SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 28
Baixar para ler offline
1

โครงการ
ขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังหวัด : อุบลราชธานี
องค์กรหลักผูรบผิดชอบโครงการ
้ ั
1. สานักบริการวิชาการชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี(ภาควิชาการ)
2. ศูนย์พฒนาสังคมหน่วยที่ 74 จังหวัดอุบลราชธานี(ภาครัฐ)
ั
3. เครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถินต้นแบบ(อปท.)
่
4. ศูนย์ประสานงานสือสร้างสุขภาวะเด็กและเยาวชนภาคอีสาน(สสอ.)
่
(เครือข่ายองค์กรทีทางานด้าน เด็กและเยาวชน)
่
5. ศูนย์ศกษาและพัฒนารูปแบบการดาเนินงานแบบจตุภาคี(เครือข่ายเด็กและเยาวชน)
ึ

ภาคีร่วมพัฒนา (ภาคีหลัก) ประกอบด้วย ภาคีขบเคลื่อนปฏิบตการและภาคีขบเคลื่อนนโยบาย ดังนี้
ั
ั ิ
ั
ภาคีขบเคลื่อนปฏิ บติการ (ระดับพื้นที่ / ตาบล / อาเภอ)
ั
ั
1. องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
2. องค์กรปกครองส่วนท้องถินในพืนทีเ่ ป้าหมายดาเนินการ
่
้
3. องค์กรปกครองส่วนท้องถินในพืนทีขยายผล
่
้ ่
4. นายอาเภอในพืนทีเป้าหมายดาเนินการ
้ ่
5. สภาเด็กและเยาวชนระดับตาบล อาเภอ และจังหวัด
6. หน่วยงานราชการในเขตพืนที่
้
7. สถานศึกษา ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวะศึกษา
8. สถาบันอุดมศึกษา ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
9. สถาบันทางสังคม ครอบครัว และองค์กรศาสนา ได้แก่ ศูนย์พฒนาครอบครัว วัด และชุมชน
ั
10. เครือข่ายผูนาชุมชน และศูนย์ประสานงานองค์กรเครือข่ายในชุมชน
้
11. ศูนย์ประสานงานสือสร้างสุขภาวะเด็กและเยาวชนภาคอีสาน (สสอ.)
่

ภาคีขบเคลื่อนนโยบาย (หน่ วยงานระดับจังหวัด)
ั
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.

หน่วยงานราชการระดับจังหวัดอุบลราชธานีทเ่ี กียวข้อง
่
สานักงานพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุษย์จงหวัด
่
ั
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ศูนย์พฒนาสังคม หน่วยที่ 74 จังหวัดอุบลราชธานี
ั
สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมเขตที่ 29
้ ่
สานักงานเขตพืนทีการประถมศึกษาอุบลราชธานีเขต 1- 5
้ ่
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย(กศน.)
เครือข่ายองค์กรด้านเด็กและเยาวชนในพืนทีจงหวัดอุบลราชธานี
้ ่ั
2







เครือข่ายองค์กรงดเหล้าภาคอีสานตอนล่างจังหวัดอุบลราชธานี
ศูนย์นวัตกรรมเพือการพัฒนาศักยภาพด้านเด็กและเยาวชน
่
เครือข่ายสืบสานภูมปญญาภาคอีสาน
ิ ั
กลุ่มสือใสวัยทีน
่
เครือข่ายเด็กและเยาวชนระดับท้องถิน
่

ภาคียทธศาสตร์ (ภาคีสนับสนุน)
ุ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุษย์
่
สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงสาธารณสุข
สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
ศูนย์วจยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (ศวช.) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ิั
ศูนย์วจยและพัฒนานวัตกรรมด้านการศึกษาเพือการพัฒนาทียงยืน คณะครุศาสตร์
ิั
่
่ ั่
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
8. ศูนย์วจยและนวัตกรรมเด็กทีมความต้องการพิเศษ คณะครุศาสตร์
ิั
่ ี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1. ความเป็ นมาและสถานการณ์ ที่เกี่ยวข้อง
สภาพแวดล้อมของเด็กและเยาวชนในจังหวัดอุบลราชธานีนน พบว่ามีสภาพแวดล้อมทีอาจก่อให้เกิด
ั้
่
ั
ั
ั
ปญหาแก่เด็กและเยาวชน ซึงจะเป็ นกาลังขับเคลื่อนอนาคตของประเทศ ไม่ว่าจะเป็ นปญหายาเสพติด ปญหา
่
การทะเลาะวิวาท เป็ นต้น ในปี 2553 นายชวน ศิรนนท์พร ผูว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี(ในขณะนัน)
ิ ั
้
้
ั
ได้เล็งเห็นความสาคัญ เกียวกับ ปญหาของเด็กและเยาวชน จึงได้ประกาศนโยบายให้จงหวัดอุบลราชธานีเป็ น
่
ั
“ปี แห่งการคุมครองเด็ก” ในปี 2553 โดยมีวตถุประสงค์เพือบูรณาการการทางานคุมครองเด็กจังหวัด
้
ั
่
้
อุบลราชธานีให้เกิดผลเป็ นรูปธรรม ให้เด็กได้รบการคุมครอง ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาศักยภาพให้เป็ นไป
ั
้
ตามวัยทีเ่ หมาะสม และสามารถปรับตัวให้อยูรอดปลอดภัยในการดารงชีวตอยูในสังคมได้อย่างปกติสข ซึงมี
่
ิ ่
ุ ่
การดาเนินงานแบบบูรณาการจากหลายภาคส่วน โดยเน้นดาเนินการในหลักการ 2 ประเด็นหลัก คือ การลด
พืนทีเ่ สียงและการเพิมพืนทีดี ในแต่ละพืนทีของจังหวัด (ทังระดับอาเภอและระดับตาบล) ซึงเป็ น
้
่
่ ้ ่
้ ่
้
่
การ
ดาเนินงานในรูปแบบสภาเด็กและเยาวชนในระดับตาบลต้นแบบ จากนโยบายดังกล่าวทาให้หน่วยงานภาครัฐ
และเอกชนหลายแห่งในจังหวัดได้นาไปสูการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ด้านเด็กและเยาวชนในจังหวัด ซึงพบว่า
่
่
ั
เกิดปญหาในการดาเนินงานดังนี้ 1) หน่วยงาน/องค์กรทีนานโยบายไปปฏิบตยงไม่เข้าใจตรงกันมากนัก
่
ั ิ ั
ในแนวทางปฏิบตจริง ซึงบุคลากรทีเ่ ข้าร่วมประชุมรับมอบนโยบายเมือกลับไปยังพืนทีตองมีการประสานงาน
ั ิ
่
่
้ ่ ้
กับหลายภาคส่วนเพือทาความเข้าใจ จึงทาให้หลายหน่วยงานไม่สามารถดาเนินการได้ รวมถึงต้องใช้เวลาและ
่
งบประมาณด้วย 2) ด้านงบประมาณดาเนินงาน ซึงหลายหน่วยงาน โดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิน
่
่
ั
จะมีปญหาเดียวกันคือไม่ได้จดทาแผนงาน/โครงการตามนโยบายดังกล่าวไว้ล่วงหน้า ส่งผลทาให้ไม่ม ี
ั
3

งบประมาณดาเนินงานในพืนที่ 3) ด้านบุคลากรผูรบผิดชอบ เมือความเข้าใจในแนวทางปฏิบตยงไม่ชดเจน
้
้ั
่
ั ิ ั ั
ทาให้บุคลากรผูรบผิดชอบ ในการดาเนินงาน หรือผูทมาร่วมประชุมรับมอบนโยบายไม่สามารถอธิบายให้กบ
้ั
้ ่ี
ั
ผูบริหารองค์กรให้ชดเจนได้ ทาให้การดาเนินงานหยุดชะงักลง 4) หน่วยงานเจ้าภาพผูประสานงานหลัก ยัง
้
ั
้
ขาดการกระตุนหรือการติดตามการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง และยังไม่เป็ นระบบมากนักทาให้การรายงาน ผล
้
มีความล่าช้าและขาดประสิทธิภาพ และ 5) การดาเนินโครงการของแต่ละหน่วยงาน ยังขาดการบูรณาการ
เชือมโยงระหว่างหน่วยงานทีชดเจน เช่น ด้านข้อมูล ด้านกระบวนการ รวมทังด้านงบประมาณดาเนินงาน จึง
่
่ ั
้
ทาให้บางโครงการ/กิจกรรมมีความซ้าซ้อนและไม่เกิดผลทีชดเจนมากนัก
่ ั
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ถือเป็ นสถาบันการศึกษาแห่งหนึ่งในพืนทีจงหวัดอุบลราชธานีทให้
้ ่ั
่ี
ความสาคัญในการพัฒนาเด็กและเยาวชน รวมทังการพัฒนาสังคม ซึงเห็นว่าสังคมไทยกาลังเข้าสูยคท้องถิน
้
่
่ ุ
่
ภิวฒน์ (Localization) ทีเน้นความเข้มแข็งของชุมชนท้องถินในการบริหาร จัดการ ปกป้อง ดูแล และส่งเสริม
ั
่
่
ศักยภาพของคนรุนใหม่ตลอดจนเด็กและเยาวชน เพือให้มการสร้างกระบวนทัศน์ ค่านิยม และแนวทางของ
่
่
ี
กิจกรรมเพือความมันคงของภูมภาค การดารงรักษาสิงแวดล้อม ทรัพยากรมีคา และขนบธรรมเนียมประเพณี
่
่
ิ
่
่
วัฒนธรรมท้องถินมากยิงขึน ซึงได้กาหนดไว้ในพันธกิจทีทางมหาวิทยาลัยต้องถือเป็ นแนวปฏิบตต่อสังคม คือ
่
่ ้ ่
่
ั ิ
“ผลิตบัณฑิตทีมความรูคคณธรรมและมีทกษะทีได้มาตรฐาน เพือตอบสนองความต้องการของชุมชน ท้องถิน
่ ี
้ ู่ ุ
ั
่
่
่
และประเทศชาติ โดยการบูรณาการการวิจย การบริการวิชาการชุมชน การอนุรกษ์ศลปวัฒนธรรม
ั
ั ิ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม รวมถึงแนวคิดตามโครงการพระราชดาริผสานเข้ากับการเรียนการสอน
่
ภายใต้ระบบการบริหารจัดการทีโปร่งใสและมีประสิทธิภาพ” ยิงไปกว่านัน มหาวิทยาลัยราชภั ฏอุบลราชธานี
่
่
้
ยังมีนโยบายสาคัญในเรืองของภูมภาคลุ่มน้าโขง การเปิ ดประตูทางการศึกษาสูประชาคม ASEAN โดยเฉพาะ
่
ิ
่
ในประเทศเพือนบ้าน ได้แก่ ลาว เขมร และเวียดนาม เป็ นต้น มีการปรับปรุงหลักสูตรทุกด้านทีมงลงสูชมชน
่
่ ุ่ ่ ุ
ท้องถิน ภาษาและวัฒนธรรม ในอนุ ภมภาคลุ่ม น้าโขง การแลกเปลียนนิสตนักศึกษา การลง นาม MOU เพือ
่
ู ิ
่
ิ
่
ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยราชภั ฏอุบลราชธานีกบมหาวิทยาลัยอืนๆ ในอนุ ภมภาคลุ่ม น้าโขง เช่น
ั
่
ู ิ
มหาวิทยาลัยจาปาสัก และในปี พ.ศ. 2553 สานักบริการวิชาการชุมชน มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุบลราชธานี
ซึงมีฐานะเทียบเท่าคณะมีพนธกิจหลักในการให้บริการวิชาการแก่ชมชนทุกรูปแบบ
่
ั
ุ
ได้มแนวคิด ในการ
ี
สนับสนุนองค์กรของสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานีทมการ บริหารจัดการในรูป แบบของ “องค์กร
่ี ี
่
สาธารณะประโยชน์” เพือเปิ ดรับการพัฒนา การส่งเสริมความร่วมมือ และทุนสนับสนุนจากทุกฝาย จน
่
สามารถดาเนินการสร้างความเข้มแข็งให้กบสภาเด็กและเยาวชนระดับจังหวัด อาเภอ และระดับท้องถินได้เป็ น
ั
่
อย่างดี มีการจัดโครงการกิจกรรมต่างๆ มากมาย เช่น การสร้างเครือข่าย กลุ่มกิจกรรมด้านเด็กและเยาวชน
เป็ นต้น และมีการพัฒนามากขึน ทังในเรืองจตุภาคี อันได้แก่ สภาเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานี ยโสธร
้ ้
่
ศรีสะเกษ และอานาจเจริญ ได้ม ีการจัดกิจกรรมเชือมความสัมพันธ์กบสภาเด็กและเยาวชนในประเทศเพือน
่
ั
่
บ้าน ได้แก่ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา และประเทศสังคมนิยม
เวียดนาม เพือพัฒนาไปสูสภาเด็กและเยาวชน ASEAN ในอนุภมภาคลุ่มน้าโขงด้วย
่
่
ู ิ
ในการสร้างความเข้มแข็งด้านเครือข่าย ไปสูสภาเด็กและเยาวชนระดับอาเภอและตาบล เป็ นไปอย่าง
่
กว้างขวางส่งผลให้เกิดการสร้างความร่วมมือจากองค์กรและหน่วยงาน เป็ นเครือข่ายการทางานด้านเด็กและ
เยาวชนในพืนทีจงหวัดอุบลราชธานี แบ่งเป็ น 5 เครือข่ายทีสาคัญ คือ เครือข่ายหน่วยงานจากภาครัฐ
้ ่ั
่
เครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิน เครือข่ายด้านวิชาการ เครือข่ายองค์กร ทีทางานด้านเด็กและเยาวชน
่
่
(NGOs) และเครือข่ายเด็กและเยาวชน เช่น สภาเด็กและเยาวชนในท้องถิน ตลอดระยะเวลา 2-3 ปี ทผานมา
่
่ี ่
4

มหาวิทยาลัยราชภั ฏอุบลราชธานี มีความพร้อม ความเข้มแข็ง ให้การสนับสนุนเป็ นอย่างดีทงในเรืองของ
ั้
่
บุคลากร สถานทีตง หลักสูตรการฝึกอบรม งบประมาณบางส่วน เพือให้สภาเด็กและเยาวชนทุกระดับได้มา
่ ั้
่
ศึกษาแลกเปลียนเรียนรู้ เยียมเยือนจนเป็ นศูนย์กลาง ในระดับ ภูมภาคได้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2555 สา นักงาน
่
่
ิ
กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) ได้ให้ความร่วมมือและส่งเสริม สนับสนุนการดาเนินงานด้าน
เด็กและเยาวชนกับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีดวยดีมาโดยตลอด ประกอบกับท่าน รศ.ดร.สมพงษ์
้
จิตระดับ ซึงเป็ นผูเ้ ชียวชาญด้านเด็กและเยาวชนได้ดาเนินการวิจยภายใต้โครงการการสร้างความเป็ น
่
่
ั
พลเมืองในสภาเด็กและเยาวชนระดับท้องถินในปี 2554 ทีผานมา โดยมีพนทีจงหวัดอุบลราชธานีเป็ น
่
่ ่
้ื ่ ั
ั ั
กรณีศกษาและปจจุบนท่านยังดารงตาแหน่งเป็ นกรรมการสภาวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ึ
ด้วยความร่วมมืออันดี นี้ได้เห็นพ้องและสร้างข้อตกลงร่วมกันเพือยกระดับความเข้มแข็ง ความร่วมมือ การ
่
ประสานงาน การพัฒนาศักยภาพของเด็กและเยาวชนในมิตจตุภาคี สภาเด็กและเยาวชน ASEAN สภาเด็ก
ิ
และเยาวชนท้องถิน สร้าง HUB ด้านเด็กและเยาวชน ในอนุ ภมภาคลุ่ม น้าโขงให้ชดเจนขึน อย่างไรก็ตาม เมือ
่
ู ิ
ั
้
่
พิจารณากระบวนการดาเนินงานของหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ทัง 5 เครือข่าย พบว่า การ
้
ั
จัดกิจกรรม และการดาเนินงานเพือแก้ปญหาทีเ่ กิดขึนในแต่ละพืนทียงเป็ นการดาเนินงานทีเ่ กิดขึนเฉพาะภาคี
่
้
้ ่ ั
้
เครือข่าย หรือเฉพาะพืนทีแต่ยงไม่ได้เกิดการขยาย ผลให้เต็มพืนทีทงจังหวัด ซึงหากมีกระบวนการจัดการ
้ ่ ั
้ ่ ั้
่
ความรู้ และสนับสนุนให้เกิดการบูรณาการงานจากบทเรียนของพืนทีทประสบผลสาเร็จ และการแลกเปลียน
้ ่ ่ี
่
เรียนรูมาใช้โดยผ่านศูนย์ การเรียนรูของเครือข่าย พร้อมทังการมีหน่วยงานกลางเพือจัดการให้เกิดความ
้
้
้
่
ร่วมมือระหว่างหน่วยงาน องค์กร ภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ทีมอยู่ จะทาให้เกิดการขยายการปฏิบตการครอบคลุม
่ ี
ั ิ
ทุกพืนที่ ในทุกระดับ ตามบริบทของการดาเนินการเชิงประเด็นในแต่ละเครือข่าย ทัง 5 เครือข่าย และ
้
้
ั
ก่อให้เกิดการจัดการกับปจจัยเงือนไขซึงเป็ นข้อจากัดในการขยายพืนที่
่
่
้
ซึงจะทาให้การพัฒนาโครงการ
่
ขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนของจังหวัดอุบลราชธานีมความเป็ นไปได้ในการปฏิบติเป็ นอย่างดี
ี
ั

