึ้น
  90          38               35       สีม่วงเคลื่อนที่ลอยขึ้นเป็นทางยาว
 120          40              38        สีม่วงเคลื่อนที่ลอยขึ้นถึงผิวบนแล้ววนลงมา
 150          43               40       สีม่วงเคลื่อนที่วนลงมาแล้วขึ้นไปคล้ายวงกลม
                                        และกระจายสารละลายเป็นสีชมพู
ผลการทดลอง
 เวลา อุณหภูมของน้า (๐ อุณหภูมของน้า
                ิ ้             ิ ้                   การเปลียนแปลงทีสงเกตได้
                                                             ่       ่ ั
(วินาที) C) ที่กนบีกเกอร์ (๐C) ที่ผิวน้า
                 ้                     ้
 180            45            43         สีชมพูเคลื่อนที่ลักษณะเดียวกับสีม่วง
                                         เคลื่อนไปที่ผิวน้้าและวนลงมาด้านล่าง
 210           46              44        สีชมพูกระจายในสารละลายบางส่วน
 240           49              48        สีชมพูกระจายในสารละลายเพิ่มขึ้น
 270           50              49        สีชมพูกระจายในสารละลายส่วนใหญ่
 300           51              51        สารละลายสีชมพูกระจายทั่วบีกเกอร์
สรุปผลการทดลอง
การกระจายสีของด่างทับทิมในน้้ามีการเปลี่ยนแปลง สี
ของด่ า งทั บ ทิ ม จะเคลื่ อ นที่ จ ะเคลื่ อ นที่ จ ากก้ น บี ก เกอร์
ลอยตั ว สู ง ขึ้ น แล้ ววนกลั บมาที่ ก้ น บี กเกอร์ อี ก เพราะ
อนุภาคน้้าที่พาสีของด่างทับทิมด้านล่างจะพาความร้อน
มาด้ ว ย ท้ า ให้ อ นุ ภาคน้้ า ที่ อ ยู่ ร อบๆ มี ความหนาแน่ น
มากกว่า เข้าแทนที่อุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์อันบนจึง
สูงขึ้น และสีของด่างทับทิมจะกระจายทั่วบีกเกอร์
กิจกรรม 2.4
การน้าความร้อน
จุดประสงค์
1. ทดลองการถ่ า ยโอนความร้ อ นของ
   โลหะ
2. อธิบายการน้าความร้อนของโลหะ
3. ยกตัวอย่างการน้าความรู้เรื่องการน้า
   ความร้อนไปใช้ประโยชน์
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1. เทียนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง        1 เล่ม
    1x15 cm
2. แผ่นอะลูมิเนียมขนาด 2x20 cm        1 แผ่น
3. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กั้นลม
     และตะแกรงลวด                     1 ชุด
6. ขาตั้งและที่จับหลอดทดลอง           1 ชุด
วิธีการทดลอง
ผลการทดลอง
หยดเทียนที่อยู่ใกล้เปลวไฟจะตกมาก่อน
ตามด้วยหยดเที ย นที่ อ ยู่ ไกลออกไป
ตามล้าดับ
สรุปผลการทดลอง
หยดเทียนที่อยู่ใกล้เปลวไฟตกมาก่อน เนื่องจากความร้อน
ถ่ายโอนไปยังอนุภาคของอะลูมิเนียมที่อยู่ใกล้เปลวไฟก่อน
ท้าให้ อนุ ภาคของอะลู มิเนี ยมสั่ นมากขึ้ น และไปชนกั บ
อนุภาคที่อยู่ติดกัน ท้าให้อนุภาคที่อยู่ติดกันสั่นมากขึ้น ท้า
ให้ความร้อนถ่ายโอนจากปลายด้านหนึ่งไปสู่ปลายอีกด้าน
หนึ่ ง ได้ โดยการสั่ น ของอนุ ภ าค เรี ย กการถ่ า ยโอน
พลังงานนี้ว่า การน้าความร้อน
? หยดเทียนมีการเปลี่ยนแปลง
อย่างไร เพราะเหตุใด
- ความร้อนจากโลหะอะลูมิเนียมจะถ่ายโอน
ความร้อนให้หยดเทียนหลอมละลายหยดลงมา
เพราะโลหะได้รับความร้อนจากแอลกอฮอล์ท้า
ให้อนุภาคโลหะสั่นมากขึ้น แล้วชนกับอนุภาคที่
ติดกันสั่นมากขึ้นตามไปด้วย
? อะลูมิเนียม ทองแดง เหล็ก
แก้ว วัสดุใดมีความสามารถในการน้า
ความร้อนได้ดีกว่ากัน มีวิธีการตรวจสอบ
เพื่อหาค้าตอบได้อย่างไร
- มากไปน้ อ ย คื อ ทองแดง อะลู มิ เ นี ย ม
เหล็ก แก้ว
 ฉนวนความร้อน คือ วัตถุที่น้าความ
  ร้อนได้น้อยมาก เช่น ไม้ พลาสติก
  อากาศ
 ตัวกลาง คือ อนุภาคทีเป็นตัวส่งผ่าน
                      ่
ตารางการน้าความร้อนและฉนวน
ความร้อนของร้อน จากมากไปน้อย
  ตัวน้าความร้อน   ฉนวนความร้อน
         เงิน        สุญญากาศ
      ทองแดง           อากาศ
     อะลูมิเนียม        คอร์ก
        เหล็ก           แก้ว
       ตะกั่ว            น้้า
กิจกรรม 2.5
การดูดซับความร้อนของ
  วัตถุที่มีสีผิวต่างกัน
จุดประสงค์
1.   ทดลองสีของวัตถุกับการรับพลังงานความร้อน
2.   ทดลองการถ่ายโอนความร้อนโดยการแผ่รังสี
3.   อธิบายการถ่ายโอนความร้อนโดยการแผ่รังสี
4.   ยกตัวอย่างการแผ่รังสีไปใช้ประโยชน์
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1. แผ่นโลหะชนิดแข็ง 2 แผ่น มีขนาดเท่ากัน
   แผ่นหนึ่งสีขาว และอีกแผ่นทาสีด้า
   มีที่ติดเทอร์มอมิเตอร์ตรงกลาง         2 แผ่น
2. เทอร์มอมิเตอร์                        2 อัน
3. หลอดไฟ                                1 ดวง
วิธีการทดลอง
ผลการทดลอง
 อุณหภูมิของ อุณหภูมิของ
แผ่นโลหะสีขาว แผ่นโลหะสีด้า
    ต่้ากว่า     สูงกว่า
สรุปผลการทดลอง
      ความร้อนจากหลอดไฟเป็นความร้อนจากรังสีอิน
ฟาเรด เป็ น คลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า โลหะทั้ ง สองสี มี
ความสามารถในการดูดซับความร้อนจากรังอิน ฟาเรด
ได้ แตกต่ างกัน โลหะสีด้าจะดูดซับความร้ อนได้ดีกว่า
โลหะสีขาว
      การถ่ายโอนความร้อนโดยไม่มีตัวกลาง เรียกว่า
การแผ่รังสี
? วิธีใดเปรียบได้กับการถ่ายโอนความร้อน
แบบการน้า การพา และการแผ่รงสี ั
- แบบที่ 1 การน้าความร้อน เพราะสิ่งของที่ส่งไปนั้น
  ผู้ส่งไม่เคลื่อนที่
- แบบที่ 2 การพาความร้อน เพราะสิ่งของที่ส่งมี
   ผู้น้าไปส่งท้าให้เคลื่อนที่ไป
- แบบที่ 3 การแผ่รังสี เพราะสิ่งของที่ส่งนั้น ไม่ได้
   อาศัยตัวกลางในการส่ง
? ความรู้เรื่องการน้าและการพาความร้อน
น้ามาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ้าวันได้อย่างไร
-   การติดเครื่องปรับอากาศในห้องท้างาน
-   การต้มน้้าแบบขดลวด
-   กระติกเก็บน้้าร้อน
2.5 การจัดกลุ่มสาร
ตามลักษณะเนื้อสาร
และขนาดของอนุภาค
สารเนื้อเดียว
คือ สารที่มีองค์ประกอบ และสมบัติของ
สารเหมือนกันทุกส่วน มองด้วยตาเปล่า
คล้ายเป็นสารเพียงชนิดเดียว อาจเป็น
สารเพียงชนิดเดียวหรือหลายชนิดก็
ได้ ได้แก่
• สารบริสุทธิ์ ( ธาตุ, สารประกอบ )
  เป็นสารเพียงชนิดเดียวไม่มีสารอื่นเจือปน มีสมบัติ
  เฉพาะตัวคงที่ และเมื่อสลายตัวให้สารใหม่มีสมบัติ
  แตกต่างไปจากเดิม
• สารละลาย ( ของผสมเนื้อเดียว )
  ประกอบด้วยตัวถูกละลาย และตัวท้าละลายปนกัน
  กลมกลืน มีสมบัติเปลี่ยนแปลงตามอัตราส่วนของตัวถูก
  ละลายและตัวท้าละลาย
• สารเนือผสม คือ สารที่มีเนื้อไม่กลมกลืนกันตลอด
                    ้
              (แต่อาจมองเห็นไม่ชัด)เกิดจากการผสมสารตั้งแต่
              2 ชนิดขึ้นไปเข้าด้วยกัน ได้แก่
 สารคอลลอยด์
 เกิดจากอนุภาคของสารขนาดเล็กๆ เส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 10-7 ถึง
 10-4 cm. กระจายปนอยู่ในตัวกลางได้โดยไม่ตกตะกอน สารทีมอนุภาคขนาด
                                                           ่ ี
 นี้สามารถผ่านกระดาษกรองได้ แต่ผ่านแผ่นเซลโลเฟนไม่ได้ เช่น นมสด วุ้น
 เจลลี่ หมอก สเปรย์ เป็นต้น
สารแขวนลอย
 คือ สารเนือผสมทีมอนุภาคองค์ประกอบขนาดใหญ่กว่า 10-4 cm. แขวนลอย
            ้       ่ ี
 อยู่ในตัวกลาง เมื่อทิงไว้จะตกตะกอนได้เอง ไม่สามารถผ่านกระดาษกรอง
                        ้
สมบัติทั่วไปของคอลลอยด์
1. เมื่อผ่านล้าแสงเกิดปรากฏการณ์ Tyndall effect
 2. อนุภาคมีการเคลือนที่แบบบราวน์เนียน
                    ่
3. อนุภาคคอลลอยด์มประจุไฟฟ้า อาจเป็นบวกหรือลบก็ได้
                      ี
    ซึ่งสามารถถูกดูดด้วยขัวไฟฟ้าตรงกันข้ามในสนาม
                           ้
4. อนุภาคโดยทัวจะไม่ตกตะกอน เพราะมีการเคลือนที่
                ่                           ่
   ตลอดเวลา
 5. อาจกล่าวโดยสรุป คอลลอยด์จะมีสมบัตเกียวกับแสง
                                        ิ ่
    การเคลื่อนทีและสมบัตทางประจุไฟฟ้า
                  ่      ิ
ชนิดของคอลลอยด์
  คอลลอยด์มีหลายชนิด มีชื่อเรียกต่างๆกัน ขึ้นอยู่กับสถานะ
  อนุภาคกับสถานะของตัวกลาง
1 .แอโรซอล เป็นคอลลอยด์ที่มีสถานะอนุภาคเป็นของแข็ง
หรือของเหลวในสถานะของตัวกลางที่เป็นก๊าซ ตัวอย่างเช่น
เมฆ หมอก ฝุ่นละอองในอากาศ
2.เจล เป็นคอลลอยด์ที่มีสถานะอนุภาคเป็นของแข็งในสถานะ
ตัวกลางที่เป็นของเหลวตัวอย่างเช่น เยลลี่ วุ้น ยาสีฟัน แยม
ชนิดของคอลลอยด์
  3. โฟม เป็นคอลลอยด์ที่มีสถานะของอนุภาคเป็นก๊าซ ใน
สถานะตัวกลางที่เป็นทั้งของแข็งและของเหลว ตัวอย่างเช่น
ฟองสบู่ ครีมโกนหนวด
   4. อิมัลชัน เป็นคอลลอยด์ที่มีอนุภาคเป็นของเหลวแขวนลอยอยู่ใน
             ่
ตัวกลางที่เป็นของเหลว ซึ่งไม่ละลายเข้าด้วยกัน จึงต้องอาศัยสารอีก
ชนิดหนึ่งมาเป็นตัวกลางเชื่อมประสานของเหลวนั้นจนละลาย เท่ากัน
เป็นคอลลอยด์ ตัวเชื่อมนี้เรียกว่า อิมัลซิฟาย-เออร์ ตัวอย่าง อิมัลชั่น
เช่น น้้ากับน้้ามัน โดยมีสบู่เป็นตัวเป็นตัวเชื่อม
ชนิดของคอลลอยด์
         5. อิมัลซิฟายเออร์ คือ สารที่เติม
ลงไปเพื่อท้าหน้าที่เป็นตัวเชื่อม หรือประสาน
ของเหลวตั้งแต่สองชนิดขึ้นไป ให้อนุภาค
กระจายไปทั่วได้ เช่น สบู่ ผงซักฟอกไข่
แดง เคซิน และน้้าดี
การเปรียบเทียบ       สารละลาย         คอลลอยด์          สารแขวนลอย
   ตัวอย่างสาร     สารละลาย CuSO4          นมสด          นมสดผสมกรด

  ลักษณะเนื้อสาร      เนื้อเดียว       เนื้อเดียว          เนื้อผสม

   ขนาดเส้นผ่าน    น้อยกว่า 10-7 cm 10-7   ถึง 10-4cm   มากกว่า 10-4cm
ศูนย์กลางของอนุภาค
    การลอดผ่าน             ได้              ได้              ไม่ได้
   กระดาษกรอง
 การลอดผ่านถุงเซล          ได้             ไม่ได้            ไม่ได้
       โลเฟน
    ปรากฏการณ์           ไม่เกิด           เกิด              เกิด
      ทินดอลล์
กิจกรรม 2.6
การตรวจสอบขนาดของ
      เนื้อสาร
จุดประสงค์
1.ส้ารวจ สังเกต อธิบายสมบัติและยกตัวอย่างสาร
  แขวนลอย คอลลอยด์ และสารละลายที่ พ บใน
  ชีวิตประจ้าวัน
2.ทดลองและเปรียบเทียบขนาดของอนุภาคสาร โดย
  ใช้กระดาษกรองและเซลโลเฟน
3.จั ดกลุ่ มสารโดยใช้ อนุ ภาคสารเป็ นเกณฑ์ ในการ
  จัดเป็นสารแขวนลอย คอลลอยด์ และสารละลาย
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1.   น้้าโคลนหรือน้้าแป้งดิบ   200 cm3
2.   นมสดหรือน้้าแป้งสุก       200 cm3
3.   น้้าหวานที่ใส่สี          200 cm  3