2. ทุนทางสังคมของงานด้านเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานี อบลราชธานี
ุ
จังหวัดอุบลราชธานีได้กาหนดวิสยทัศน์ของจังหวัด โดยใช้ชอว่า "ชุมชนเข็มแข็ง เมืองน่าอยู่
ั
่ื
เป็ นประตูการค้าและการท่องเทียว การเกษตรมีศกยภาพ" กล่าวคือ จังหวัดอุบลราชธานีมความพร้อมในการ
่
ั
ี
เป็ นจังหวั ด HUB ในอนุ ภม ิภาคลุ่มน้าโขง ในการเปิ ดประตูการค้าสูอนโดจีน ทีมยทธศาสตร์
ู
่ ิ
่ ีุ
ทีตงติดกับ
่ ั้
ประเทศเพือนบ้าน ได้แก่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และราชอาณาจักรกัมพูชา อีกทังเป็ น
่
้
จังหวัดทีอดมด้วยทรัพยากรทางธรรมชาติ และศิลปวัฒนธรรม ซึงในการกาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ในการ
ุ่
่
พัฒนาของจังหวัดอุบลราชธานี ทัง 5 ด้าน ได้แก่ การค้าชายแดน การท่องเทียว การผลิตเกษตรอินทรีย์
้
่
การพัฒนาแรงงาน และการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวต
ิ
5

ทุนเครือข่ายทางสังคม รูปธรรม และองค์ความรู้ด้านเด็กและเยาวชน
จังหวัดอุบลราชธานีมเี ครือข่ายหลัก 5 เครือข่ายในการทางานร่วมกันเพือขับเคลื่อน
่
1) เครือข่ายองค์กรภาครัฐ
การทางานของเครือข่ายองค์กรภาครัฐทีเ่ กียวข้องกับการดาเนินงานด้านการส่งเสริมการเรียนรู้
่
ของเด็กและเยาวชนในพืนทีจงหวัดอุบลราชธานีเกิดจากการตอบสนองตามนโยบายและองค์กรชุมชนในพืนที่
้ ่ั
้
ซึง ประกอบด้วย หน่วยงานของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุษย์ ศูนย์พฒนาสังคมที่
่
่
ั
74
อุบลราชธานี วัฒนธรรมจังหวัด สภาวัฒนธรรมอาเภอ สภาวัฒนธรรมจังหวัด คุมประพฤติ สาธารณสุขจังหวัด
สภาเด็กและเยาวชน ทังในระดับจังหวัด อาเภอและตาบล การศึกษานอกโรงเรียน องค์การพระผูนาพัฒนา
้
้
แผ่นดินธรรมแผ่นดินทองในจังหวัดอุบลราชธานีและบุคลากรทางด้านการศึกษา เครือข่ายเหล่านี้ได้เชือม
่
ประสานการทางานร่วมกันนาสูผลลัพธ์และผลผลิตด้านการขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนอุบลราชธานี
่
การดาเนินงานการส่งเสริมการเรียนรูดานเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานี เกิดจากการทบทวน
้ ้
และฟื้นฟูงานประเพณีดงเดิมวัฒนธรรม ฮีต 12 ครอง 14 โดยการเรียนรูสบสานจากผูสงอายุในชุมชนส่งผลให้
ั้
้ ื
ู้
เยาวชนมีจตอาสาเพิมมากขึน มีการสร้างและสนับสนุนการดาเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนในระดับ
ิ
่
้
จังหวัด อาเภอและตาบล โดยการสนับสนุนงบประมาณ หนุนเสริมการพัฒนาศักยภาพและเชือมโยงการ
่
ดาเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนจากระดับจังหวัดสูระดับตาบลอย่างเป็ นรูปธรรม โดยการทางานผ่าน
่
เครือข่ายทีมความเข้มแข็งและมีรปธรรมทีชดเจน เด็กกลุ่มเสียงได้รบการพัฒนาทักษะด้านต่างๆ ทังการเพิม
่ ี
ู
่ ั
่
ั
้
่
ั
ทักษะชีวต การเข้าค่ายการให้คาปรึกษาทางจิตวิทยา ค่ายธรรมะ กิจกรรมวิทยาลัยลูกผูชายและการปจฉิม
ิ
้
นิเทศเพือให้เกิดการปรับตัวและอยูในสังคม ชุมชนได้อย่างมีความสุข การพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิน
่
่
่
ทุรกันดารในพระราชดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามมกุฎราชกุมารี โดยมีการอบรมครูในโรงเรียน
ตารวจตระเวนชายแดน (ตชด.) การพัฒนาห้องสมุด มีนาหลักสูตรสมเด็จย่าไปปรับใช้ในโรงเรียน การพัฒนา
ั
เด็กด้านโภชนาการ สติปญญาและมีโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน นอกจากนี้ยงมีการศึกษาและพัฒนา
ั
งานวิจยด้านเด็กและเยาวชน (ภาคนิพนธ์) พัฒนาหลักสูตรทีเ่ หมาะสมสาหรับนักศึกษาและคณาจารย์ท่ี
ั
ั
มหาวิทยาลัยราชภัฃฏอุบลราชธานี เช่น หลักสูตรจิตปญญาศึกษา การพัฒนาหลักสูตรระยะสันเพือการพัฒนา
้ ่
บุคลากรด้านเด็กและเยาวชนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถินในจังหวัดอุบลราชธานี ยโสธรและ
่
อานาจเจริญ การพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางด้านการศึกษา การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเด็กด้วยภายใต้
โครงการคาราวานเสริมสร้างเด็ก ค่ายเยาวชนในพืนทีตนแบบ การดูแลช่วยเหลือและเยียวยาเด็กด้อยโอกาส
้ ่ ้
โครงการถนนเด็กเดิน
นอกจากนี้ยงมีเครือข่ายการทางานด้านเด็กและเยาวชนจากจังหวัดยโสธร ได้แก่ พัฒนาสังคมและ
ั
ความมันคงของมนุษย์จงหวัดยโสธร ได้รวมเป็ นเครือข่ายในลักษณะจตุภาคีโดยได้มการส่งเสริมให้สภาเด็ก
่
ั
่
ี
่
และเยาวชนจังหวัดยโสธรเข้าค่ายพุทธบุตรของวัดปาวังน้าทิพย์ อาเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร โดยได้รบการ
ั
อบรมจากแกนนาพีเ่ ลียง/วิทยากรเยาวชนรุนพี่ ซึงสามารถเป็ นพีเ่ ลียงในการจัดกระบวนการเรียนรูและเป็ น
้
่
่
้
้
6

แบบอย่างให้กบรุนน้องซึงส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรูและปรับปรุงตนเองจากการศึกษาพฤติกรรม
ั ่
่
้
ตนเอง ผลลัพธ์ผลผลิตทีเ่ กิดขึนคือการเรียนรูการเป็ นผูนาทีดี การฝึกทักษะชีวต และส่งเสริมคุณธรรม
้
้
้ ่
ิ
จริยธรรมของเยาวชน
7
8

2) เครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่ น
จากพฤติกรรมทีไม่พงประสงค์ของเด็กและเยาวชนมากมายหลายรูปแบบตังแต่การรูสกไม่ม ี
่ ึ
้
้ ึ
ความภาคภูมใจในถินกาเนิดของตนและภูมปญญาของบรรพบุรษรวมทังพฤติกรรมทีไม่พงประสงค์ในรูปแบบ
ิ
่
ิ ั
ุ
้
่ ึ
ั
อืนทีไม่แสดงออกในเชิงสร้างสรรค์ แต่กลับแสดงถึงความก้าวร้าวนิยมความรุนแรง สร้างปญหาให้กบสังคม
่ ่
ั
เช่น ตกเป็ นเหยือของยาเสพติด ขับรถแข่งในถนนสาธารณะซึงเป็ นพฤติกรรมทีสร้างความราคาญให้แก่
่
่
่
สาธารณชนเป็ นอย่างยิง นอกจากนี้ยงมีพฤติกรรมทางลบอีกมากมายของเด็กและเยาวชน จึงเป็ นทีมาของการ
่
ั
่
หาทางบรรเทายับยังหรือหยุดพฤติกรรมต่างๆ เหล่านี้ รัฐบาล และองค์กรปกครองส่วนท้องถินหลายๆ แห่ง
้
่
จึงได้มนโยบายเชิงรุกเพือสร้างคุณลักษณะของเด็กและเยาวชนทีพงประสงค์ขนในฐานะทีเ่ ด็กและเยาวชนต่าง
ี
่
่ ึ
้ึ
ั
ก็เป็ นพลเมืองของสังคม นโยบายนี้นอกจากจะหาทางขจัดปญหาออกจากเด็กและเยาวชนแล้วนโยบายยัง
ครอบคลุมไปถึงการพัฒนาศักยภาพของเด็กและเยาวชนเพือสร้างคุณภาพให้ประชากรในอนาคตของประเทศ
่
ด้วย
เพือให้นโยบายสาธารณะทีเ่ กียวข้องกับเด็กและเยาวชนนาไปสูการปฏิบตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
่
่
่
ั ิ
การค้นหาต้นทุนทางสังคมจากศักยภาพทีมอยูกอนแล้วจึงเป็ นวาระเร่งด่วนทีองค์กรปกครองส่วนท้องถินได้ทา
่ ี ่ ่
่
่
จากผลการปฏิบตงานเพือค้นหาต้นทุนพบว่า ศักยภาพของเด็กและเยาวชนในท้องถินประกอบด้วยมีกลุ่มจิต
ั ิ
่
่
อาสา กลุ่มอนุรกษ์ภมปญญาท้องถิน ศักยภาพของเยาวชนต้นแบบ คุณลักษณะเหล่านี้จะเป็ นพลังในการ
ั ู ิ ั
่
ขับเคลื่อนเป็ นแรงจูงใจให้คนอืนๆ ได้นาไปปฏิบตต่อยอดขยายผล
่
ั ิ
องค์กรปกครองส่วนท้องถินได้จดให้มกจกรรมในรูปแบบทีหลากหลายเพือพัฒนาคุณภาพชีวตให้แก่
่
ั
ี ิ
่
่
ิ
ั
เด็กและเยาวชน เช่น การปลูกฝงจิตสานึกรักบ้านเกิด การส่งเสริมการกีฬา การส่งเสริมอาชีพ รวมทังกิจกรรม
้
ทีสงเสริมศักยภาพ เช่น สภาเด็กและเยาวชน และการวิจยชุมชนเพือนาผลมาเผยแพร่และสร้างมูลค่าเพิม
่่
ั
่
่
ให้แก่ทองถิน เป็ นต้น กิจกรรมเหล่านี้องค์กรปกครองส่วนท้องถินไม่สามารถทาได้โดยลาพังต้องอาศัยความ
้ ่
่
ร่วมมือจากหน่วยงานภาครัฐ และองค์กรเอกชนทีตองช่วยหนุนเสริม ทังในด้านข้อมูล วิชาการ และทุนด้าน
่ ้
้
ต่างๆ ทังในและนอกพืนที่
้
้
ั
เวทีหรือพืนทีสาหรับการแสดงออกเชิงสร้างสรรค์ของเด็กและเยาวชนเป็ นปจจัยสาคัญทีหนุนเสริมให้
้ ่
่
พลังบริสทธิ ์เหล่านี้มแรงจูงใจในการทางานประเภทสร้างสรรค์ได้อย่างต่อเนื่อง เพราะเป็ นจิตวิทยาพืนฐานที่
ุ
ี
้
มนุษย์ทกคนต้องการการยอมรับจากคนอืน เมือผลงานเป็ นทียอมรับในระดับประเทศและระดับต่างๆ ไม่ว่าจะ
ุ
่ ่
่
เป็ นเกียรติบตร การยอมรับจากสือ หรือแม้แต่คายกย่องชมเชย สิงเหล่านี้แม้จะแทบไม่มมลค่าเป็ นเงินทองแต่
ั
่
่
ี ู
กลับมีมลค่าสูงยิงทางจิตใจทีผลักดันให้เด็กและเยาวชนเกิดความคิดริเริมสร้างสรรค์และมีกาลังใจทีจะทางาน
ู
่
่
่
่
โดยไม่รจกเหน็ดเหนื่อย
ู้ ั
ผลผลิตและผลลัพธ์ทได้จากกระบวนการทีกล่าวมาจะได้แกนนาทีมศกยภาพและจานวนทีเ่ พิมขึน
่ี
่
่ ี ั
่ ้
เกิดความคิดทีนาไปสูกจกรรมเชิงสร้างสรรค์ มีทศนคติทดต่ออาชีพสุจริต มีทกษะในการทางานก่อให้เกิด
่
่ ิ
ั
่ี ี
ั
9
รายได้ทดี รวมทังมีความภาคภูมใจและรูจกอนุรกษ์ภมปญญาท้องถิน ทาให้เป็ นพลเมืองทีมอดมการณ์อดมคติ
่ี
้
ิ
้ั
ั ู ิ ั
่
่ ีุ
ุ
ทีสอดคล้องกับการทางานในท้องถิน ซึงส่งผลให้จงหวัดอุบลราชธานีเป็ นเมืองของการสร้างสรรค์เด็กและ
่
่ ่
ั
เยาวชนอย่างแท้จริง
10
11