4.   บีกเกอร์ขนาด 250 cm     3 6 ใบ
5.   กระดาษกรองขนาด 11cm       3 แผ่น
6.   กระดาษเซลโลเฟนขนาด 10x10cm 3 แผ่น
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
7.    กรวยพลาสติก          1 อัน
8.    ขวดรูปกรวยขนาด 250   1 อัน
9.    แท่งแก้วคนสาร        1 อัน
10.   ขาตั้งพร้อมที่จับ    1 ชุด
11.   ยางรัดของ            3 เส้น
12.   ช้อนตักสารเบอร์ 2    1 อัน
วิธีการทดลอง
ผลการทดลอง
                                              ผลที่สงเกต
                                                    ั
            ลักษณะของเหลว
สารตัวอย่าง                   เมื่อกรองด้วย                   เมื่อผ่าน
               ที่สังเกตได้
                              กระดาษกรอง                   ถุงเซลโลเฟน
น้้าแป้งดิบ

น้้าแป้งสุก

 น้้าหวาน
ผลการทดลอง
                                                 ผลที่สงเกต
                                                       ั
              ลักษณะของเหลว
สารตัวอย่าง                    เมื่อกรองด้วยกระดาษกรอง เมื่อผ่านถุงเซล
                 ที่สังเกตได้
                                                        โลเฟน
 น้้าแป้งดิบ สีขาวขุ่น มีตะกอน มีตะกอนขาวติดอยู่บน      น้้าในบีกเกอร์ไม่
                               กระดาษกรอง และได้        เปลี่ยนแปลง
                               ของเหลวใส
 น้้าแป้งสุก ของเหลวขุ่น       ไม่มีสารตกค้างบนกระดาษ น้้าในบีกเกอร์ไม่
             เล็กน้อย ไม่มี    กรอง และได้ของเหลวขุ่น เปลี่ยนแปลง
             ตะกอน             เล็กน้อย
  น้้าหวาน ของเหลวใสมีสี       ได้ของเหลวใสมีสีเดียวกับ น้้าในบีกเกอร์มีสี
                               น้้าหวาน                 เดียวกับน้้าหวาน
สรุปผลการทดลอง
น้้าแป้งดิบ   สารแขวนลอย
น้้าแป้งสุก   คอลลอยด์
น้้าหวาน      สารละลาย
•เขียนสรุปแนวความคิดหลักที่ได้เรียนรู้
•เขียนสิ่งที่จะน้าไปใช้ประโยชน์ 2 เรื่อง
•เขียนค้าถามสิ่งที่ยังสงสัยจากการเรียนรู้
 1 ค้าถาม
สาร เนื้อสารเป็นเกณฑ์
  สารเนื้อเดียว         คอลลอยด์    สารเนื้อผสม
สารละลาย สารบริสุทธิ์                สารแขวนลอย

        ธาตุ      สารประกอบ

โลหะ    อโลหะ      กึ่งโลหะ
สาร
                            ความบริสุทธิ์เป็นเกณฑ์
  สารบริสุทธิ์                        สารผสม
ธาตุ   สารประกอบ        สารเนื้อเดียว คอลลอยด์ สารเนื้อผสม

โลหะ   อโลหะ กึ่งโลหะ       สารละลาย         สารแขวนลอย

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกพัน พัน
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3oraneehussem
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรตJariya Jaiyot
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2Wichai Likitponrak
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมmedfai
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 

Mais procurados (20)

ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรต
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 

Semelhante a บทที่ 3 สารละลาย

บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวNang Ka Nangnarak
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวmedfai
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารkrupornpana55
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารnetzad
 
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546Trd Wichai
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11melody_fai
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11Jar 'zzJuratip
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่npapak74
 
Ex solution
Ex solutionEx solution
Ex solutionAompipak
 

Semelhante a บทที่ 3 สารละลาย (19)

Substance2
Substance2Substance2
Substance2
 
Subst 1
Subst 1Subst 1
Subst 1
 
Subst 1
Subst 1Subst 1
Subst 1
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัว
 
Substance classification
Substance classificationSubstance classification
Substance classification
 
เทคนิคสีน้ำ
เทคนิคสีน้ำเทคนิคสีน้ำ
เทคนิคสีน้ำ
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียว
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
 
LOC
LOCLOC
LOC
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
San
SanSan
San
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
 
Ex solution
Ex solutionEx solution
Ex solution
 
Concentration 2018
Concentration 2018Concentration 2018
Concentration 2018
 

Mais de Nang Ka Nangnarak

บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวNang Ka Nangnarak
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานNang Ka Nangnarak
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบNang Ka Nangnarak
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552Nang Ka Nangnarak
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการNang Ka Nangnarak
 
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการแบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการNang Ka Nangnarak
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยNang Ka Nangnarak
 
โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554Nang Ka Nangnarak
 
คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554Nang Ka Nangnarak
 
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1Nang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)Nang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้าNang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตNang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอมดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอมNang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าNang Ka Nangnarak
 

Mais de Nang Ka Nangnarak (20)

Vitdoc11 10-55p1
Vitdoc11 10-55p1Vitdoc11 10-55p1
Vitdoc11 10-55p1
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัว
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบ
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการแบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
 
15 มาตรฐาน
15 มาตรฐาน15 มาตรฐาน
15 มาตรฐาน
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
 
โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554
 
คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554
 
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
 
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
 
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
 
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
 
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอมดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 

บทที่ 3 สารละลาย

  • 1. บทที่ 3 สารละลาย Teacher : Miss Thidarat Soyjak The learning area of Science Yasothonpittayakom school
  • 3. จุดประสงค์ 1. ทดลองและอธิ บ ายองค์ ประกอบของ สารละลาย 2. อธิบายวิธีตรวจสอบองค์ประกอบของ สารละลาย
  • 4. วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 1. น้้าเชื่อม 1% โดยมวลต่อปริมาตร 1 cm3 2. น้้าเกลือ 1% โดยมวลต่อปริมาตร 1 cm3 3. น้้าอัดลม 1 cm 3 4. จานหลุมโลหะ 1 ใบ 5. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กั้นลม และตะแกรงลวด 1 ชุด
  • 5. การเตรียมตัวล่วงหน้า เตรียมสารละลายต่าง ๆ ดังนี้ 1. น้้าเชื่อม 1% โดยมวลต่อปริมาตร น้าน้้าตาลทราย 1 g มาละลายในน้้าให้มีปริมาตรเป็น 100 cm3 2. น้้าเกลือ 1% โดยมวลต่อปริมาตร น้าเกลือแกง 1 g มาละลายในน้้าให้มีปริมาตรเป็น 100 cm3 3. น้้าอัดลมให้ใช้น้าอัดลมชนิดที่ไม่ผสมสี ที่มีจ้าหน่าย ในท้องตลาดและเวลาจะใช้จึงเปิดขวดน้้าอัดลม
  • 6. ข้อเสนอแนะ 1. การต้ ม ของเหลวในจานหลุ ม โลหะ ให้ สั ง เกตการ เปลี่ยนแปลงตั้งแต่เริ่มต้นของเหลว ต้องคอยระวังอย่า ให้ ข องเหลวเดื อ ดแรงเกิ น ไป เพราะของเหลวจะ กระเด็นหรือรวมกับของเหลวในจานหลุมอื่นได้ 2. การใช้ ตะเกียงแอลกอฮอล์ให้ ใส่แอลกอฮอล์ ประมาณ 2/3 ของตะเกียง ไม่ควรดึงไส้ตะเกียงขึ้นมาสูงเกินไป เมื่อจะจุดตะเกียงให้จุดด้วยไม้ขีดไฟ ห้ามยกตะเกียงจุด ต่อกัน เมื่อจะดับตะเกียงให้ใช้ปิดด้วยฝาครอบตะเกียง
  • 8. ผลการทดลอง ของเหลว ผลที่สงเกตได้กอนให้ความร้อน ั ่ ผลที่สงเกตได้เมือให้ความร้อนจนแห้ง ั ่ น้้าเชื่อม น้้าเกลือ น้้าอัดลม
  • 9. ผลการทดลอง ของเหลว ผลที่สงเกตได้กอนให้ ั ่ ผลที่สงเกตได้เมือให้ความร้อนจนแห้ง ั ่ ความร้อน น้้าเชื่อม ของเหลวใส ไม่มีสี หรือ มีตะกอนสีน้าตาลอ่อนหรือสีน้าตาลเข้มอยู่ก้นจาน สีน้าตาลอ่อน หลุม (ขึ้นอยู่กับความร้อน ถ้าความร้อนสูงจะได้สี (ขึ้นอยู่กับสีน้าตาลที่ใช้) น้้าตาลเข้ม) น้้าเกลือ ของเหลวใส ไม่มีสี มีตะกอนละเอียดสีขาว อยู่ก้นจานหลุม น้้าอัดลม ของเหลวใส ไม่มีสี มีตะกอนละเอียดสีขาวหรือสีน้าตาลอ่อนอยู่ก้นจาน (อาจเห็นฟองแก๊ส) หลุม
  • 10. สรุปผลการทดลอง - ลักษณะของเหลวที่สังเกตได้ก่อนให้ความร้อน น้้าเชื่อม น้้าเกลือ น้้าอัดลม เป็นของเหลวใสเนื้อเดียว ไม่มีสี เมื่อน้า ของเหลวไปให้ ความร้ อนจนแห้ง ทั้งน้้าเชื่อม น้้าเกลือ และ น้้ า อั ด ลม มี ส ารที่ เ ป็ น ของแข็ ง เหลื อ อยู่ แสดงว่ า น้้ า เชื่ อ ม น้้ า เกลื อ น้้ า อั ด ลม มี อ งค์ ป ระกอบมากกว่ า หนึ่ ง ชนิ ด ประกอบด้วยตัวท้าละลายซึงเป็นน้าระเหยไป และตัวละลายเป็น ่ ้ ของแข็งอย่างน้อยหนึ่งชนิด
  • 11. สรุปผลการทดลอง สรุปได้ว่าสารละลายเป็นสารผสมประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ตัวท้าละลายที่มีปริมาณมากที่สุดในของผสมและตัวละลาย ที่อาจมีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ได้ การให้ ความร้อนแก่สารละลายจนของเหลวระเหยกลายเป็นไอแห้ง หมด ใช้ตรวจสอบองค์ประกอบของสารละลายได้ เป็นวิธีแยก สารโดยให้ความร้อน เรียกว่า การระเหยแห้ง เป็นวิธีที่ใช้ ตรวจสอบได้ดีกับตัวละลายที่เป็นของแข็งระเหยยาก
  • 12. ? สิ่งที่เหลืออยู่บนจานหลุมโลหะแต่ละหลุม เหมือนหรือต่างกันอย่างไร - ต่างกัน ขึ้นอยู่กับชนิดของของเหลวตัวอย่าง ดังนี้ - น้้าหวานจะมีตะกอนสีน้าตาลอ่อน ซึ่งเป็นน้้าตาล ถ้า ความร้อนสูงอาจได้สีน้าตาลเข้มหรือน้้าตาลไหม้ - น้้าเกลือ จะมีตะกอนละเอียดสีขาว ซึ่งเป็นเกลือ - น้้าอัดลม จะมีตะกอนละเอียดสีขาว อาจเป็นน้้าตาล แต่มีปริมาณไม่มากนัก
  • 13. ? มีสารเหลืออยู่ในหลุมทุกหลุมหรือไม่ เพราะ เหตุใด - มีสารเหลืออยู่ทุกหลุม เพราะของเหลวที่น้ามาระเหย แห้งนั้นเป็นสารละลายที่มีตัวท้าละลายเป็นน้้า และตัว ละลายเป็นของแข็งระเหยยากอยู่ด้วย จึงเหลือสารค้าง ที่จานหลุมโลหะ
  • 14. ? เราจะมีวิธีการตรวจสอบองค์ประกอบของ สารละลายเหล่านี้ได้อย่างไร - เช่น น้าสารละลายไประเหยแห้งหรือน้าไปกลั่น ซึ่งจะ ตรวจสอบได้ว่ามีองค์ประกอบชนิดเดียวหรือมากกว่า หนึ่งชนิด ซึ่งจะใช้ได้เฉพาะตัวละลายที่ระเหยได้ยาก