3. เครือข่ายองค์กรที่ ทางานด้านเด็กและเยาวชน (NGOs)
เครือข่ายองค์กรด้านเด็กและเยาวชน เกิดจากการรวมตัวของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการ
ขับเคลื่อนงานในกลุ่มเด็กและเยาวชนผ่านประเด็นด้านสุขภาวะทีหลากหลาย ครอบคลุมทังด้านร่างกาย จิตใจ
่
้
ั
สังคม และสติปญญาซึง ประกอบด้วยเครือข่ายสาคัญ จานวน 9 กลุ่ม ดังนี้ 1)เครือข่ายประชาคมองค์กรงด
่
เหล้า มีแนวคิดการดาเนินงานลดผลกระทบจากการดื่มแอลกอฮอล์ สร้างเสริมสุขภาวะของคนในสังคม
ปกป้องคุมครองเด็กและเยาวชนจากแอลกอฮอล์ 2)โรงเรียนหนองขอนวิทยา เน้นกิจกรรมการ สร้างให้เด็ก มี
้
ความซื่อสัตย์ สุจริตมีความ ยุตธรรม และมีความรูเ้ กียวกับ กฎหมายพืนฐาน รวมถึงการมีความคิดเชิงบวก
ิ
่
้
เกียวกับกระบวนการยุตธรรม 3)ศูนย์ประสานงา นภาคเอกชน สังกัดสานักงานพัฒนาสังคมและพัฒนาความ
่
ิ
มันคงของมนุษย์จงหวัดอุบลราชธานี 4)สโมสรไลออนอุบลราชธานี มีแนวคิดการพัฒนาเยาวชนด้านการศึกษา
่
ั
และการมี คณภาพชีวต ทีดี 5)โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ ได้เน้นกิจกรรม ปลอดบุหรี่ ผานกิจกรรม Smart
ุ
ิ ่
่
Camp 6)สมาคมผูปกครองโรงเรียนอนุบาลอุบลราชธานี ในนามชมรมเด็กดีศรีอบล ได้จด แสดงดนตรี แก่กลุ่ม
้
ุ
ั
ผูปวยและญาติเพือเสริมสร้างกาลังใจ 7)เครือข่ายสือสร้างสุขภาวะเยาวชนภาคอีสาน(สสอ.) 8) กลุ่มประชาคม
้ ่
่
่
งดเหล้าเทศบาลตาบลปทุมและ 9)เครือข่ายมะขามป้อม มีแนวคิด สืบสานภูมปญญา ท้องถิน การพัฒนา
ิ ั
่
เยาวชนบนฐานการเรียนรูชมชน เรียนรูรากเหง้า วัฒนธรรมท้องถิน และพัฒนาเยาวชนให้ รเท่าทันสือ โดยทุก
ุ้
้
่
ู้
่
ั
เครือข่ายได้มแนวคิดทีสอดคล้องกัน ในการร่วมคิด ร่วมทา ร่วมรับผลประโยชน์ และร่วมแบ่งปนความสุขจาก
ี
่
การดาเนินงาน
ผลผลิตและผลลัพธ์ทเ่ี กิดขึน คือ กลุ่มคณะทางานภายใต้แนวคิดเดียวกัน เกิดแกนนาเด็กและเยาวชน
้
ทีมศกยภาพ เกิดศูนย์เรียนรูในพืนที่ เกิดเครือข่ายกลุ่มต่างๆ ดังนี้
่ ี ั
้ ้
1) กลุ่มเครือข่ายโรงเรียนเยาวชนพลยุตธรรม
ิ
2) กลุ่ม Smart Camp โรงเรียนปทุมพิทยาคม
3) ศูนย์การเรียนรู้ To Be Number 1 โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
4) สโมสรไลออนอุบลราชธานี
5) เครือข่ายหมูบานปลอดเหล้าบ้านโนนมะเขือ-บ้านดอกแก้ว
่ ้
6) กลุ่มเครือข่ายพลังเยาวชนนักรณรงค์เฝ้าระวังภัยแอลกอฮอล์
7) ศูนย์นวัตกรรมเพือการพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน
่
8) กลุ่มประชาคมงดเหล้าเทศบาลตาบลปทุม
9) กลุ่มเด็กและเยาวชนจิตอาสาพัฒนาบ้านนาห้าง-บ้านโนนศาลา
10) กลุ่มพัฒนาเด็กและเยาวชน อบต.บัวงาม
12

4. เครือข่ายเด็กและเยาวชน
สภาเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานีกอตังเมือปี พ.ศ.
่ ้ ่
2549 โดยนายสุธี มากบุญ
(ผูว่าราชการจังหวัดในขณะนัน)ได้มแนวคิดทีจะจัดตังสภาเด็กและเยาวชนเพือให้มองค์กรกลางทีทางานด้าน
้
้
ี
่
้
่
ี
่
เด็กและเยาวชนรวมไปถึงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพให้แก่เด็กและเยาวชนในจังหวัดทังยังเป็ นทีปรึกษา
้
่
ด้านเด็กและเยาวชนให้แก่ผว่าราชการจังหวัดโดยมอบหมายให้สานักงานพัฒนาสังคมและความมันคงของ
ู้
่
มนุษย์เป็ นองค์กรพีเ่ ลียงและเป็ นองค์กรหลักในการจัดตัง สภาเด็กและเยาวชนมีคณะกรรมการทังหมด 69 คน
้
้
้
มีนายอัมพร วาภพ เป็ นประธาน โดยมีการจดทะเบียนเป็ นองค์กรสาธารณประโยชน์เลขที่
1192 ต่อมาปี
2550 เกิด พ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ 2550 และมีการเลือกตังคณะกรรมการสภาเด็ก
้
และเยาวชนชุดใหม่ใน 2 ระดับคือระดับอาเภอและระดับจังหวัด โดยในระดับจังหวัดมีคณะกรรมการบริหาร
จานวน 21 คน ระดับอาเภอๆละ 16 คน
สภาเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานีมผลการดาเนิน
ี
มาอย่างต่อเนื่องทังกิจกรรมถนนเด็กเดิน ,
้
กิจกรรมพัฒนาศักยภาพแกนนาสภาเด็กและเยาวชน ,กิจกรรมทัศ นศึกษา,กิจกรรมเชือมสัมพันธ์ไทย-ลาว,
่
กิจกรรมการพัฒนาพิธกรและวิทยากร,กิจกรรมประกวดทูตเยาวชน,กิจกรรมรณรงค์(งดเหล้า,ยาเสพติด,
ี
การค้ามนุษย์),กิจกรรมพืนทีสร้างสรรค์ตนแบบสาหรับเด็กและเยาวชน,ฯลฯ
้ ่
้
13

ผลจากการดาเนิน
งานได้สงผลให้สภาเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานี ได้รบรางวัล Child Watch
่
ั
Award 2 ปี ต่อเนื่องและรางวัลองค์กรเยาวชนส่งเสริมการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด ดีเด่นในปี 2552 รวมทัง ยัง
้
ส่งผลให้เด็กแกนนามีพฒนาการและมีศกยภาพในการดาเนินกิจกรรมโดยมีเด็กและเยาวชนแกนนาทีสามารถ
ั
ั
่
เป็ นวิทยากร การอบรม เป็ นพิธกรตามงานต่างๆ และเด็กเยาวชนในระดับตาบล ยังสามารถพัฒนาโครงการ
ี
และดาเนินโครงการพัฒนาต่างๆในระดับตาบลและอาเภอได้เป็ นอย่างดี รวมถึงการมีพนทีให้เด็ก และเยาวชน
้ื ่
ได้แสดงงออกในทางสร้างสรรค์มากขึนทาให้พนทีเ่ สียงลง
้
้ื
่

Child Watch
Award 2

-

5. เครือข่ายด้านวิ ชาการ
สถานศึกษาและสถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดอุบลราชธานี เขตพืนทีการศึกษาเขตมัธยมที่ 29
้ ่
เขตพืนทีการศึกษาการประถมศึกษาอุบลราชธานีเขต 1-5
้ ่
ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย(กศน.) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มหาวิทยาลัย
อุบลราชธานี โดยเฉพาะมหาวิทยาลัย ราชภัฏอุบลราชธานี มีบทบาทและหน้าทีหลักในการผลิตบัณฑิตให้กบ
่
ั
ชุมชน ท้องถิน โดย มุงเน้นการทางาน ใน การให้บริการ วิชาการแก่ ชุมชน ซึงเป็ นภารกิจสาคัญตาม
่
่
่
พระราชบัญญัตของมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2547 โดยมีโครงการสาคัญ ด้านเด็กและเยาวชนทีดาเนินการ ดังนี้
ิ
่
1) โครงการศึกษาวิจยและพัฒนาศักยภาพบุคลากรในชุมชนท้องถิน โดยความร่วมมือของ
ั
่
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และองค์กรยูนิเซฟ ประเทศไทย พ.ศ. 2554 – 2555
2) โครงการศูนย์การเรียนรูชมชน แข้มแข็งด้านเด็กและเยาวชนตาบลบัวงาม อาเภอบุณฑริก
ุ้
จังหวัดอุบลราชธานี
ศูนย์การเรียนรูภมปญญาท้องถินและศูนย์การเรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียง
้ ู ิ ั
่
14

(โรงเรียนบ้านบัวยาง)
3) โครงการค่ายเยาวชนอาสา โดย จัดร่วมกับภาคีหลายภาคส่วนของจังหวัดอุบลราชธานี
มีเยาวชน เข้าร่วมทังสิน 4,760 คน โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีม ี นักศึกษาเข้าร่วม
้ ้
โครงการจานวน 470 คน
4) ศูนย์ การ เรียนรูบานยางน้อย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี อาเภอเขืองใน จังหวัด
้ ้
่
อุบลราชธานี ได้ อานวยความสะดวกในการ จัดอบรมการพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนด้าน
ต่างๆ โดยมหาวิทยาลัย ได้เน้นการให้บริการ แก่ชมชน เช่น การจัดค่ายเยาวชนและฝึกอบรม
ุ
ให้กบหน่วยงานต่างๆ ทังภาครัฐและเอกชน
ั
้
5) การเตรียมความพร้อมของเยาวชนสูเวทีในระดับอาเซียน มีการลงนามบันทึกข้อตกลงร่วมกัน
่
(MOU) ในระดับเครือข่ายทีอยูในกลุ่มประเทศอาเซียน การปรับปรุงหลักสูตรวิชาการเรียน
่ ่
อาเซียนศึกษาในแต่ละประเทศ การให้ทนการศึกษาสาหรับนักศึกษาในอาเซียน การตังศูนย์
ุ
้
คณะครุศาสตร์อาเซียน เพือผลิตครูในการสอนระดับอาเซียนต่อไป
่

ั
ด้วยมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ถือเป็ นส่วนหนึ่งของทุนทางปญญาและทุนทางสังคมใน
ด้านวิชาการทีจะสนับสนุนกลไก ในการขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชน บทบาทสาคัญคือเป็น
่
แกนกลางศูนย์รวม ( Focal Point )ในการสนับสนุนงานด้านเด็กและเยาวชน การจัดระบบฐานข้อมูล
การเป็นองค์ความรูดานวิชาการ บทบาทในการสนับสนุนเป็นทีปรึกษางานด้านเด็กและเยาวชน
้ ้
่
(Coaching) จากการแลกเปลียนเรียนรูพบว่าในคณะ ต่างๆมีการสนับสนุนงานด้านเด็กและเยาวชนเป็น
่
้
ทุนเดิม ทังในส่วนของ คณะครุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ คณะ
้
มนุษยศาตร์และสังคมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยแพทย์
แผนไทยและแพทย์ทางเลือก และสานักบริการวิชาการชุมชน เช่น งานกิจกรรมนักศึกษาในรูปแบบ
ของชมรมและชุมนุมทีทากิจกรรมงานในเชิงประเด็นส่งเสริมสุขภาวะ งานจิตอาสาทาความดี การเรียนรู้
่
ภูมปญญาท้องถิน การเรียนรูเรือง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การเรียนรูวทยาศาสตร์ วิถพุทธ การ
ิ ั
่
้ ่
้ิ
ี
สอนสื่อไอทีและ เทคโนโลยีให้กบชุมชน เป็นต้น นอกจากนี้ทางสานักบริการวิชาการชุมชน ยัง มีส่วน
ั
สาคัญในการเชื่อมประสาน งานกับ หลายองค์กรและเครือข่ายงานด้านเด็กและเยาวชน ทังภาครัฐ
้
ภาคเอกชน มูลนิธ ิ และองค์กรพัฒนาเอกชน
(NGOs) โดยให้บริการ แก่ ชุมชนในด้านวิทยากร
กระบวนการทีมความรูความสามารถแก่หน่วยงานต่างๆ การจัดตังศูนย์การเรียนรูบานยางน้อย เพื่อ
่ ี
้
้
้ ้
รองรับการจัดค่ายพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน ซึง มุงมันในการเป็นศูนย์กลางของฐานข้อมูลด้าน
่ ่ ่
เด็กและเยาวชน โดยเชื่อมกับหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิน และหน่วยงานทุกภาคส่วนที่
่
เกียวข้องในจังหวัดอุบลราชธานี
่
15

„ เชือมร้อยกลไกการ
่
ทางานทุกภาคส่วน
ในการพัฒนาและ
ั
แก้ไขปญหาเด็ก
และเยาวชน

•

-

การพัฒนาองค์
ความรู/้
นวัตกรรม
มหาวิ ทยาลัยราชภัฏ

การพัฒนา
ระบบกลไก

-

อุบลราชธานี
„ เสริมพลัง
เครือข่ายพัฒนา
เด็กและเยาวชน
-เสริมกระบวนการเรียนรูและ
้
การมีส่วนร่วมเพือขับเคลือน
่
่
และเกิดเครือข่ายขยายผล

การพัฒนา
นโยบาย
สาธารณะ
•

•
-

3. นิ ยามศัพท์ในการดาเนิ นโครงการ
3.1 งานด้านเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับ จังหวัด หมายถึง การดาเนินงานแบบบูรณา
การระหว่าง 5 เครือข่าย ได้แก่ เครือข่าย ภาครัฐ เครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิน เครือข่ายองค์กร
่
ทางานด้านเด็กและเยาวชน (NGOs) เครือข่ายด้านวิชาการ และเครือข่ายเด็กและเยาวชน โดยมีมหาวิทยาลัย
ราชภัฏอุบลราชธานีเป็ นผูสนับสนุนงานด้านวิชาการ
้
3.2 ภาคีร่วมพัฒนา หมายถึง ท้องถิน ท้องที่ หน่วยงานภาครัฐ และประชาชนในพืนทีเ่ ข้ามามี
่
้
ั
ส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็น หาแนวทางแก้ไขปญหาร่วมกัน เพือทาให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถินและ
่
่
เครือข่ายพืนทีขยายผล โรงเรียน วัด หน่วยงานราชการต่างๆ ทีเ่ กียวข้อง เพือร่วมกันสนับสนุนให้เกิดการ
้ ่
่
่
ขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนไปสูความสาเร็จทังในด้านการพัฒนาระบบกลไกลการทางานและการ
่
้
ขับเคลื่อนงานในพืนที่
้
 ภาคีขบเคลื่อนปฏิ บติการ หมายถึง องค์กรปกครองส่วนท้องถิน องค์กร/เครือข่ายเชิง
ั
ั
่
ประเด็น สถาบันการศึกษา เป็ นต้น ทีรวมกันขับเคลื่อนกระบวนการงานด้านเด็กและเยาวชน
่่
แบบบูรณาการระดับ จังหวัด เพือสร้างความเข้มแข็งและยกระดับการขับเคลื่อนงานด้านเด็ก
่
และเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานี
 ภาคีขบเคลื่อนนโยบาย หมายถึง หน่วยงานและองค์กรทีมบทบาทหลักเกียวข้องหรือ
ั
่ ี
่
สอดคล้องกับเนื้อหาเชิงประเด็นและ /หรือกระบวนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะระดับ
จังหวัด
16