  • 15. ? น้้าหวานและน้้าอัดลมเป็นสารละลายมี องค์ประกอบเพียง 2 ชนิด หรือไม่ เพราะเหตุใด - น้้าเชื่อมและน้้าอัดลมบอกได้ว่ามีองค์ประกอบอย่างน้อย 2 ชนิด เพราะจากการทดลอง น้้าเชื่อมจะมีตะกอนสี น้้าตาลอ่อนเหลื ออยู่ และน้้าอัดลมมมีตะกอนละเอียดสี ขาวเหลื ออยู่ แต่ยังไม่ตรวจสอบว่าตัวละลายหรือน้้าที่ ระเหยไปมี อ ะไรปนอยู่ ด้ วยหรื อ ไม่ หรื อ ตะกอนที่ เ หลื อ อาจจะมีสารมากกว่า 1 ชนิด
  • 16. ? ในกรณีน้าสารตัวอย่างมาระเหยแห้งบนจาน หลุมโลหะแล้ วพบว่าไม่เหลือสารใด ๆ จะสรุป สารตั ว อย่ า งมี อ งค์ ป ระกอบเพี ยงชนิ ด เดี ยวได้ หรือไม่ เพราะเหตุใด - ยังสรุปไม่ได้ เพราะสารตัวอย่างนั้นอาจประกอบด้วย สารชนิดเดียวหรือหลายชนิดที่ระเหยง่ายเมื่อได้รับความ ร้อน เช่น แก๊สหรือของเหลว เมื่อน้าไประเหยแห้งจะไม่มี สารใดเหลืออยู่เลย
  • 17. ? ถ้าน้าดินมาผสมกับน้้าจะเป็นสารผสมประเภท ใด เพราะเหตุใด - สารเนื้อผสมที่ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน เพราะดินไม่ละลายน้้า หรือละลายได้น้อยมาก ซึ่งเมื่อผสมกันจะได้ของเหลวขุ่น หรือน้้าโคลน เมื่อทิ้งไว้จะตกตะกอนนอนก้นและสามารถ แยกดินออกจากน้้าได้โดยการกรอง
  • 18. ? สมบัติของตัวท้าละลายและตัวละลายมีผลต่อ การละลายของสารหรือไม่ อย่างไร - มี สารบางอย่างไม่ละลายในน้้าเย็นแต่ละลายในน้้าร้อน เช่น เครื่องดื่มซองหรือชากาแฟบางชนิดที่ต้องผสมน้้า ร้อนในการดื่ม สารบางอย่างละลายในน้้า แต่ไม่ละลาย ในน้้ามัน เช่น น้้าตาลทราย สมบัติเหล่านี้จึงน้าไปใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจ้าวัน
  • 19. การละลายของตัวละลายในตัวท้าละลายและ การน้าการระเหยแห้งไปใช้ในชีวิตประจ้าวัน - เช่น การท้าน้้าตาลมะพร้าว การผลิตเครื่องดื่ม ที่เปลี่ยนจากสารละลายเป็นเป็นเครื่องดื่มชนิด ผง เช่น ขิงผง เก๊กฮวยผง มะตูมผง เห็ดหอม ผง ชาผง กาแฟผง เป็นต้น
  • 22. จุดประสงค์ ทดลองและอธิ บ ายการละลาย ของตั ว ละลายชนิ ด เดี ย วกั น ในตั ว ท้ า ละลายต่ างชนิด และการละลายของตัว ละลายต่ า งชนิ ด ในตั ว ท้ า ละลายชนิ ด เดียวกัน
  • 23. วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 1. เอทานอล 6 cm3 2. น้้ากลั่น 30 cm3 3. น้้าตาลทราย 2 ช้อนเบอร์ 1 4. หลอดทดลองขนาดกลาง 2 หลอด 5. กระบอกตวงขนาด 10 cm3 1 อัน 6. ที่ตั้งหลอดทดลอง 1 ชุด
  • 24. ข้อเสนอแนะ 1. ปริมาณสารที่ ใช้ ถ้าเป็ นของเหลว อาจใช้ หลอดหยด จ้านวน 20 หยดแทน 1 cm3 2. การตวงสารโดยใช้กระบอกตวงให้วัดปริมาตรสารที่ ระดับสายตาและระดับของเหลวอยู่ส่วนโค้งต่้าสุดตาม ปริมาตรที่ต้องการ 3. การตวงสารโดยใช้ช้อนตักสาร ให้ตวงสารเต็มช้อน แล้วปาดด้วยด้ามช้อนตวงอีกอันหนึ่งให้พอดีขอบช้อน ตามขนาดช้อนตวงที่ต้องการ
  • 25. 4. ข้อเสนอแนะนั้น ให้เขย่า การเขย่าขวดทดลองเพื่อให้สารผสมกัน โดยเคาะหลอดที่บรรจุสารกับฝ่ามือจะช่วยให้สารผสม กันได้ง่ายขึ้น โดยเขย่าแต่ละครั้งนานประมาณ 1 นาที อย่าเขย่าแรงเกินไปเพราะสารอาจกระเด็นออกนอก หลอดทดลอง หรือเขย่าเบาเกินไป สารจะไม่ผสมกันหรือ ผสมกันได้ช้ามาก และเขย่าแต่ละหลอดให้เหมือนกัน
  • 27. ผลการทดลองตอนที่ 1 ตัวละลาย ผลทีสงเกตได้เมือละลายในตัวท้าละลาย ่ ั ่ น้้า เอทานอล (หลอดที่ 1) (หลอดที่ 2) น้้าตาลทราย
  • 28. ผลการทดลองตอนที่ 1 ตัวละลาย ผลทีสงเกตได้เมือละลายในตัวท้าละลาย ่ ั ่ น้้า เอทานอล (หลอดที่ 1) (หลอดที่ 2) น้้าตาลทราย น้้าตาลทรายหายไปเป็นของเหลว น้้าตาลทราย ไม่ละลาย ใส ไม่มีสี เนื้อเดียวกัน
  • 29. สรุปผลตอนที่ 1 น้้าตาลทรายละลายได้ดีในน้้า น้้าเป็นตัวท้า ละลาย และน้้ าตาลทรายเป็ น ตั ว ละลาย แต่ ไ ม่ ละลายในเอทานอล แสดงว่ า ตั ว ละลายชนิ ด เดียวกันละลายได้ไม่เท่ากันในตัวท้าละลายต่าง ชนิดกัน
  • 30. ผลการทดลองตอนที่ 2 ตัวท้า ผลทีสงเกตได้เมือเติมตัวละลาย ่ ั ่ ละลาย เอทานอล น้้ามันพืช น้้าตาล ดินเหนียว คอปเปอร์ ทราย บดละเอียด ซัลเฟต น้้า
  • 31. ผลการทดลองตอนที่ 2 ตัวท้า ผลทีสงเกตได้เมือเติมตัวละลาย ่ ั ่ ละลาย เอทานอล น้้ามันพืช น้้าตาล ดินเหนียว คอปเปอร์ ทราย บดละเอียด ซัลเฟต น้้า ละลายได้ ไม่ละลาย ละลายได้ ไม่ละลาย ละลายได้ ของเหลวใส แยกชั้น ของเหลว สารมี ของเหลว เป็นเนื้อเดียว ใสเป็นเนื้อ ลักษณะขุ่น ใส สีฟ้า เดียว ขาว มี เป็นเนื้อ ตะกอนอยู่ที่ เดียว ก้นหลอด