 ภาคีสนับสนุน หมายถึง หน่วยงานและองค์กรทีมบทบาทในการสนับสนุนการทางานทังใน
่ ี
้
ด้านนโยบาย ด้านงบประมาณ และทรัพยากรอืนๆทีเ่ กียวข้อง
่
่
3.3 แกนนาระดับจังหวัด (นักยุทธศาสตร์) หมายถึง แกนนาทีมศกยภาพในการประสานงาน
่ ี ั
สร้างความเข้าใจในการทางานร่วมกัน และเป็ นทียอมรับของทุกภาคส่วนทังระดับสถาบัน องค์กร และพืนที่
่
้
้
3.4 แกนนาระดับตาบล หมายถึง แกนนาทีมศกยภาพในการประสานงาน สร้างความเข้าใจในการ
่ ี ั
ปฏิบตงานร่วมกัน เป็ นทียอมรับของทุกภาคส่วนและสามารถขับเคลื่อนงานในพืนทีได้
ั ิ
่
้ ่
3.5 แกนนาเชิ งประเด็น หมายถึง แกนนาทีมองค์ความรูและความเชียวชาญในประเด็นนันๆ และ
่ ี
้
่
้
มีศกยภาพในการถ่ายทอดความรูและมีความเข้าใจในการขับเคลื่อนงานในประเด็นของตนได้
ั
้
3.6 องค์ความรู้ หมายถึง กระบวนการรวบรวมความรู้ ฐานข้อมูล การจัดการความรู้ หรือถอด
บทเรียน การทางานของหน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน เครือข่าย องค์กรปกครองส่วนท้องถิน
่
่
พืนทีขยายผล องค์กรทีทางานด้านเด็กและเยาวชน และสถาบันการศึกษาในการพัฒนาและขับเคลื่อนการ
้ ่
่
ทางานด้านเด็กและเยาวชนในระดับพืนที่ และสามารถถ่ายทอดให้เกิดการขยายผล
้
3.7 ศูนย์การเรียนรู้ หมายถึง สถานที่ มการจัดการเรียนรูและถ่ายทอดองค์ความรู้ โดยมีระบบ
ี
้
เพือให้ผเู้ รียนสามารถควบคุมการเรียนด้วยตนเองเป็ นรายบุคคลหรือผูเ้ รียนในกลุ่มเล็ก โดยให้ผเู้ รียนเรียน
่
ตามความต้องการความสามารถของแต่ละคนหรือผูเ้ รียนภายในกลุ่ม เน้นให้มกระบวนการส่วนร่วม การ
ี
ั
ตอบสนองกระบวนการกลุ่ม ส่งเสริมการทางานเป็ นกลุ่ม ภาวะ ความเป็ นผูนาการยอมรับฟงความคิดเห็น ของ
้
ผูอน มีปฏิสมพันธ์ทางสังคม โดยมีผดแลประจาศูนย์เรียนรูจะเป็ นผูแนะนาและคอยช่วยเหลือ และมีสอการ
้ ่ื
ั
ู้ ู
้
้
่ื
เรียนรูในรูปแบบสือประสมแยกตามกิจกรรมสาหรับเด็กและเยาวชน เช่น ศูนย์การ ฝึกทักษะ ศูนย์เพิมพูน
้
่
่
ความรู้ ศูนย์เรียนรูชุมชน ศูนย์เรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นต้น
้
้
3.8 แหล่งเรียนรู้ หมายถึง แหล่งข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ วิทยากร ภูมปญญาชาวบ้านและ
ิ ั
ประสบการณ์อนๆ ทีสนับสนุนส่งเสริมให้ผเู้ รียนเกิดกระบวนการเรียนรูและเป็ นบุคคลแห่งการเรียนรู้ อันเกิด
่ื
่
้
จากนโยบายของภาครัฐ องค์กรชุมชน หรือการร่วมมือกันระหว่างองค์กรชุมชนกับภาครัฐ โดยเน้นองค์ความรู้
ทีเ่ ป็ นชุมชนท้องถินคิดเอง ภูมปญญาท้องถิน มีการเรียนการสอนด้วยตนเอง เพือให้เกิดการเปลียนแปลงไป
่
ิ ั
่
่
่
ในทางทีดขน และก่อให้เกิดการพัฒนาหรือการต่อยอดองค์ความรูถ่ายทอดไปในพืนทีต่างๆ
่ ี ้ึ
้
้ ่
ั
3.9 ทักษะชีวิต หมายถึง ความสามารถของบุคคลทีจดการปญหาต่างๆ รอบตัว เพือเป็ นภูมคมกัน
่ั
่
ิ ุ้
ั ั
ชีวตให้แก่เด็กและเยาวชนในสภาพสังคมปจจุบนและเตรียมความพร้อมสาหรับการปรับตัวในอนาคต ทังใน
ิ
้
ด้านความรูและความรูสกนึกคิด โดยมีองค์ประกอบเรืองการตระหนักรูและเห็นคุณค่าในตนเองและผูอน การ
้
้ ึ
่
้
้ ่ื
ั
คิดวิเคราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปญหาอย่างสร้างสรรค์ การจัดการกับอารมณ์และความเครียด การสร้าง
ั
ความสัมพันธ์อนดีระหว่างบุคคล รูจกจัดการปญหาและความขัดแย้งต่างๆอย่างเหมาะสม ปรับตัวให้ทนกับ
ั
้ั
ั
การเปลียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม รูจกหลีกเลียงพฤติกรรมทีไม่พงประสงค์ทสงผลกระทบต่อ
่
้ั
่
่ ึ
่ี ่
ตนเองและผูอน ป้องกันตัวเองในภาวะคับขัน และจัดการกับชีวตอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับวัฒนธรรม
้ ่ื
ิ
และค่านิยมของสังคม
3.10 เมืองแห่งการเรียนรู้ หมายถึง จังหวัดอุบลราชธานีทมงเน้นการสร้างสังคมทีมกระบวนการนา
่ี ุ่
่ ี
ความรูมาใช้เป็ นเ ครืองมือ ในการ ปรับเปลียนวิถชวตทีมงการเรียนรู้ เปิ ดพืนทีการเรียนรู้ และการสร้าง
้
่
่
ี ี ิ ่ ุ่
้ ่
่ ่
วัฒนธรรมการเรียนรูและค่านิยมใฝรู้ ใฝเรียนของเด็กและเยาวชน ตลอดจน การสร้างสภาพแวดล้อมทางการ
้
17

เรียนรูของเด็กและเยาวชน และผลักดันให้เกิดการแปลงนโยบายเมืองแห่งการเรียนรูไปสูการขับเคลื่อนใน
้
้ ่
ภาคปฏิบตการ นโยบายจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อการพัฒนาการศึกษาและการเรียนรูยคใหม่
ั ิ
ุ้
3.11 ความเป็ นพลเมือง หมายถึง สมาชิกของสังคมทีมสทธิเสรีภาพ โดยควบคูกบความ
่ ีิ
่ ั
รับผิดชอบ ยอมรับความแตกต่าง เคารพสิทธิเสรีภาพของผูอน เคารพหลักความเสมอภาค เคารพกติกา ไม่ใช้
้ ่ื
ั
ั
ความรุนแรงในการแก้ไขปญหา มีจตสาธารณะ มีสวนร่วมต่อความเป็ นไปและในการแก้ปญหาของสังคมใน
ิ
่
ด้านต่างๆ มีหลักการดาเนินชีวตทีมคณธรรม จริยธรรม และมีบทบาทในการกระทาทีมคณลักษณะทาง
ิ ่ ีุ
่ ีุ
ประชาธิปไตยเป็ นองค์ประกอบทีสาคัญในการดาเนินชีวต
่
ิ
3.12 ศูนย์ประสานงานด้านเด็กและเยาวชน หมายถึง ศูนย์ เครือข่ายกลุ่ม – องค์กรเด็กและ
เยาวชน ทาหน้าทีประสานงานระหว่างหน่วยงาน ในการแล กเปลียนข้อมูล เด็กและเยาวชน โดยเปิ ดโอกาส
่
่
ให้เด็กและเยาวชนเข้ามาร่วมในการแสดงความคิดเห็น และสามารถเข้าไปมีสวนร่วม ในการดาเนินงาน และ
่
เป็ นศูนย์ขอมูลในเรืองเด็กและเยาวชนได้
้
่
3.13 ศูนย์ศึกษาและพัฒนารูปแบบการดาเนิ นงานด้านเด็กและเยาวชนจตุภาคี 4 จังหวัด
ได้แก่ อุบลราชธานี , ศรีสะเกษ ,อานาจเจริ ญ,ยโสธร หมายถึง ศูนย์กลางในการประสานงานขับเคลื่อน
การดาเนินงานสาหรับเด็กและเยาวชนในเขตพืนที่ 4 จังหวัด ทาหน้าทีในการประสานงานศูนย์ประสานงาน
้
่
ระดับจังหวัด จัดกิจกรรม แลกเปลียนข้อมูลการดาเนินกิจกรรมในแต่ละจังหวัด
่
3.14 ศูนย์ขบเคลื่อนกิ จกรรมเยาวชนอาเซียน หมายถึง ศูนย์กลางการประสานงานด้านความ
ั
ร่วมมือการพัฒนากิจกรรมและการเสริมศักยภาพแก่เยาวชนในเขต 4 ประเทศคือ ราชอาณาจักรไทย,
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ,สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว,ราชอาณาจักรกัมพูชา โดยมีหน้าที่
เสริมศักยภาพให้เยาวชนในไทยเกิดทักษะและมีความพร้อมในการก้าวเข้าสูประชาคมอาเซียน (ภาษา ,ข้อมูล
่
,วัฒนธรรม)และเชือมสัมพันธ์ดานต่างๆ การสร้างเวทีในการแลกเปลียนเรียนรูระหว่างเยาวชนใน 4 ประเทศ
่
้
่
้

4. เป้ าประสงค์
สร้างขบวนการและระบบกลไกการขับเคลื่อนเพื่อให้ จังหวัดอุบลราชธานี เป็ นเมืองแห่งการ
เรียนรู้เพือเด็กและเยาวชน โดยมุงเน้นการส่งเสริม การเรียนรู้ (วิเคราะห์ สังเคราะห์ และนาใช้องค์
่
่
ความรู)้ การจัดตังองค์กรด้านเด็กและเยาวชนทีเข้มแข็ง เปิดพืนทีสร้างสรรค์ ศูนย์ประสานงาน
้
่
้ ่
ศูนย์การเรียนรู้ และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนทังในระดับจังหวัด อาเภอ และระดับ
้
ท้องถิน เกิดพืนทีตนแบบการทางานด้านเด็กและเยาวชนเพื่อการขยายผล โดยเชื่อมร้อยความร่วมมือ
่
้ ่ ้
ของเครือข่ายทุกภาคส่วน ทังภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน สถาบันการศึกษา และเครือข่าย
้
่
องค์กรด้านเด็กและเยาวชน
18

5. วัตถุประสงค์
5.1 เพือส่งเสริมให้เกิด กระบวนการพัฒนาระบบกลไกการขับเคลื่อนและผลักดัน การขับเคลื่อนงาน
่
ด้านเด็กและเยาวชน โดยเชือมประสานเครือข่ายและองค์กรหน่วยงานต่างๆในระดับจังหวัด อาเภอ และตาบล
่
ให้เกิดการขับเคลื่อนการทางานด้านเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานีได้อย่างเป็ นรูปธรรม
5.2 เพือเสริม สร้างขีดความสามารถของเด็กและเยาวชน เครือข่ายองค์กรด้านเด็กและเยาวชน และ
่
ั
องค์กรปกครองส่วนท้องถิน โดยเชือมโยงการทางานประเด็นการพัฒนาและการแก้ปญหากับการสร้างเสริมสุข
่
่
ภาวะเด็กและเยาวชนแบบองค์รวมในระดับพืนที่
้
5.3 เพือพัฒนาให้เกิดองค์ความรูและนวัตกรรมการพัฒนาเด็กและเยาวชน การทาระบบฐานข้อมูล
่
้
และการจัดการความรูในระดับพืนทีและจังหวัด โดยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และถอดบทเรียน พร้อมทัง นามา
้
้ ่
้
ประยุกต์ใช้ในพืนทีตนแบบและขยายเครือข่ายพืนทีปฏิบตการ
้ ่ ้
้ ่ ั ิ
5.4 เพือพัฒนาข้อเสนอและขับเคลื่อนให้เกิดนโยบายหรือมาตรการทีสนับสนุนการขยายพืนที่
่
่
้
ปฏิบตการและการบูรณาการงานในการขับเคลื่อนการทางานเพือเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานี
ั ิ
่

6. เป้ าหมาย
หน่วยงานทุกภาคส่วนทังภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา เครือข่ายองค์กรด้านเด็กและเยาวชน
้
และเครือข่ายเด็กและเยาวชน มีบทบาทสร้างกระบวนการและระบบกลไกการทางานร่วมกัน เพือให้ เกิดการ
่
พัฒนาองค์กรและแกนนาด้านเด็กและเยาวชน ทีเข้มแข็ง เกิดศูนย์ประสานงาน เกิดศูนย์การ เรียนรู้ หลักสูตร
่
และฐานข้อมูลทางวิชาการสาหรับเด็กและเยาวชน พร้อมทังสามารถขยายผลการดาเนินงานไปยังเครือข่าย
้
19

พืนทีในระดับท้องถินแบบ 1:4 ในพืนที่ 60 แห่ง (ขยายผล) ช่วงระยะเวลาดาเนินการ 3 ปี เพือพัฒนาต่อยอด
้ ่
่
้
่
และยกระดับ พืนทีตนแบบการทางานด้านเด็กและเยาวชน ระดับจังหวัดสู่ “อุบลราชธานีเมืองต้นแบบ
้ ่ ้
ส่งเสริมการเรียนรูเ้ พือเด็กและเยาวชน”
่

7. ยุทธศาสตร์การทางานด้านเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังหวัด
อุบลราชธานี
ยุทธศาสตร์การทางานด้านเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังหวัดอุบลราชธานี โดยการ
ขับเคลื่อน 4 ส่วน คือ 1) กระบวนการและระบบกลไก 2) การเสริมสร้างเครือข่าย 3) การพัฒนาองค์
ความรู้ และ 4) นโยบาย สาธารณะ โดยมีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี หน่วยงานภาครัฐ
เครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิน เครือข่ายองค์กรด้านเด็กและเยาวชน เป็นกลไกสาคัญในการ
่
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ดงกล่าว ตลอดจนการขับเคลื่อนเชิงนโยบายสู่การปฏิบตดานเด็กและเยาวชน
ั
ั ิ ้
และเป็นศูนย์กลางของจังหวัด ภูมภาค และในอนุภมภาคลุ่มน้าโขงในเชิงโครงงานหรือกิจกรรมด้านเด็ก
ิ
ู ิ
และเยาวชนระดับท้องถิน จังหวัด จตุภาคี และประชาคมอาเซียน ส่งเสริม สนับสนุนให้ 5 เครือข่าย
่
ได้แก่ เครือข่ายภาครัฐ เครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิน เครือข่ายองค์กรด้านเด็กและเยาวชน
่
สถาบันการศึกษา และเครือข่ายเด็กและเยาวชน ดาเนินงานและสร้างองค์ความรูและนวัตกรรมด้านเด็ก
้
และเยาวชน ในการแลกเปลียนเรียนรูกระบวนการทางานระหว่างเครือข่าย เพื่อให้งานด้านเด็กและ
่
้
เยาวชนพัฒนาอย่างเข้มแข็งและยังยืน
่
20
เป้ าประสงค์
จังหวัดอุบลราชธานี เป็ นเมืองแห่งการเรียนรู้เพื่อเด็กและเยาวชนอย่างยังยืน
่
ทุน

ยุทธศาสตร์การทางานด้าน

ผลลัพธ์

เด็กและเยาวชน จ.อุบลราชธานี







หน่ วยงานภาครัฐ
องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่ น
เครือข่ายองค์กรด้าน
เด็กและเยาวชน
สภาเด็กและเยาวชน
ที่เข้มแข็ง
มหาวิ ทยาลัยราชภัฏ
มีพนธกิ จทางานกับ
ั
ท้องถิ่ น



เสริมสร้ างกระบวนการ
และระบบกลไก
เสริมสร้ างพลังภาคี

ขับเคลือนโยบาย
่

เครือข่ าย



สาธารณะ
สร้ างและพัฒนา
องค์ ความรู้






ระบบ กลไกการ
ขับเคลื่อนงานเด็ก
และเยาวชนแบบ
บูรณาการ
ระบบฐานข้อมูล
เครือข่ายการทางาน
เฉพาะเรือง/ประเด็น
่
องค์กรเด็กและ
เยาวชนที่เข้มแข็ง
ชุดความรู/้ นวัตกรรม
นโยบายสาธารณะ

9. กระบวนการดาเนิ นงาน
กระบวนการดาเนินงานเน้นเสริมสร้างกระบวนการและระบบกลไก เสริมสร้างพลังภาคี
เครือข่าย สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ และขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ซึงเกิดจากเครือข่ายทุกภาค
่
ส่วน เด็กและเยาวชนร่วมกันวางแผนนาไปสู่การปฏิบตให้บงเกิดผลสาเร็จในด้านการเรียนรูของเด็ก
ั ิ ั
้
ั
และเยาวชน ได้แก่ การแก้ปญหาเด็กเยาวชน ครอบครัว ชุมชน และสังคมของตนเอง การสร้างอาชีพ
การสร้างความเป็นพลเมือง การเสริม ทักษะชีวต/ เพิมศักยภาพเชิงบวก ใช้ความคิดสร้างสรรค์
ิ
่
ั
คิดวิเคราะห์ ตระหนักรูในตน รูจกการสร้างสัมพันธภาพทีด ี ตัดสินใจและแก้ปญหาได้ เพื่อสร้างความ
้
้ั
่
เชื่อมันในตนเอง โดยใช้กระบวนการพัฒนา ซึงประกอบด้วย 4 กระบวนการหลัก ดังนี้
่
่
1) กระบวนการวิ จยถอดบทเรียนพื้นทีปฏิ บติการทีมีศกยภาพเป็ นศูนย์ การเรียนรู้ด้าน
ั
่ ั
่ ั
เด็กและเยาวชนของแต่ละเครือข่าย ได้แก่ ครัวเรือน ชุมชน หมูบาน ตาบล อาเภอ และจังหวัด ผ่าน
่ ้
กิจกรรมการใช้เครืองมือในการศึกษาและถอดบทเรียนชุมชน
่
โดยใช้เครืองมือประเมินชุมชนแบบ
่
เร่งด่วน (RECAP: Rapid Ethnography Community Approsal Program) (RECAP) และ ระบบการ
ใช้โปรแกรมฐานข้อมูลตาบล ( TCNAP : Thailand Community Network Appraisal Programs)
21

ในการค้นหาและถอดบทเรียนศักยภาพเครือข่าย สรุปบทเรียนและสังเคราะห์องค์ความรูจากท้องถิน
้
่
และการจัดเวทีแลกเปลียนเรียนรู้ โดยมีภาคีรวมพัฒนาได้แก่ เครือข่ายภาครัฐ เครือข่ายองค์กร
่
่
ปกครองส่วนท้องถิน เครือข่ายองค์กรด้านเด็กและเยาวชน สถาบันการศึกษา และเครือข่ายเด็ก และ
่
เยาวชน ตลอดจนองค์กรพัฒนาเอกชนอื่นๆ
2) กระบวนการส่งเสริ มการแลกเปลียนเรียนรู้ทีม่งสู่ การพัฒนาและการแก้ไขปัญหา
่
่ ุ
สุขภาวะเด็กและเยาวชน โดยการเปลียนแปลงวิ ธีคิด และปฏิ บติ การในพื้นทีด้วยการ พึงตนเอง
่
ั
่
่
ให้มากทีสด ให้เครือข่ายและแกนนากลุ่มต่างๆ สามารถนาองค์ความรูจากปฏิบตการเด่นในแต่ละพืนที่
ุ่
้
ั ิ
้
ทีกาลังดาเนินการขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนในจังหวัดอุบลราชธานีมาปรับใช้ในบริบทของ
่
พืนที่ โดยมีภาคีรวมพัฒนาทางานกับภาคีสนับสนุน (เครือข่ายภาครัฐ เครือข่ายองค์กรปกครองส่วน
้
่
ท้องถิน เครือข่ายองค์กรด้านเด็กและเยาวชน สถาบันการศึกษา และเครือข่ายเด็ก และเยาวชน) ผ่าน
่
เวทีพฒนานโยบายสาธารณะ การพัฒนาศักยภาพผูนาและแกนนาใหม่ การจัดทาฐานข้อมูล ด้านเด็ก
ั
้
และเยาวชน การพัฒนา ศักยภาพ ภาคีเครือข่าย เด็กและเยาวชนใน ทุกมิตทมส่วนร่วมในขบวนการ
ิ ่ี ี
ขับเคลื่อน การจัดทาพืนทีปฏิบตการต้นแบบ การมีส่วนร่วมในการจัดทาแผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนา
้ ่ ั ิ
จังหวัด ซึงต้องอาศัยการมี ข้อมูล หลักสูตรหรือแนวทางการเรียนรู้ สาหรับเครือข่าย และแกนนา
่
กลุ่มเป้าหมายต่างๆ เป็นต้น
3) กระบวนการขยายเครือข่ายพื้นทีปฏิ บติการ เป็นการจัดเวทีแลกเปลียนเรียนรูทขยายผล
่ ั
่
้ ่ี
มาจากการเรียนรูในระดับหมูบานและตาบล ไปสู่การเรียนรูระดับอาเภอและระดับจังหวัด อีกทังการ
้
่ ้
้
้
เรียนรูดงกล่าวยังช่วยให้เกิดการสรุปข้อมูลในประเด็นเดียวกันให้เป็นข้อมูลความรูระดับจังหวัด เพื่อ
้ ั
้
เป็นฐานของการระดมพลังของจังหวัดในการพัฒนานโยบายสาธารณะต่อไป
4) กระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะ เป็นการนาใช้ขอมูลจากการวิจย ถอดบทเรียน
้
ั
ตลอดจนข้อมูลจากเวทีแลกเปลียนเรียนรู้ และการขยายผล เพื่อทีจะสรุปทบทวนและนาไปสู่การพัฒนา
่
่
เป็นกฏ กติกา ข้อตกลงในหมูบาน ตาบล อาเภอ และ จังหวัด ทีเกิดจากการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
่ ้
่
ทีเกียวข้องโดยเฉพาะอย่างยิงผูปฏิบตการทุกกลุ่ม ระดับพืนที่ ระดับองค์กร
่ ่
่ ้ ั ิ
้
และ ระดับจังหวัด
ตลอดจน สนับสนุนการนานโยบายสู่การปฏิบติ ในการขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชน อย่างเป็น
ั
รูปธรรม
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี

Mais conteúdo relacionado

Destaque

Confused words
Confused wordsConfused words
Confused wordssofijka09
 
พลังเด็กเปลี่ยนโลก
พลังเด็กเปลี่ยนโลกพลังเด็กเปลี่ยนโลก
พลังเด็กเปลี่ยนโลกMr-Dusit Kreachai
 
хомус
хомусхомус
хомусmyasko
 
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยงมุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยงMr-Dusit Kreachai
 
В.Бианки.
В.Бианки.В.Бианки.
В.Бианки.myasko
 
чысхаан – властитель холода
чысхаан – властитель  холодачысхаан – властитель  холода
чысхаан – властитель холодаmyasko
 
олонхо
олонхоолонхо
олонхоmyasko
 
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551Mr-Dusit Kreachai
 
вилюйский улус
вилюйский улусвилюйский улус
вилюйский улусmyasko
 
Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)
Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)
Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)aoyama-lab
 
Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)
Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)
Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)aoyama-lab
 
Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)
Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)
Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)aoyama-lab
 
Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)
Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)
Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)aoyama-lab
 

Destaque (14)

Confused words
Confused wordsConfused words
Confused words
 
พลังเด็กเปลี่ยนโลก
พลังเด็กเปลี่ยนโลกพลังเด็กเปลี่ยนโลก
พลังเด็กเปลี่ยนโลก
 
хомус
хомусхомус
хомус
 
มุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยงมุมมองพี่เลี้ยง
มุมมองพี่เลี้ยง
 
В.Бианки.
В.Бианки.В.Бианки.
В.Бианки.
 
чысхаан – властитель холода
чысхаан – властитель  холодачысхаан – властитель  холода
чысхаан – властитель холода
 
олонхо
олонхоолонхо
олонхо
 
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
สถิตเด็กและเยาวชนปี 2548-2551
 
вилюйский улус
вилюйский улусвилюйский улус
вилюйский улус
 
Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)
Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)
Ictの価値を探求・デザインする(実感生放送サービス)
 
Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)
Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)
Ictの価値を探求・デザインする(遠隔操作されるサービス)
 
Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)
Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)
Ictの価値を探求・デザインする(ネットアパレル)
 
Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)
Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)
Ictの価値を探求・デザインする(拡張現実)
 
Fts
FtsFts
Fts
 

Semelhante a โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี

ยางนาสาร-ฉบับที่-80
ยางนาสาร-ฉบับที่-80ยางนาสาร-ฉบับที่-80
ยางนาสาร-ฉบับที่-80Mr-Dusit Kreachai
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชนการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชนYumisnow Manoratch
 
ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75Mr-Dusit Kreachai
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียนtomodachi7016
 
วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2warut phungsombut
 
ยางนาสาร ฉบับที่ 70
ยางนาสาร ฉบับที่  70ยางนาสาร ฉบับที่  70
ยางนาสาร ฉบับที่ 70Mr-Dusit Kreachai
 
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่S-ruthai
 
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55Montree Jareeyanuwat
 
การกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าการกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าaon04937
 

Semelhante a โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี (20)

ยางนาสาร-ฉบับที่-80
ยางนาสาร-ฉบับที่-80ยางนาสาร-ฉบับที่-80
ยางนาสาร-ฉบับที่-80
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
 
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชนการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
 
หน้าที่รับผิดชอบ ศธจ.
หน้าที่รับผิดชอบ ศธจ.หน้าที่รับผิดชอบ ศธจ.
หน้าที่รับผิดชอบ ศธจ.
 
ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
 
996 File
996 File996 File
996 File
 
ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]
 
ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]ข้อมูลโคร..[1]
ข้อมูลโคร..[1]
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
 
V 300
V 300V 300
V 300
 
วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2
 
Youth council
Youth councilYouth council
Youth council
 
ยางนาสาร ฉบับที่ 70
ยางนาสาร ฉบับที่  70ยางนาสาร ฉบับที่  70
ยางนาสาร ฉบับที่ 70
 
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
 
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
คู่มือกรรมการโรงเรียน 55
 
การกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าการกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่า
 

โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี

  • 1. 1 โครงการ ขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังหวัด : อุบลราชธานี องค์กรหลักผูรบผิดชอบโครงการ ้ ั 1. สานักบริการวิชาการชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี(ภาควิชาการ) 2. ศูนย์พฒนาสังคมหน่วยที่ 74 จังหวัดอุบลราชธานี(ภาครัฐ) ั 3. เครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถินต้นแบบ(อปท.) ่ 4. ศูนย์ประสานงานสือสร้างสุขภาวะเด็กและเยาวชนภาคอีสาน(สสอ.) ่ (เครือข่ายองค์กรทีทางานด้าน เด็กและเยาวชน) ่ 5. ศูนย์ศกษาและพัฒนารูปแบบการดาเนินงานแบบจตุภาคี(เครือข่ายเด็กและเยาวชน) ึ ภาคีร่วมพัฒนา (ภาคีหลัก) ประกอบด้วย ภาคีขบเคลื่อนปฏิบตการและภาคีขบเคลื่อนนโยบาย ดังนี้ ั ั ิ ั ภาคีขบเคลื่อนปฏิ บติการ (ระดับพื้นที่ / ตาบล / อาเภอ) ั ั 1. องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถินในพืนทีเ่ ป้าหมายดาเนินการ ่ ้ 3. องค์กรปกครองส่วนท้องถินในพืนทีขยายผล ่ ้ ่ 4. นายอาเภอในพืนทีเป้าหมายดาเนินการ ้ ่ 5. สภาเด็กและเยาวชนระดับตาบล อาเภอ และจังหวัด 6. หน่วยงานราชการในเขตพืนที่ ้ 7. สถานศึกษา ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวะศึกษา 8. สถาบันอุดมศึกษา ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 9. สถาบันทางสังคม ครอบครัว และองค์กรศาสนา ได้แก่ ศูนย์พฒนาครอบครัว วัด และชุมชน ั 10. เครือข่ายผูนาชุมชน และศูนย์ประสานงานองค์กรเครือข่ายในชุมชน ้ 11. ศูนย์ประสานงานสือสร้างสุขภาวะเด็กและเยาวชนภาคอีสาน (สสอ.) ่ ภาคีขบเคลื่อนนโยบาย (หน่ วยงานระดับจังหวัด) ั 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. หน่วยงานราชการระดับจังหวัดอุบลราชธานีทเ่ี กียวข้อง ่ สานักงานพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุษย์จงหวัด ่ ั สานักงานสาธารณสุขจังหวัด ศูนย์พฒนาสังคม หน่วยที่ 74 จังหวัดอุบลราชธานี ั สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมเขตที่ 29 ้ ่ สานักงานเขตพืนทีการประถมศึกษาอุบลราชธานีเขต 1- 5 ้ ่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย(กศน.) เครือข่ายองค์กรด้านเด็กและเยาวชนในพืนทีจงหวัดอุบลราชธานี ้ ่ั
  • 2. 2      เครือข่ายองค์กรงดเหล้าภาคอีสานตอนล่างจังหวัดอุบลราชธานี ศูนย์นวัตกรรมเพือการพัฒนาศักยภาพด้านเด็กและเยาวชน ่ เครือข่ายสืบสานภูมปญญาภาคอีสาน ิ ั กลุ่มสือใสวัยทีน ่ เครือข่ายเด็กและเยาวชนระดับท้องถิน ่ ภาคียทธศาสตร์ (ภาคีสนับสนุน) ุ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุษย์ ่ สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ศูนย์วจยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (ศวช.) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ิั ศูนย์วจยและพัฒนานวัตกรรมด้านการศึกษาเพือการพัฒนาทียงยืน คณะครุศาสตร์ ิั ่ ่ ั่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 8. ศูนย์วจยและนวัตกรรมเด็กทีมความต้องการพิเศษ คณะครุศาสตร์ ิั ่ ี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1. ความเป็ นมาและสถานการณ์ ที่เกี่ยวข้อง สภาพแวดล้อมของเด็กและเยาวชนในจังหวัดอุบลราชธานีนน พบว่ามีสภาพแวดล้อมทีอาจก่อให้เกิด ั้ ่ ั ั ั ปญหาแก่เด็กและเยาวชน ซึงจะเป็ นกาลังขับเคลื่อนอนาคตของประเทศ ไม่ว่าจะเป็ นปญหายาเสพติด ปญหา ่ การทะเลาะวิวาท เป็ นต้น ในปี 2553 นายชวน ศิรนนท์พร ผูว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี(ในขณะนัน) ิ ั ้ ้ ั ได้เล็งเห็นความสาคัญ เกียวกับ ปญหาของเด็กและเยาวชน จึงได้ประกาศนโยบายให้จงหวัดอุบลราชธานีเป็ น ่ ั “ปี แห่งการคุมครองเด็ก” ในปี 2553 โดยมีวตถุประสงค์เพือบูรณาการการทางานคุมครองเด็กจังหวัด ้ ั ่ ้ อุบลราชธานีให้เกิดผลเป็ นรูปธรรม ให้เด็กได้รบการคุมครอง ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาศักยภาพให้เป็ นไป ั ้ ตามวัยทีเ่ หมาะสม และสามารถปรับตัวให้อยูรอดปลอดภัยในการดารงชีวตอยูในสังคมได้อย่างปกติสข ซึงมี ่ ิ ่ ุ ่ การดาเนินงานแบบบูรณาการจากหลายภาคส่วน โดยเน้นดาเนินการในหลักการ 2 ประเด็นหลัก คือ การลด พืนทีเ่ สียงและการเพิมพืนทีดี ในแต่ละพืนทีของจังหวัด (ทังระดับอาเภอและระดับตาบล) ซึงเป็ น ้ ่ ่ ้ ่ ้ ่ ้ ่ การ ดาเนินงานในรูปแบบสภาเด็กและเยาวชนในระดับตาบลต้นแบบ จากนโยบายดังกล่าวทาให้หน่วยงานภาครัฐ และเอกชนหลายแห่งในจังหวัดได้นาไปสูการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ด้านเด็กและเยาวชนในจังหวัด ซึงพบว่า ่ ่ ั เกิดปญหาในการดาเนินงานดังนี้ 1) หน่วยงาน/องค์กรทีนานโยบายไปปฏิบตยงไม่เข้าใจตรงกันมากนัก ่ ั ิ ั ในแนวทางปฏิบตจริง ซึงบุคลากรทีเ่ ข้าร่วมประชุมรับมอบนโยบายเมือกลับไปยังพืนทีตองมีการประสานงาน ั ิ ่ ่ ้ ่ ้ กับหลายภาคส่วนเพือทาความเข้าใจ จึงทาให้หลายหน่วยงานไม่สามารถดาเนินการได้ รวมถึงต้องใช้เวลาและ ่ งบประมาณด้วย 2) ด้านงบประมาณดาเนินงาน ซึงหลายหน่วยงาน โดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิน ่ ่ ั จะมีปญหาเดียวกันคือไม่ได้จดทาแผนงาน/โครงการตามนโยบายดังกล่าวไว้ล่วงหน้า ส่งผลทาให้ไม่ม ี ั
  • 3. 3 งบประมาณดาเนินงานในพืนที่ 3) ด้านบุคลากรผูรบผิดชอบ เมือความเข้าใจในแนวทางปฏิบตยงไม่ชดเจน ้ ้ั ่ ั ิ ั ั ทาให้บุคลากรผูรบผิดชอบ ในการดาเนินงาน หรือผูทมาร่วมประชุมรับมอบนโยบายไม่สามารถอธิบายให้กบ ้ั ้ ่ี ั ผูบริหารองค์กรให้ชดเจนได้ ทาให้การดาเนินงานหยุดชะงักลง 4) หน่วยงานเจ้าภาพผูประสานงานหลัก ยัง ้ ั ้ ขาดการกระตุนหรือการติดตามการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง และยังไม่เป็ นระบบมากนักทาให้การรายงาน ผล ้ มีความล่าช้าและขาดประสิทธิภาพ และ 5) การดาเนินโครงการของแต่ละหน่วยงาน ยังขาดการบูรณาการ เชือมโยงระหว่างหน่วยงานทีชดเจน เช่น ด้านข้อมูล ด้านกระบวนการ รวมทังด้านงบประมาณดาเนินงาน จึง ่ ่ ั ้ ทาให้บางโครงการ/กิจกรรมมีความซ้าซ้อนและไม่เกิดผลทีชดเจนมากนัก ่ ั มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ถือเป็ นสถาบันการศึกษาแห่งหนึ่งในพืนทีจงหวัดอุบลราชธานีทให้ ้ ่ั ่ี ความสาคัญในการพัฒนาเด็กและเยาวชน รวมทังการพัฒนาสังคม ซึงเห็นว่าสังคมไทยกาลังเข้าสูยคท้องถิน ้ ่ ่ ุ ่ ภิวฒน์ (Localization) ทีเน้นความเข้มแข็งของชุมชนท้องถินในการบริหาร จัดการ ปกป้อง ดูแล และส่งเสริม ั ่ ่ ศักยภาพของคนรุนใหม่ตลอดจนเด็กและเยาวชน เพือให้มการสร้างกระบวนทัศน์ ค่านิยม และแนวทางของ ่ ่ ี กิจกรรมเพือความมันคงของภูมภาค การดารงรักษาสิงแวดล้อม ทรัพยากรมีคา และขนบธรรมเนียมประเพณี ่ ่ ิ ่ ่ วัฒนธรรมท้องถินมากยิงขึน ซึงได้กาหนดไว้ในพันธกิจทีทางมหาวิทยาลัยต้องถือเป็ นแนวปฏิบตต่อสังคม คือ ่ ่ ้ ่ ่ ั ิ “ผลิตบัณฑิตทีมความรูคคณธรรมและมีทกษะทีได้มาตรฐาน เพือตอบสนองความต้องการของชุมชน ท้องถิน ่ ี ้ ู่ ุ ั ่ ่ ่ และประเทศชาติ โดยการบูรณาการการวิจย การบริการวิชาการชุมชน การอนุรกษ์ศลปวัฒนธรรม ั ั ิ ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม รวมถึงแนวคิดตามโครงการพระราชดาริผสานเข้ากับการเรียนการสอน ่ ภายใต้ระบบการบริหารจัดการทีโปร่งใสและมีประสิทธิภาพ” ยิงไปกว่านัน มหาวิทยาลัยราชภั ฏอุบลราชธานี ่ ่ ้ ยังมีนโยบายสาคัญในเรืองของภูมภาคลุ่มน้าโขง การเปิ ดประตูทางการศึกษาสูประชาคม ASEAN โดยเฉพาะ ่ ิ ่ ในประเทศเพือนบ้าน ได้แก่ ลาว เขมร และเวียดนาม เป็ นต้น มีการปรับปรุงหลักสูตรทุกด้านทีมงลงสูชมชน ่ ่ ุ่ ่ ุ ท้องถิน ภาษาและวัฒนธรรม ในอนุ ภมภาคลุ่ม น้าโขง การแลกเปลียนนิสตนักศึกษา การลง นาม MOU เพือ ่ ู ิ ่ ิ ่ ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยราชภั ฏอุบลราชธานีกบมหาวิทยาลัยอืนๆ ในอนุ ภมภาคลุ่ม น้าโขง เช่น ั ่ ู ิ มหาวิทยาลัยจาปาสัก และในปี พ.ศ. 2553 สานักบริการวิชาการชุมชน มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุบลราชธานี ซึงมีฐานะเทียบเท่าคณะมีพนธกิจหลักในการให้บริการวิชาการแก่ชมชนทุกรูปแบบ ่ ั ุ ได้มแนวคิด ในการ ี สนับสนุนองค์กรของสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานีทมการ บริหารจัดการในรูป แบบของ “องค์กร ่ี ี ่ สาธารณะประโยชน์” เพือเปิ ดรับการพัฒนา การส่งเสริมความร่วมมือ และทุนสนับสนุนจากทุกฝาย จน ่ สามารถดาเนินการสร้างความเข้มแข็งให้กบสภาเด็กและเยาวชนระดับจังหวัด อาเภอ และระดับท้องถินได้เป็ น ั ่ อย่างดี มีการจัดโครงการกิจกรรมต่างๆ มากมาย เช่น การสร้างเครือข่าย กลุ่มกิจกรรมด้านเด็กและเยาวชน เป็ นต้น และมีการพัฒนามากขึน ทังในเรืองจตุภาคี อันได้แก่ สภาเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานี ยโสธร ้ ้ ่ ศรีสะเกษ และอานาจเจริญ ได้ม ีการจัดกิจกรรมเชือมความสัมพันธ์กบสภาเด็กและเยาวชนในประเทศเพือน ่ ั ่ บ้าน ได้แก่ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา และประเทศสังคมนิยม เวียดนาม เพือพัฒนาไปสูสภาเด็กและเยาวชน ASEAN ในอนุภมภาคลุ่มน้าโขงด้วย ่ ่ ู ิ ในการสร้างความเข้มแข็งด้านเครือข่าย ไปสูสภาเด็กและเยาวชนระดับอาเภอและตาบล เป็ นไปอย่าง ่ กว้างขวางส่งผลให้เกิดการสร้างความร่วมมือจากองค์กรและหน่วยงาน เป็ นเครือข่ายการทางานด้านเด็กและ เยาวชนในพืนทีจงหวัดอุบลราชธานี แบ่งเป็ น 5 เครือข่ายทีสาคัญ คือ เครือข่ายหน่วยงานจากภาครัฐ ้ ่ั ่ เครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิน เครือข่ายด้านวิชาการ เครือข่ายองค์กร ทีทางานด้านเด็กและเยาวชน ่ ่ (NGOs) และเครือข่ายเด็กและเยาวชน เช่น สภาเด็กและเยาวชนในท้องถิน ตลอดระยะเวลา 2-3 ปี ทผานมา ่ ่ี ่
  • 4. 4 มหาวิทยาลัยราชภั ฏอุบลราชธานี มีความพร้อม ความเข้มแข็ง ให้การสนับสนุนเป็ นอย่างดีทงในเรืองของ ั้ ่ บุคลากร สถานทีตง หลักสูตรการฝึกอบรม งบประมาณบางส่วน เพือให้สภาเด็กและเยาวชนทุกระดับได้มา ่ ั้ ่ ศึกษาแลกเปลียนเรียนรู้ เยียมเยือนจนเป็ นศูนย์กลาง ในระดับ ภูมภาคได้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2555 สา นักงาน ่ ่ ิ กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) ได้ให้ความร่วมมือและส่งเสริม สนับสนุนการดาเนินงานด้าน เด็กและเยาวชนกับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีดวยดีมาโดยตลอด ประกอบกับท่าน รศ.ดร.สมพงษ์ ้ จิตระดับ ซึงเป็ นผูเ้ ชียวชาญด้านเด็กและเยาวชนได้ดาเนินการวิจยภายใต้โครงการการสร้างความเป็ น ่ ่ ั พลเมืองในสภาเด็กและเยาวชนระดับท้องถินในปี 2554 ทีผานมา โดยมีพนทีจงหวัดอุบลราชธานีเป็ น ่ ่ ่ ้ื ่ ั ั ั กรณีศกษาและปจจุบนท่านยังดารงตาแหน่งเป็ นกรรมการสภาวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ึ ด้วยความร่วมมืออันดี นี้ได้เห็นพ้องและสร้างข้อตกลงร่วมกันเพือยกระดับความเข้มแข็ง ความร่วมมือ การ ่ ประสานงาน การพัฒนาศักยภาพของเด็กและเยาวชนในมิตจตุภาคี สภาเด็กและเยาวชน ASEAN สภาเด็ก ิ และเยาวชนท้องถิน สร้าง HUB ด้านเด็กและเยาวชน ในอนุ ภมภาคลุ่ม น้าโขงให้ชดเจนขึน อย่างไรก็ตาม เมือ ่ ู ิ ั ้ ่ พิจารณากระบวนการดาเนินงานของหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ทัง 5 เครือข่าย พบว่า การ ้ ั จัดกิจกรรม และการดาเนินงานเพือแก้ปญหาทีเ่ กิดขึนในแต่ละพืนทียงเป็ นการดาเนินงานทีเ่ กิดขึนเฉพาะภาคี ่ ้ ้ ่ ั ้ เครือข่าย หรือเฉพาะพืนทีแต่ยงไม่ได้เกิดการขยาย ผลให้เต็มพืนทีทงจังหวัด ซึงหากมีกระบวนการจัดการ ้ ่ ั ้ ่ ั้ ่ ความรู้ และสนับสนุนให้เกิดการบูรณาการงานจากบทเรียนของพืนทีทประสบผลสาเร็จ และการแลกเปลียน ้ ่ ่ี ่ เรียนรูมาใช้โดยผ่านศูนย์ การเรียนรูของเครือข่าย พร้อมทังการมีหน่วยงานกลางเพือจัดการให้เกิดความ ้ ้ ้ ่ ร่วมมือระหว่างหน่วยงาน องค์กร ภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ทีมอยู่ จะทาให้เกิดการขยายการปฏิบตการครอบคลุม ่ ี ั ิ ทุกพืนที่ ในทุกระดับ ตามบริบทของการดาเนินการเชิงประเด็นในแต่ละเครือข่าย ทัง 5 เครือข่าย และ ้ ้ ั ก่อให้เกิดการจัดการกับปจจัยเงือนไขซึงเป็ นข้อจากัดในการขยายพืนที่ ่ ่ ้ ซึงจะทาให้การพัฒนาโครงการ ่ ขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนของจังหวัดอุบลราชธานีมความเป็ นไปได้ในการปฏิบติเป็ นอย่างดี ี ั 2. ทุนทางสังคมของงานด้านเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานี อบลราชธานี ุ จังหวัดอุบลราชธานีได้กาหนดวิสยทัศน์ของจังหวัด โดยใช้ชอว่า "ชุมชนเข็มแข็ง เมืองน่าอยู่ ั ่ื เป็ นประตูการค้าและการท่องเทียว การเกษตรมีศกยภาพ" กล่าวคือ จังหวัดอุบลราชธานีมความพร้อมในการ ่ ั ี เป็ นจังหวั ด HUB ในอนุ ภม ิภาคลุ่มน้าโขง ในการเปิ ดประตูการค้าสูอนโดจีน ทีมยทธศาสตร์ ู ่ ิ ่ ีุ ทีตงติดกับ ่ ั้ ประเทศเพือนบ้าน ได้แก่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และราชอาณาจักรกัมพูชา อีกทังเป็ น ่ ้ จังหวัดทีอดมด้วยทรัพยากรทางธรรมชาติ และศิลปวัฒนธรรม ซึงในการกาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ในการ ุ่ ่ พัฒนาของจังหวัดอุบลราชธานี ทัง 5 ด้าน ได้แก่ การค้าชายแดน การท่องเทียว การผลิตเกษตรอินทรีย์ ้ ่ การพัฒนาแรงงาน และการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวต ิ