  • 32. สรุปผลตอนที่ 2 น้้าตาลทรายละลายได้ดีในน้้า น้้าเป็นตัวท้า ละลาย และน้้ าตาลทรายเป็ น ตั ว ละลาย แต่ ไ ม่ ละลายในเอทานอล แสดงว่ า ตั ว ละลายชนิ ด เดียวกันละลายได้ไม่เท่ากันในตัวท้าละลายต่าง ชนิดกัน
  • 33. ? ท้าไมเรือที่ท้าจากเหล็กจึงลอยที่ ผิวน้้าได้ - มวลต่ อ ปริ ม าตรหรื อ ความหนาแน่ น ของเรือน้อยกว่าน้้า
  • 35. สรุปผลการทดลอง ขณะที่น้าแข็งก้าลังหลอมเหลว กราฟเป็นเส้นขนานกับ แกนนอน และเมื่อน้้าแข็งหลอมเหลวหมดแล้ว เส้นกราฟ มี ลั ก ษณะชั น ขึ้ น เป็ น เส้ น ตรง เมื่ อ น้้ า เดื อ ดเป็ น ไอน้้ า เส้นกราฟจะขนานกับแกนนอน ช่วงที่อุณหภูมิคงที่มี 2 ช่วง คือ ขณะที่น้าแข็งหลอมเหลว และขณะที่น้าเดือด กลายเป็นไอน้้า อธิบายได้ว่าความร้อนที่น้าได้รับถูกใช้ไป ท้าให้น้าแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นน้้า และน้้าเปลี่ยนสถานะ เป็นไอน้้า อุณหภูมิจึงคงที่
  • 36. ? น้้าผสมน้้าแข็งมีการเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิและสถานะอย่างไร - ขณะที่ น้ า แข็ ง ก้ า ลั ง หลอมเหลวเป็ น น้้ า น้้ า แข็ ง จะเปลี่ ย นสถานะจากของแข็ ง เป็ น ของเหลว แต่ อุณหภู มิจะไม่ เปลี่ยนแปลง คื อ 0 ๐C คงที่ จากนั้นเมื่อน้้าหลอมเหลวอุณหภูมิ จะสูงขึ้นเรื่อยๆ จนเท่ากับอุณหภูมิห้อง
  • 37. ?จุดเดือดและจุดหลอมเหลว เป็นสมบัติเฉพาะตัวของสารหรือไม่ - ใ ช่ เ ช่ น มี เ ท น มี จุ ด เ ดื อ ด แ ล ะ จุ ด หลอมเหลวไม่เท่ากับโพรเพนและบิวเทน และ ไม่เท่ากับสารอื่นๆ เช่น น้้า แอลกอฮอล์
  • 38. ? ตาราง 2.3 มีสารใดบ้าง มี ส ถานะเป็ น ของแข็ ง ที่ อุ ณ หภู มิ 25 ๐C - โซเดียม
  • 39. ? ถ้าต้องการเก็บเอทิลอีเทอร์ที่ เป็ นของเหลวโดยให้ กลายเป็ นไอ น้อยที่สุด ควรจะเก็บไว้ที่อุณหภูมิ ประมาณเท่าไร เพราะเหตุใด - ต่้ากว่าจุดเดือด คือ 34.4 ๐C
  • 40. ของเหลว การแข็งตัว การควบแน่น การระเหิด ของแข็ง แก๊ส การระเหิดกลับ
  • 45. จุดประสงค์ 1. ทดลองและอธิบายการถ่ายโอนความ ร้อนของน้้า 2. อธิบายการพาความร้อนของน้้า 3. ยกตัวอย่างการน้าความรู้เรื่องการน้า ความร้อนไปใช้ประโยชน์
  • 46. วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 1. ด่างทับทิม ช้อนเบอร์ 1 2. น้้ากลั่น 250 cm 3 3. บีกเกอร์ขนาด 250 cm3 1 ใบ 4. เทอร์มอมิเตอร์ 2 อัน 5. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กั้นลม และตะแกรงลวด 1 ชุด 6. ขาตั้งและที่จับหลอดทดลอง 2 ชุด
  • 48. ผลการทดลอง เวลา อุณหภูมของน้า (๐ อุณหภูมของน้า ิ ้ ิ ้ การเปลียนแปลงทีสงเกตได้ ่ ่ ั (วินาที) C) ที่กนบีกเกอร์ (๐C) ที่ผิวน้า ้ ้ 0 30 28 เกล็ดด่างทับทิมจมลงที่ก้นบีกเกอร์ 30 32 29 เกล็ดด่างทับทิมละลายสารละลายมีสีม่วง 60 35 31 สีม่วงเคลื่อนที่ลอยขึ้น 90 38 35 สีม่วงเคลื่อนที่ลอยขึ้นเป็นทางยาว 120 40 38 สีม่วงเคลื่อนที่ลอยขึ้นถึงผิวบนแล้ววนลงมา 150 43 40 สีม่วงเคลื่อนที่วนลงมาแล้วขึ้นไปคล้ายวงกลม และกระจายสารละลายเป็นสีชมพู
  • 49. ผลการทดลอง เวลา อุณหภูมของน้า (๐ อุณหภูมของน้า ิ ้ ิ ้ การเปลียนแปลงทีสงเกตได้ ่ ่ ั (วินาที) C) ที่กนบีกเกอร์ (๐C) ที่ผิวน้า ้ ้ 180 45 43 สีชมพูเคลื่อนที่ลักษณะเดียวกับสีม่วง เคลื่อนไปที่ผิวน้้าและวนลงมาด้านล่าง 210 46 44 สีชมพูกระจายในสารละลายบางส่วน 240 49 48 สีชมพูกระจายในสารละลายเพิ่มขึ้น 270 50 49 สีชมพูกระจายในสารละลายส่วนใหญ่ 300 51 51 สารละลายสีชมพูกระจายทั่วบีกเกอร์
  • 50. สรุปผลการทดลอง การกระจายสีของด่างทับทิมในน้้ามีการเปลี่ยนแปลง สี ของด่ า งทั บ ทิ ม จะเคลื่ อ นที่ จ ะเคลื่ อ นที่ จ ากก้ น บี ก เกอร์ ลอยตั ว สู ง ขึ้ น แล้ ววนกลั บมาที่ ก้ น บี กเกอร์ อี ก เพราะ อนุภาคน้้าที่พาสีของด่างทับทิมด้านล่างจะพาความร้อน มาด้ ว ย ท้ า ให้ อ นุ ภาคน้้ า ที่ อ ยู่ ร อบๆ มี ความหนาแน่ น มากกว่า เข้าแทนที่อุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์อันบนจึง สูงขึ้น และสีของด่างทับทิมจะกระจายทั่วบีกเกอร์
  • 52. จุดประสงค์ 1. ทดลองการถ่ า ยโอนความร้ อ นของ โลหะ 2. อธิบายการน้าความร้อนของโลหะ 3. ยกตัวอย่างการน้าความรู้เรื่องการน้า ความร้อนไปใช้ประโยชน์