  • 5. 5 ทุนเครือข่ายทางสังคม รูปธรรม และองค์ความรู้ด้านเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานีมเี ครือข่ายหลัก 5 เครือข่ายในการทางานร่วมกันเพือขับเคลื่อน ่ 1) เครือข่ายองค์กรภาครัฐ การทางานของเครือข่ายองค์กรภาครัฐทีเ่ กียวข้องกับการดาเนินงานด้านการส่งเสริมการเรียนรู้ ่ ของเด็กและเยาวชนในพืนทีจงหวัดอุบลราชธานีเกิดจากการตอบสนองตามนโยบายและองค์กรชุมชนในพืนที่ ้ ่ั ้ ซึง ประกอบด้วย หน่วยงานของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุษย์ ศูนย์พฒนาสังคมที่ ่ ่ ั 74 อุบลราชธานี วัฒนธรรมจังหวัด สภาวัฒนธรรมอาเภอ สภาวัฒนธรรมจังหวัด คุมประพฤติ สาธารณสุขจังหวัด สภาเด็กและเยาวชน ทังในระดับจังหวัด อาเภอและตาบล การศึกษานอกโรงเรียน องค์การพระผูนาพัฒนา ้ ้ แผ่นดินธรรมแผ่นดินทองในจังหวัดอุบลราชธานีและบุคลากรทางด้านการศึกษา เครือข่ายเหล่านี้ได้เชือม ่ ประสานการทางานร่วมกันนาสูผลลัพธ์และผลผลิตด้านการขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนอุบลราชธานี ่ การดาเนินงานการส่งเสริมการเรียนรูดานเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานี เกิดจากการทบทวน ้ ้ และฟื้นฟูงานประเพณีดงเดิมวัฒนธรรม ฮีต 12 ครอง 14 โดยการเรียนรูสบสานจากผูสงอายุในชุมชนส่งผลให้ ั้ ้ ื ู้ เยาวชนมีจตอาสาเพิมมากขึน มีการสร้างและสนับสนุนการดาเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนในระดับ ิ ่ ้ จังหวัด อาเภอและตาบล โดยการสนับสนุนงบประมาณ หนุนเสริมการพัฒนาศักยภาพและเชือมโยงการ ่ ดาเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนจากระดับจังหวัดสูระดับตาบลอย่างเป็ นรูปธรรม โดยการทางานผ่าน ่ เครือข่ายทีมความเข้มแข็งและมีรปธรรมทีชดเจน เด็กกลุ่มเสียงได้รบการพัฒนาทักษะด้านต่างๆ ทังการเพิม ่ ี ู ่ ั ่ ั ้ ่ ั ทักษะชีวต การเข้าค่ายการให้คาปรึกษาทางจิตวิทยา ค่ายธรรมะ กิจกรรมวิทยาลัยลูกผูชายและการปจฉิม ิ ้ นิเทศเพือให้เกิดการปรับตัวและอยูในสังคม ชุมชนได้อย่างมีความสุข การพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิน ่ ่ ่ ทุรกันดารในพระราชดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามมกุฎราชกุมารี โดยมีการอบรมครูในโรงเรียน ตารวจตระเวนชายแดน (ตชด.) การพัฒนาห้องสมุด มีนาหลักสูตรสมเด็จย่าไปปรับใช้ในโรงเรียน การพัฒนา ั เด็กด้านโภชนาการ สติปญญาและมีโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน นอกจากนี้ยงมีการศึกษาและพัฒนา ั งานวิจยด้านเด็กและเยาวชน (ภาคนิพนธ์) พัฒนาหลักสูตรทีเ่ หมาะสมสาหรับนักศึกษาและคณาจารย์ท่ี ั ั มหาวิทยาลัยราชภัฃฏอุบลราชธานี เช่น หลักสูตรจิตปญญาศึกษา การพัฒนาหลักสูตรระยะสันเพือการพัฒนา ้ ่ บุคลากรด้านเด็กและเยาวชนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถินในจังหวัดอุบลราชธานี ยโสธรและ ่ อานาจเจริญ การพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางด้านการศึกษา การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเด็กด้วยภายใต้ โครงการคาราวานเสริมสร้างเด็ก ค่ายเยาวชนในพืนทีตนแบบ การดูแลช่วยเหลือและเยียวยาเด็กด้อยโอกาส ้ ่ ้ โครงการถนนเด็กเดิน นอกจากนี้ยงมีเครือข่ายการทางานด้านเด็กและเยาวชนจากจังหวัดยโสธร ได้แก่ พัฒนาสังคมและ ั ความมันคงของมนุษย์จงหวัดยโสธร ได้รวมเป็ นเครือข่ายในลักษณะจตุภาคีโดยได้มการส่งเสริมให้สภาเด็ก ่ ั ่ ี ่ และเยาวชนจังหวัดยโสธรเข้าค่ายพุทธบุตรของวัดปาวังน้าทิพย์ อาเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร โดยได้รบการ ั อบรมจากแกนนาพีเ่ ลียง/วิทยากรเยาวชนรุนพี่ ซึงสามารถเป็ นพีเ่ ลียงในการจัดกระบวนการเรียนรูและเป็ น ้ ่ ่ ้ ้
  • 6. 6 แบบอย่างให้กบรุนน้องซึงส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรูและปรับปรุงตนเองจากการศึกษาพฤติกรรม ั ่ ่ ้ ตนเอง ผลลัพธ์ผลผลิตทีเ่ กิดขึนคือการเรียนรูการเป็ นผูนาทีดี การฝึกทักษะชีวต และส่งเสริมคุณธรรม ้ ้ ้ ่ ิ จริยธรรมของเยาวชน
  • 7. 7
  • 8. 8 2) เครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่ น จากพฤติกรรมทีไม่พงประสงค์ของเด็กและเยาวชนมากมายหลายรูปแบบตังแต่การรูสกไม่ม ี ่ ึ ้ ้ ึ ความภาคภูมใจในถินกาเนิดของตนและภูมปญญาของบรรพบุรษรวมทังพฤติกรรมทีไม่พงประสงค์ในรูปแบบ ิ ่ ิ ั ุ ้ ่ ึ ั อืนทีไม่แสดงออกในเชิงสร้างสรรค์ แต่กลับแสดงถึงความก้าวร้าวนิยมความรุนแรง สร้างปญหาให้กบสังคม ่ ่ ั เช่น ตกเป็ นเหยือของยาเสพติด ขับรถแข่งในถนนสาธารณะซึงเป็ นพฤติกรรมทีสร้างความราคาญให้แก่ ่ ่ ่ สาธารณชนเป็ นอย่างยิง นอกจากนี้ยงมีพฤติกรรมทางลบอีกมากมายของเด็กและเยาวชน จึงเป็ นทีมาของการ ่ ั ่ หาทางบรรเทายับยังหรือหยุดพฤติกรรมต่างๆ เหล่านี้ รัฐบาล และองค์กรปกครองส่วนท้องถินหลายๆ แห่ง ้ ่ จึงได้มนโยบายเชิงรุกเพือสร้างคุณลักษณะของเด็กและเยาวชนทีพงประสงค์ขนในฐานะทีเ่ ด็กและเยาวชนต่าง ี ่ ่ ึ ้ึ ั ก็เป็ นพลเมืองของสังคม นโยบายนี้นอกจากจะหาทางขจัดปญหาออกจากเด็กและเยาวชนแล้วนโยบายยัง ครอบคลุมไปถึงการพัฒนาศักยภาพของเด็กและเยาวชนเพือสร้างคุณภาพให้ประชากรในอนาคตของประเทศ ่ ด้วย เพือให้นโยบายสาธารณะทีเ่ กียวข้องกับเด็กและเยาวชนนาไปสูการปฏิบตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ่ ่ ่ ั ิ การค้นหาต้นทุนทางสังคมจากศักยภาพทีมอยูกอนแล้วจึงเป็ นวาระเร่งด่วนทีองค์กรปกครองส่วนท้องถินได้ทา ่ ี ่ ่ ่ ่ จากผลการปฏิบตงานเพือค้นหาต้นทุนพบว่า ศักยภาพของเด็กและเยาวชนในท้องถินประกอบด้วยมีกลุ่มจิต ั ิ ่ ่ อาสา กลุ่มอนุรกษ์ภมปญญาท้องถิน ศักยภาพของเยาวชนต้นแบบ คุณลักษณะเหล่านี้จะเป็ นพลังในการ ั ู ิ ั ่ ขับเคลื่อนเป็ นแรงจูงใจให้คนอืนๆ ได้นาไปปฏิบตต่อยอดขยายผล ่ ั ิ องค์กรปกครองส่วนท้องถินได้จดให้มกจกรรมในรูปแบบทีหลากหลายเพือพัฒนาคุณภาพชีวตให้แก่ ่ ั ี ิ ่ ่ ิ ั เด็กและเยาวชน เช่น การปลูกฝงจิตสานึกรักบ้านเกิด การส่งเสริมการกีฬา การส่งเสริมอาชีพ รวมทังกิจกรรม ้ ทีสงเสริมศักยภาพ เช่น สภาเด็กและเยาวชน และการวิจยชุมชนเพือนาผลมาเผยแพร่และสร้างมูลค่าเพิม ่่ ั ่ ่ ให้แก่ทองถิน เป็ นต้น กิจกรรมเหล่านี้องค์กรปกครองส่วนท้องถินไม่สามารถทาได้โดยลาพังต้องอาศัยความ ้ ่ ่ ร่วมมือจากหน่วยงานภาครัฐ และองค์กรเอกชนทีตองช่วยหนุนเสริม ทังในด้านข้อมูล วิชาการ และทุนด้าน ่ ้ ้ ต่างๆ ทังในและนอกพืนที่ ้ ้ ั เวทีหรือพืนทีสาหรับการแสดงออกเชิงสร้างสรรค์ของเด็กและเยาวชนเป็ นปจจัยสาคัญทีหนุนเสริมให้ ้ ่ ่ พลังบริสทธิ ์เหล่านี้มแรงจูงใจในการทางานประเภทสร้างสรรค์ได้อย่างต่อเนื่อง เพราะเป็ นจิตวิทยาพืนฐานที่ ุ ี ้ มนุษย์ทกคนต้องการการยอมรับจากคนอืน เมือผลงานเป็ นทียอมรับในระดับประเทศและระดับต่างๆ ไม่ว่าจะ ุ ่ ่ ่ เป็ นเกียรติบตร การยอมรับจากสือ หรือแม้แต่คายกย่องชมเชย สิงเหล่านี้แม้จะแทบไม่มมลค่าเป็ นเงินทองแต่ ั ่ ่ ี ู กลับมีมลค่าสูงยิงทางจิตใจทีผลักดันให้เด็กและเยาวชนเกิดความคิดริเริมสร้างสรรค์และมีกาลังใจทีจะทางาน ู ่ ่ ่ ่ โดยไม่รจกเหน็ดเหนื่อย ู้ ั ผลผลิตและผลลัพธ์ทได้จากกระบวนการทีกล่าวมาจะได้แกนนาทีมศกยภาพและจานวนทีเ่ พิมขึน ่ี ่ ่ ี ั ่ ้ เกิดความคิดทีนาไปสูกจกรรมเชิงสร้างสรรค์ มีทศนคติทดต่ออาชีพสุจริต มีทกษะในการทางานก่อให้เกิด ่ ่ ิ ั ่ี ี ั
  • 9. 9 รายได้ทดี รวมทังมีความภาคภูมใจและรูจกอนุรกษ์ภมปญญาท้องถิน ทาให้เป็ นพลเมืองทีมอดมการณ์อดมคติ ่ี ้ ิ ้ั ั ู ิ ั ่ ่ ีุ ุ ทีสอดคล้องกับการทางานในท้องถิน ซึงส่งผลให้จงหวัดอุบลราชธานีเป็ นเมืองของการสร้างสรรค์เด็กและ ่ ่ ่ ั เยาวชนอย่างแท้จริง
  • 10. 10
  • 11. 11 3. เครือข่ายองค์กรที่ ทางานด้านเด็กและเยาวชน (NGOs) เครือข่ายองค์กรด้านเด็กและเยาวชน เกิดจากการรวมตัวของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการ ขับเคลื่อนงานในกลุ่มเด็กและเยาวชนผ่านประเด็นด้านสุขภาวะทีหลากหลาย ครอบคลุมทังด้านร่างกาย จิตใจ ่ ้ ั สังคม และสติปญญาซึง ประกอบด้วยเครือข่ายสาคัญ จานวน 9 กลุ่ม ดังนี้ 1)เครือข่ายประชาคมองค์กรงด ่ เหล้า มีแนวคิดการดาเนินงานลดผลกระทบจากการดื่มแอลกอฮอล์ สร้างเสริมสุขภาวะของคนในสังคม ปกป้องคุมครองเด็กและเยาวชนจากแอลกอฮอล์ 2)โรงเรียนหนองขอนวิทยา เน้นกิจกรรมการ สร้างให้เด็ก มี ้ ความซื่อสัตย์ สุจริตมีความ ยุตธรรม และมีความรูเ้ กียวกับ กฎหมายพืนฐาน รวมถึงการมีความคิดเชิงบวก ิ ่ ้ เกียวกับกระบวนการยุตธรรม 3)ศูนย์ประสานงา นภาคเอกชน สังกัดสานักงานพัฒนาสังคมและพัฒนาความ ่ ิ มันคงของมนุษย์จงหวัดอุบลราชธานี 4)สโมสรไลออนอุบลราชธานี มีแนวคิดการพัฒนาเยาวชนด้านการศึกษา ่ ั และการมี คณภาพชีวต ทีดี 5)โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ ได้เน้นกิจกรรม ปลอดบุหรี่ ผานกิจกรรม Smart ุ ิ ่ ่ Camp 6)สมาคมผูปกครองโรงเรียนอนุบาลอุบลราชธานี ในนามชมรมเด็กดีศรีอบล ได้จด แสดงดนตรี แก่กลุ่ม ้ ุ ั ผูปวยและญาติเพือเสริมสร้างกาลังใจ 7)เครือข่ายสือสร้างสุขภาวะเยาวชนภาคอีสาน(สสอ.) 8) กลุ่มประชาคม ้ ่ ่ ่ งดเหล้าเทศบาลตาบลปทุมและ 9)เครือข่ายมะขามป้อม มีแนวคิด สืบสานภูมปญญา ท้องถิน การพัฒนา ิ ั ่ เยาวชนบนฐานการเรียนรูชมชน เรียนรูรากเหง้า วัฒนธรรมท้องถิน และพัฒนาเยาวชนให้ รเท่าทันสือ โดยทุก ุ้ ้ ่ ู้ ่ ั เครือข่ายได้มแนวคิดทีสอดคล้องกัน ในการร่วมคิด ร่วมทา ร่วมรับผลประโยชน์ และร่วมแบ่งปนความสุขจาก ี ่ การดาเนินงาน ผลผลิตและผลลัพธ์ทเ่ี กิดขึน คือ กลุ่มคณะทางานภายใต้แนวคิดเดียวกัน เกิดแกนนาเด็กและเยาวชน ้ ทีมศกยภาพ เกิดศูนย์เรียนรูในพืนที่ เกิดเครือข่ายกลุ่มต่างๆ ดังนี้ ่ ี ั ้ ้ 1) กลุ่มเครือข่ายโรงเรียนเยาวชนพลยุตธรรม ิ 2) กลุ่ม Smart Camp โรงเรียนปทุมพิทยาคม 3) ศูนย์การเรียนรู้ To Be Number 1 โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ 4) สโมสรไลออนอุบลราชธานี 5) เครือข่ายหมูบานปลอดเหล้าบ้านโนนมะเขือ-บ้านดอกแก้ว ่ ้ 6) กลุ่มเครือข่ายพลังเยาวชนนักรณรงค์เฝ้าระวังภัยแอลกอฮอล์ 7) ศูนย์นวัตกรรมเพือการพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน ่ 8) กลุ่มประชาคมงดเหล้าเทศบาลตาบลปทุม 9) กลุ่มเด็กและเยาวชนจิตอาสาพัฒนาบ้านนาห้าง-บ้านโนนศาลา 10) กลุ่มพัฒนาเด็กและเยาวชน อบต.บัวงาม
  • 12. 12 4. เครือข่ายเด็กและเยาวชน สภาเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานีกอตังเมือปี พ.ศ. ่ ้ ่ 2549 โดยนายสุธี มากบุญ (ผูว่าราชการจังหวัดในขณะนัน)ได้มแนวคิดทีจะจัดตังสภาเด็กและเยาวชนเพือให้มองค์กรกลางทีทางานด้าน ้ ้ ี ่ ้ ่ ี ่ เด็กและเยาวชนรวมไปถึงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพให้แก่เด็กและเยาวชนในจังหวัดทังยังเป็ นทีปรึกษา ้ ่ ด้านเด็กและเยาวชนให้แก่ผว่าราชการจังหวัดโดยมอบหมายให้สานักงานพัฒนาสังคมและความมันคงของ ู้ ่ มนุษย์เป็ นองค์กรพีเ่ ลียงและเป็ นองค์กรหลักในการจัดตัง สภาเด็กและเยาวชนมีคณะกรรมการทังหมด 69 คน ้ ้ ้ มีนายอัมพร วาภพ เป็ นประธาน โดยมีการจดทะเบียนเป็ นองค์กรสาธารณประโยชน์เลขที่ 1192 ต่อมาปี 2550 เกิด พ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ 2550 และมีการเลือกตังคณะกรรมการสภาเด็ก ้ และเยาวชนชุดใหม่ใน 2 ระดับคือระดับอาเภอและระดับจังหวัด โดยในระดับจังหวัดมีคณะกรรมการบริหาร จานวน 21 คน ระดับอาเภอๆละ 16 คน สภาเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานีมผลการดาเนิน ี มาอย่างต่อเนื่องทังกิจกรรมถนนเด็กเดิน , ้ กิจกรรมพัฒนาศักยภาพแกนนาสภาเด็กและเยาวชน ,กิจกรรมทัศ นศึกษา,กิจกรรมเชือมสัมพันธ์ไทย-ลาว, ่ กิจกรรมการพัฒนาพิธกรและวิทยากร,กิจกรรมประกวดทูตเยาวชน,กิจกรรมรณรงค์(งดเหล้า,ยาเสพติด, ี การค้ามนุษย์),กิจกรรมพืนทีสร้างสรรค์ตนแบบสาหรับเด็กและเยาวชน,ฯลฯ ้ ่ ้