  • 53. วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 1. เทียนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เล่ม 1x15 cm 2. แผ่นอะลูมิเนียมขนาด 2x20 cm 1 แผ่น 3. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กั้นลม และตะแกรงลวด 1 ชุด 6. ขาตั้งและที่จับหลอดทดลอง 1 ชุด
  • 56. สรุปผลการทดลอง หยดเทียนที่อยู่ใกล้เปลวไฟตกมาก่อน เนื่องจากความร้อน ถ่ายโอนไปยังอนุภาคของอะลูมิเนียมที่อยู่ใกล้เปลวไฟก่อน ท้าให้ อนุ ภาคของอะลู มิเนี ยมสั่ นมากขึ้ น และไปชนกั บ อนุภาคที่อยู่ติดกัน ท้าให้อนุภาคที่อยู่ติดกันสั่นมากขึ้น ท้า ให้ความร้อนถ่ายโอนจากปลายด้านหนึ่งไปสู่ปลายอีกด้าน หนึ่ ง ได้ โดยการสั่ น ของอนุ ภ าค เรี ย กการถ่ า ยโอน พลังงานนี้ว่า การน้าความร้อน
  • 57. ? หยดเทียนมีการเปลี่ยนแปลง อย่างไร เพราะเหตุใด - ความร้อนจากโลหะอะลูมิเนียมจะถ่ายโอน ความร้อนให้หยดเทียนหลอมละลายหยดลงมา เพราะโลหะได้รับความร้อนจากแอลกอฮอล์ท้า ให้อนุภาคโลหะสั่นมากขึ้น แล้วชนกับอนุภาคที่ ติดกันสั่นมากขึ้นตามไปด้วย
  • 58. ? อะลูมิเนียม ทองแดง เหล็ก แก้ว วัสดุใดมีความสามารถในการน้า ความร้อนได้ดีกว่ากัน มีวิธีการตรวจสอบ เพื่อหาค้าตอบได้อย่างไร - มากไปน้ อ ย คื อ ทองแดง อะลู มิ เ นี ย ม เหล็ก แก้ว
  • 59.  ฉนวนความร้อน คือ วัตถุที่น้าความ ร้อนได้น้อยมาก เช่น ไม้ พลาสติก อากาศ  ตัวกลาง คือ อนุภาคทีเป็นตัวส่งผ่าน ่
  • 60. ตารางการน้าความร้อนและฉนวน ความร้อนของร้อน จากมากไปน้อย ตัวน้าความร้อน ฉนวนความร้อน เงิน สุญญากาศ ทองแดง อากาศ อะลูมิเนียม คอร์ก เหล็ก แก้ว ตะกั่ว น้้า
  • 61. กิจกรรม 2.5 การดูดซับความร้อนของ วัตถุที่มีสีผิวต่างกัน
  • 62. จุดประสงค์ 1. ทดลองสีของวัตถุกับการรับพลังงานความร้อน 2. ทดลองการถ่ายโอนความร้อนโดยการแผ่รังสี 3. อธิบายการถ่ายโอนความร้อนโดยการแผ่รังสี 4. ยกตัวอย่างการแผ่รังสีไปใช้ประโยชน์
  • 63. วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 1. แผ่นโลหะชนิดแข็ง 2 แผ่น มีขนาดเท่ากัน แผ่นหนึ่งสีขาว และอีกแผ่นทาสีด้า มีที่ติดเทอร์มอมิเตอร์ตรงกลาง 2 แผ่น 2. เทอร์มอมิเตอร์ 2 อัน 3. หลอดไฟ 1 ดวง
  • 66. สรุปผลการทดลอง ความร้อนจากหลอดไฟเป็นความร้อนจากรังสีอิน ฟาเรด เป็ น คลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า โลหะทั้ ง สองสี มี ความสามารถในการดูดซับความร้อนจากรังอิน ฟาเรด ได้ แตกต่ างกัน โลหะสีด้าจะดูดซับความร้ อนได้ดีกว่า โลหะสีขาว การถ่ายโอนความร้อนโดยไม่มีตัวกลาง เรียกว่า การแผ่รังสี
  • 67. ? วิธีใดเปรียบได้กับการถ่ายโอนความร้อน แบบการน้า การพา และการแผ่รงสี ั - แบบที่ 1 การน้าความร้อน เพราะสิ่งของที่ส่งไปนั้น ผู้ส่งไม่เคลื่อนที่ - แบบที่ 2 การพาความร้อน เพราะสิ่งของที่ส่งมี ผู้น้าไปส่งท้าให้เคลื่อนที่ไป - แบบที่ 3 การแผ่รังสี เพราะสิ่งของที่ส่งนั้น ไม่ได้ อาศัยตัวกลางในการส่ง
  • 68. ? ความรู้เรื่องการน้าและการพาความร้อน น้ามาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ้าวันได้อย่างไร - การติดเครื่องปรับอากาศในห้องท้างาน - การต้มน้้าแบบขดลวด - กระติกเก็บน้้าร้อน
  • 70. สารเนื้อเดียว คือ สารที่มีองค์ประกอบ และสมบัติของ สารเหมือนกันทุกส่วน มองด้วยตาเปล่า คล้ายเป็นสารเพียงชนิดเดียว อาจเป็น สารเพียงชนิดเดียวหรือหลายชนิดก็ ได้ ได้แก่
  • 71. • สารบริสุทธิ์ ( ธาตุ, สารประกอบ ) เป็นสารเพียงชนิดเดียวไม่มีสารอื่นเจือปน มีสมบัติ เฉพาะตัวคงที่ และเมื่อสลายตัวให้สารใหม่มีสมบัติ แตกต่างไปจากเดิม • สารละลาย ( ของผสมเนื้อเดียว ) ประกอบด้วยตัวถูกละลาย และตัวท้าละลายปนกัน กลมกลืน มีสมบัติเปลี่ยนแปลงตามอัตราส่วนของตัวถูก ละลายและตัวท้าละลาย
  • 72. • สารเนือผสม คือ สารที่มีเนื้อไม่กลมกลืนกันตลอด ้ (แต่อาจมองเห็นไม่ชัด)เกิดจากการผสมสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปเข้าด้วยกัน ได้แก่  สารคอลลอยด์ เกิดจากอนุภาคของสารขนาดเล็กๆ เส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 10-7 ถึง 10-4 cm. กระจายปนอยู่ในตัวกลางได้โดยไม่ตกตะกอน สารทีมอนุภาคขนาด ่ ี นี้สามารถผ่านกระดาษกรองได้ แต่ผ่านแผ่นเซลโลเฟนไม่ได้ เช่น นมสด วุ้น เจลลี่ หมอก สเปรย์ เป็นต้น สารแขวนลอย คือ สารเนือผสมทีมอนุภาคองค์ประกอบขนาดใหญ่กว่า 10-4 cm. แขวนลอย ้ ่ ี อยู่ในตัวกลาง เมื่อทิงไว้จะตกตะกอนได้เอง ไม่สามารถผ่านกระดาษกรอง ้
  • 73. สมบัติทั่วไปของคอลลอยด์ 1. เมื่อผ่านล้าแสงเกิดปรากฏการณ์ Tyndall effect 2. อนุภาคมีการเคลือนที่แบบบราวน์เนียน ่ 3. อนุภาคคอลลอยด์มประจุไฟฟ้า อาจเป็นบวกหรือลบก็ได้ ี ซึ่งสามารถถูกดูดด้วยขัวไฟฟ้าตรงกันข้ามในสนาม ้ 4. อนุภาคโดยทัวจะไม่ตกตะกอน เพราะมีการเคลือนที่ ่ ่ ตลอดเวลา 5. อาจกล่าวโดยสรุป คอลลอยด์จะมีสมบัตเกียวกับแสง ิ ่ การเคลื่อนทีและสมบัตทางประจุไฟฟ้า ่ ิ
  • 74. ชนิดของคอลลอยด์ คอลลอยด์มีหลายชนิด มีชื่อเรียกต่างๆกัน ขึ้นอยู่กับสถานะ อนุภาคกับสถานะของตัวกลาง 1 .แอโรซอล เป็นคอลลอยด์ที่มีสถานะอนุภาคเป็นของแข็ง หรือของเหลวในสถานะของตัวกลางที่เป็นก๊าซ ตัวอย่างเช่น เมฆ หมอก ฝุ่นละอองในอากาศ 2.เจล เป็นคอลลอยด์ที่มีสถานะอนุภาคเป็นของแข็งในสถานะ ตัวกลางที่เป็นของเหลวตัวอย่างเช่น เยลลี่ วุ้น ยาสีฟัน แยม
  • 75. ชนิดของคอลลอยด์ 3. โฟม เป็นคอลลอยด์ที่มีสถานะของอนุภาคเป็นก๊าซ ใน สถานะตัวกลางที่เป็นทั้งของแข็งและของเหลว ตัวอย่างเช่น ฟองสบู่ ครีมโกนหนวด 4. อิมัลชัน เป็นคอลลอยด์ที่มีอนุภาคเป็นของเหลวแขวนลอยอยู่ใน ่ ตัวกลางที่เป็นของเหลว ซึ่งไม่ละลายเข้าด้วยกัน จึงต้องอาศัยสารอีก ชนิดหนึ่งมาเป็นตัวกลางเชื่อมประสานของเหลวนั้นจนละลาย เท่ากัน เป็นคอลลอยด์ ตัวเชื่อมนี้เรียกว่า อิมัลซิฟาย-เออร์ ตัวอย่าง อิมัลชั่น เช่น น้้ากับน้้ามัน โดยมีสบู่เป็นตัวเป็นตัวเชื่อม
  • 76. ชนิดของคอลลอยด์ 5. อิมัลซิฟายเออร์ คือ สารที่เติม ลงไปเพื่อท้าหน้าที่เป็นตัวเชื่อม หรือประสาน ของเหลวตั้งแต่สองชนิดขึ้นไป ให้อนุภาค กระจายไปทั่วได้ เช่น สบู่ ผงซักฟอกไข่ แดง เคซิน และน้้าดี
  • 77. การเปรียบเทียบ สารละลาย คอลลอยด์ สารแขวนลอย ตัวอย่างสาร สารละลาย CuSO4 นมสด นมสดผสมกรด ลักษณะเนื้อสาร เนื้อเดียว เนื้อเดียว เนื้อผสม ขนาดเส้นผ่าน น้อยกว่า 10-7 cm 10-7 ถึง 10-4cm มากกว่า 10-4cm ศูนย์กลางของอนุภาค การลอดผ่าน ได้ ได้ ไม่ได้ กระดาษกรอง การลอดผ่านถุงเซล ได้ ไม่ได้ ไม่ได้ โลเฟน ปรากฏการณ์ ไม่เกิด เกิด เกิด ทินดอลล์
  • 79. จุดประสงค์ 1.ส้ารวจ สังเกต อธิบายสมบัติและยกตัวอย่างสาร แขวนลอย คอลลอยด์ และสารละลายที่ พ บใน ชีวิตประจ้าวัน 2.ทดลองและเปรียบเทียบขนาดของอนุภาคสาร โดย ใช้กระดาษกรองและเซลโลเฟน 3.จั ดกลุ่ มสารโดยใช้ อนุ ภาคสารเป็ นเกณฑ์ ในการ จัดเป็นสารแขวนลอย คอลลอยด์ และสารละลาย
  • 80. วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 1. น้้าโคลนหรือน้้าแป้งดิบ 200 cm3 2. นมสดหรือน้้าแป้งสุก 200 cm3 3. น้้าหวานที่ใส่สี 200 cm 3 4. บีกเกอร์ขนาด 250 cm 3 6 ใบ 5. กระดาษกรองขนาด 11cm 3 แผ่น 6. กระดาษเซลโลเฟนขนาด 10x10cm 3 แผ่น
  • 81. วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 7. กรวยพลาสติก 1 อัน 8. ขวดรูปกรวยขนาด 250 1 อัน 9. แท่งแก้วคนสาร 1 อัน 10. ขาตั้งพร้อมที่จับ 1 ชุด 11. ยางรัดของ 3 เส้น 12. ช้อนตักสารเบอร์ 2 1 อัน
  • 83. ผลการทดลอง ผลที่สงเกต ั ลักษณะของเหลว สารตัวอย่าง เมื่อกรองด้วย เมื่อผ่าน ที่สังเกตได้ กระดาษกรอง ถุงเซลโลเฟน น้้าแป้งดิบ น้้าแป้งสุก น้้าหวาน
  • 84. ผลการทดลอง ผลที่สงเกต ั ลักษณะของเหลว สารตัวอย่าง เมื่อกรองด้วยกระดาษกรอง เมื่อผ่านถุงเซล ที่สังเกตได้ โลเฟน น้้าแป้งดิบ สีขาวขุ่น มีตะกอน มีตะกอนขาวติดอยู่บน น้้าในบีกเกอร์ไม่ กระดาษกรอง และได้ เปลี่ยนแปลง ของเหลวใส น้้าแป้งสุก ของเหลวขุ่น ไม่มีสารตกค้างบนกระดาษ น้้าในบีกเกอร์ไม่ เล็กน้อย ไม่มี กรอง และได้ของเหลวขุ่น เปลี่ยนแปลง ตะกอน เล็กน้อย น้้าหวาน ของเหลวใสมีสี ได้ของเหลวใสมีสีเดียวกับ น้้าในบีกเกอร์มีสี น้้าหวาน เดียวกับน้้าหวาน
  • 85. สรุปผลการทดลอง น้้าแป้งดิบ สารแขวนลอย น้้าแป้งสุก คอลลอยด์ น้้าหวาน สารละลาย
  • 87. สาร เนื้อสารเป็นเกณฑ์ สารเนื้อเดียว คอลลอยด์ สารเนื้อผสม สารละลาย สารบริสุทธิ์ สารแขวนลอย ธาตุ สารประกอบ โลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ
  • 88. สาร ความบริสุทธิ์เป็นเกณฑ์ สารบริสุทธิ์ สารผสม ธาตุ สารประกอบ สารเนื้อเดียว คอลลอยด์ สารเนื้อผสม โลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ สารละลาย สารแขวนลอย