  • 13. 13 ผลจากการดาเนิน งานได้สงผลให้สภาเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานี ได้รบรางวัล Child Watch ่ ั Award 2 ปี ต่อเนื่องและรางวัลองค์กรเยาวชนส่งเสริมการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด ดีเด่นในปี 2552 รวมทัง ยัง ้ ส่งผลให้เด็กแกนนามีพฒนาการและมีศกยภาพในการดาเนินกิจกรรมโดยมีเด็กและเยาวชนแกนนาทีสามารถ ั ั ่ เป็ นวิทยากร การอบรม เป็ นพิธกรตามงานต่างๆ และเด็กเยาวชนในระดับตาบล ยังสามารถพัฒนาโครงการ ี และดาเนินโครงการพัฒนาต่างๆในระดับตาบลและอาเภอได้เป็ นอย่างดี รวมถึงการมีพนทีให้เด็ก และเยาวชน ้ื ่ ได้แสดงงออกในทางสร้างสรรค์มากขึนทาให้พนทีเ่ สียงลง ้ ้ื ่ Child Watch Award 2 - 5. เครือข่ายด้านวิ ชาการ สถานศึกษาและสถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดอุบลราชธานี เขตพืนทีการศึกษาเขตมัธยมที่ 29 ้ ่ เขตพืนทีการศึกษาการประถมศึกษาอุบลราชธานีเขต 1-5 ้ ่ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย(กศน.) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี โดยเฉพาะมหาวิทยาลัย ราชภัฏอุบลราชธานี มีบทบาทและหน้าทีหลักในการผลิตบัณฑิตให้กบ ่ ั ชุมชน ท้องถิน โดย มุงเน้นการทางาน ใน การให้บริการ วิชาการแก่ ชุมชน ซึงเป็ นภารกิจสาคัญตาม ่ ่ ่ พระราชบัญญัตของมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2547 โดยมีโครงการสาคัญ ด้านเด็กและเยาวชนทีดาเนินการ ดังนี้ ิ ่ 1) โครงการศึกษาวิจยและพัฒนาศักยภาพบุคลากรในชุมชนท้องถิน โดยความร่วมมือของ ั ่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และองค์กรยูนิเซฟ ประเทศไทย พ.ศ. 2554 – 2555 2) โครงการศูนย์การเรียนรูชมชน แข้มแข็งด้านเด็กและเยาวชนตาบลบัวงาม อาเภอบุณฑริก ุ้ จังหวัดอุบลราชธานี ศูนย์การเรียนรูภมปญญาท้องถินและศูนย์การเรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียง ้ ู ิ ั ่
  • 14. 14 (โรงเรียนบ้านบัวยาง) 3) โครงการค่ายเยาวชนอาสา โดย จัดร่วมกับภาคีหลายภาคส่วนของจังหวัดอุบลราชธานี มีเยาวชน เข้าร่วมทังสิน 4,760 คน โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีม ี นักศึกษาเข้าร่วม ้ ้ โครงการจานวน 470 คน 4) ศูนย์ การ เรียนรูบานยางน้อย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี อาเภอเขืองใน จังหวัด ้ ้ ่ อุบลราชธานี ได้ อานวยความสะดวกในการ จัดอบรมการพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนด้าน ต่างๆ โดยมหาวิทยาลัย ได้เน้นการให้บริการ แก่ชมชน เช่น การจัดค่ายเยาวชนและฝึกอบรม ุ ให้กบหน่วยงานต่างๆ ทังภาครัฐและเอกชน ั ้ 5) การเตรียมความพร้อมของเยาวชนสูเวทีในระดับอาเซียน มีการลงนามบันทึกข้อตกลงร่วมกัน ่ (MOU) ในระดับเครือข่ายทีอยูในกลุ่มประเทศอาเซียน การปรับปรุงหลักสูตรวิชาการเรียน ่ ่ อาเซียนศึกษาในแต่ละประเทศ การให้ทนการศึกษาสาหรับนักศึกษาในอาเซียน การตังศูนย์ ุ ้ คณะครุศาสตร์อาเซียน เพือผลิตครูในการสอนระดับอาเซียนต่อไป ่ ั ด้วยมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ถือเป็ นส่วนหนึ่งของทุนทางปญญาและทุนทางสังคมใน ด้านวิชาการทีจะสนับสนุนกลไก ในการขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชน บทบาทสาคัญคือเป็น ่ แกนกลางศูนย์รวม ( Focal Point )ในการสนับสนุนงานด้านเด็กและเยาวชน การจัดระบบฐานข้อมูล การเป็นองค์ความรูดานวิชาการ บทบาทในการสนับสนุนเป็นทีปรึกษางานด้านเด็กและเยาวชน ้ ้ ่ (Coaching) จากการแลกเปลียนเรียนรูพบว่าในคณะ ต่างๆมีการสนับสนุนงานด้านเด็กและเยาวชนเป็น ่ ้ ทุนเดิม ทังในส่วนของ คณะครุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ คณะ ้ มนุษยศาตร์และสังคมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยแพทย์ แผนไทยและแพทย์ทางเลือก และสานักบริการวิชาการชุมชน เช่น งานกิจกรรมนักศึกษาในรูปแบบ ของชมรมและชุมนุมทีทากิจกรรมงานในเชิงประเด็นส่งเสริมสุขภาวะ งานจิตอาสาทาความดี การเรียนรู้ ่ ภูมปญญาท้องถิน การเรียนรูเรือง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การเรียนรูวทยาศาสตร์ วิถพุทธ การ ิ ั ่ ้ ่ ้ิ ี สอนสื่อไอทีและ เทคโนโลยีให้กบชุมชน เป็นต้น นอกจากนี้ทางสานักบริการวิชาการชุมชน ยัง มีส่วน ั สาคัญในการเชื่อมประสาน งานกับ หลายองค์กรและเครือข่ายงานด้านเด็กและเยาวชน ทังภาครัฐ ้ ภาคเอกชน มูลนิธ ิ และองค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) โดยให้บริการ แก่ ชุมชนในด้านวิทยากร กระบวนการทีมความรูความสามารถแก่หน่วยงานต่างๆ การจัดตังศูนย์การเรียนรูบานยางน้อย เพื่อ ่ ี ้ ้ ้ ้ รองรับการจัดค่ายพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน ซึง มุงมันในการเป็นศูนย์กลางของฐานข้อมูลด้าน ่ ่ ่ เด็กและเยาวชน โดยเชื่อมกับหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิน และหน่วยงานทุกภาคส่วนที่ ่ เกียวข้องในจังหวัดอุบลราชธานี ่
  • 15. 15 „ เชือมร้อยกลไกการ ่ ทางานทุกภาคส่วน ในการพัฒนาและ ั แก้ไขปญหาเด็ก และเยาวชน • - การพัฒนาองค์ ความรู/้ นวัตกรรม มหาวิ ทยาลัยราชภัฏ การพัฒนา ระบบกลไก - อุบลราชธานี „ เสริมพลัง เครือข่ายพัฒนา เด็กและเยาวชน -เสริมกระบวนการเรียนรูและ ้ การมีส่วนร่วมเพือขับเคลือน ่ ่ และเกิดเครือข่ายขยายผล การพัฒนา นโยบาย สาธารณะ • • - 3. นิ ยามศัพท์ในการดาเนิ นโครงการ 3.1 งานด้านเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับ จังหวัด หมายถึง การดาเนินงานแบบบูรณา การระหว่าง 5 เครือข่าย ได้แก่ เครือข่าย ภาครัฐ เครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิน เครือข่ายองค์กร ่ ทางานด้านเด็กและเยาวชน (NGOs) เครือข่ายด้านวิชาการ และเครือข่ายเด็กและเยาวชน โดยมีมหาวิทยาลัย ราชภัฏอุบลราชธานีเป็ นผูสนับสนุนงานด้านวิชาการ ้ 3.2 ภาคีร่วมพัฒนา หมายถึง ท้องถิน ท้องที่ หน่วยงานภาครัฐ และประชาชนในพืนทีเ่ ข้ามามี ่ ้ ั ส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็น หาแนวทางแก้ไขปญหาร่วมกัน เพือทาให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถินและ ่ ่ เครือข่ายพืนทีขยายผล โรงเรียน วัด หน่วยงานราชการต่างๆ ทีเ่ กียวข้อง เพือร่วมกันสนับสนุนให้เกิดการ ้ ่ ่ ่ ขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนไปสูความสาเร็จทังในด้านการพัฒนาระบบกลไกลการทางานและการ ่ ้ ขับเคลื่อนงานในพืนที่ ้  ภาคีขบเคลื่อนปฏิ บติการ หมายถึง องค์กรปกครองส่วนท้องถิน องค์กร/เครือข่ายเชิง ั ั ่ ประเด็น สถาบันการศึกษา เป็ นต้น ทีรวมกันขับเคลื่อนกระบวนการงานด้านเด็กและเยาวชน ่่ แบบบูรณาการระดับ จังหวัด เพือสร้างความเข้มแข็งและยกระดับการขับเคลื่อนงานด้านเด็ก ่ และเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานี  ภาคีขบเคลื่อนนโยบาย หมายถึง หน่วยงานและองค์กรทีมบทบาทหลักเกียวข้องหรือ ั ่ ี ่ สอดคล้องกับเนื้อหาเชิงประเด็นและ /หรือกระบวนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะระดับ จังหวัด
  • 16. 16  ภาคีสนับสนุน หมายถึง หน่วยงานและองค์กรทีมบทบาทในการสนับสนุนการทางานทังใน ่ ี ้ ด้านนโยบาย ด้านงบประมาณ และทรัพยากรอืนๆทีเ่ กียวข้อง ่ ่ 3.3 แกนนาระดับจังหวัด (นักยุทธศาสตร์) หมายถึง แกนนาทีมศกยภาพในการประสานงาน ่ ี ั สร้างความเข้าใจในการทางานร่วมกัน และเป็ นทียอมรับของทุกภาคส่วนทังระดับสถาบัน องค์กร และพืนที่ ่ ้ ้ 3.4 แกนนาระดับตาบล หมายถึง แกนนาทีมศกยภาพในการประสานงาน สร้างความเข้าใจในการ ่ ี ั ปฏิบตงานร่วมกัน เป็ นทียอมรับของทุกภาคส่วนและสามารถขับเคลื่อนงานในพืนทีได้ ั ิ ่ ้ ่ 3.5 แกนนาเชิ งประเด็น หมายถึง แกนนาทีมองค์ความรูและความเชียวชาญในประเด็นนันๆ และ ่ ี ้ ่ ้ มีศกยภาพในการถ่ายทอดความรูและมีความเข้าใจในการขับเคลื่อนงานในประเด็นของตนได้ ั ้ 3.6 องค์ความรู้ หมายถึง กระบวนการรวบรวมความรู้ ฐานข้อมูล การจัดการความรู้ หรือถอด บทเรียน การทางานของหน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน เครือข่าย องค์กรปกครองส่วนท้องถิน ่ ่ พืนทีขยายผล องค์กรทีทางานด้านเด็กและเยาวชน และสถาบันการศึกษาในการพัฒนาและขับเคลื่อนการ ้ ่ ่ ทางานด้านเด็กและเยาวชนในระดับพืนที่ และสามารถถ่ายทอดให้เกิดการขยายผล ้ 3.7 ศูนย์การเรียนรู้ หมายถึง สถานที่ มการจัดการเรียนรูและถ่ายทอดองค์ความรู้ โดยมีระบบ ี ้ เพือให้ผเู้ รียนสามารถควบคุมการเรียนด้วยตนเองเป็ นรายบุคคลหรือผูเ้ รียนในกลุ่มเล็ก โดยให้ผเู้ รียนเรียน ่ ตามความต้องการความสามารถของแต่ละคนหรือผูเ้ รียนภายในกลุ่ม เน้นให้มกระบวนการส่วนร่วม การ ี ั ตอบสนองกระบวนการกลุ่ม ส่งเสริมการทางานเป็ นกลุ่ม ภาวะ ความเป็ นผูนาการยอมรับฟงความคิดเห็น ของ ้ ผูอน มีปฏิสมพันธ์ทางสังคม โดยมีผดแลประจาศูนย์เรียนรูจะเป็ นผูแนะนาและคอยช่วยเหลือ และมีสอการ ้ ่ื ั ู้ ู ้ ้ ่ื เรียนรูในรูปแบบสือประสมแยกตามกิจกรรมสาหรับเด็กและเยาวชน เช่น ศูนย์การ ฝึกทักษะ ศูนย์เพิมพูน ้ ่ ่ ความรู้ ศูนย์เรียนรูชุมชน ศูนย์เรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นต้น ้ ้ 3.8 แหล่งเรียนรู้ หมายถึง แหล่งข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ วิทยากร ภูมปญญาชาวบ้านและ ิ ั ประสบการณ์อนๆ ทีสนับสนุนส่งเสริมให้ผเู้ รียนเกิดกระบวนการเรียนรูและเป็ นบุคคลแห่งการเรียนรู้ อันเกิด ่ื ่ ้ จากนโยบายของภาครัฐ องค์กรชุมชน หรือการร่วมมือกันระหว่างองค์กรชุมชนกับภาครัฐ โดยเน้นองค์ความรู้ ทีเ่ ป็ นชุมชนท้องถินคิดเอง ภูมปญญาท้องถิน มีการเรียนการสอนด้วยตนเอง เพือให้เกิดการเปลียนแปลงไป ่ ิ ั ่ ่ ่ ในทางทีดขน และก่อให้เกิดการพัฒนาหรือการต่อยอดองค์ความรูถ่ายทอดไปในพืนทีต่างๆ ่ ี ้ึ ้ ้ ่ ั 3.9 ทักษะชีวิต หมายถึง ความสามารถของบุคคลทีจดการปญหาต่างๆ รอบตัว เพือเป็ นภูมคมกัน ่ั ่ ิ ุ้ ั ั ชีวตให้แก่เด็กและเยาวชนในสภาพสังคมปจจุบนและเตรียมความพร้อมสาหรับการปรับตัวในอนาคต ทังใน ิ ้ ด้านความรูและความรูสกนึกคิด โดยมีองค์ประกอบเรืองการตระหนักรูและเห็นคุณค่าในตนเองและผูอน การ ้ ้ ึ ่ ้ ้ ่ื ั คิดวิเคราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปญหาอย่างสร้างสรรค์ การจัดการกับอารมณ์และความเครียด การสร้าง ั ความสัมพันธ์อนดีระหว่างบุคคล รูจกจัดการปญหาและความขัดแย้งต่างๆอย่างเหมาะสม ปรับตัวให้ทนกับ ั ้ั ั การเปลียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม รูจกหลีกเลียงพฤติกรรมทีไม่พงประสงค์ทสงผลกระทบต่อ ่ ้ั ่ ่ ึ ่ี ่ ตนเองและผูอน ป้องกันตัวเองในภาวะคับขัน และจัดการกับชีวตอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับวัฒนธรรม ้ ่ื ิ และค่านิยมของสังคม 3.10 เมืองแห่งการเรียนรู้ หมายถึง จังหวัดอุบลราชธานีทมงเน้นการสร้างสังคมทีมกระบวนการนา ่ี ุ่ ่ ี ความรูมาใช้เป็ นเ ครืองมือ ในการ ปรับเปลียนวิถชวตทีมงการเรียนรู้ เปิ ดพืนทีการเรียนรู้ และการสร้าง ้ ่ ่ ี ี ิ ่ ุ่ ้ ่ ่ ่ วัฒนธรรมการเรียนรูและค่านิยมใฝรู้ ใฝเรียนของเด็กและเยาวชน ตลอดจน การสร้างสภาพแวดล้อมทางการ ้
  • 17. 17 เรียนรูของเด็กและเยาวชน และผลักดันให้เกิดการแปลงนโยบายเมืองแห่งการเรียนรูไปสูการขับเคลื่อนใน ้ ้ ่ ภาคปฏิบตการ นโยบายจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อการพัฒนาการศึกษาและการเรียนรูยคใหม่ ั ิ ุ้ 3.11 ความเป็ นพลเมือง หมายถึง สมาชิกของสังคมทีมสทธิเสรีภาพ โดยควบคูกบความ ่ ีิ ่ ั รับผิดชอบ ยอมรับความแตกต่าง เคารพสิทธิเสรีภาพของผูอน เคารพหลักความเสมอภาค เคารพกติกา ไม่ใช้ ้ ่ื ั ั ความรุนแรงในการแก้ไขปญหา มีจตสาธารณะ มีสวนร่วมต่อความเป็ นไปและในการแก้ปญหาของสังคมใน ิ ่ ด้านต่างๆ มีหลักการดาเนินชีวตทีมคณธรรม จริยธรรม และมีบทบาทในการกระทาทีมคณลักษณะทาง ิ ่ ีุ ่ ีุ ประชาธิปไตยเป็ นองค์ประกอบทีสาคัญในการดาเนินชีวต ่ ิ 3.12 ศูนย์ประสานงานด้านเด็กและเยาวชน หมายถึง ศูนย์ เครือข่ายกลุ่ม – องค์กรเด็กและ เยาวชน ทาหน้าทีประสานงานระหว่างหน่วยงาน ในการแล กเปลียนข้อมูล เด็กและเยาวชน โดยเปิ ดโอกาส ่ ่ ให้เด็กและเยาวชนเข้ามาร่วมในการแสดงความคิดเห็น และสามารถเข้าไปมีสวนร่วม ในการดาเนินงาน และ ่ เป็ นศูนย์ขอมูลในเรืองเด็กและเยาวชนได้ ้ ่ 3.13 ศูนย์ศึกษาและพัฒนารูปแบบการดาเนิ นงานด้านเด็กและเยาวชนจตุภาคี 4 จังหวัด ได้แก่ อุบลราชธานี , ศรีสะเกษ ,อานาจเจริ ญ,ยโสธร หมายถึง ศูนย์กลางในการประสานงานขับเคลื่อน การดาเนินงานสาหรับเด็กและเยาวชนในเขตพืนที่ 4 จังหวัด ทาหน้าทีในการประสานงานศูนย์ประสานงาน ้ ่ ระดับจังหวัด จัดกิจกรรม แลกเปลียนข้อมูลการดาเนินกิจกรรมในแต่ละจังหวัด ่ 3.14 ศูนย์ขบเคลื่อนกิ จกรรมเยาวชนอาเซียน หมายถึง ศูนย์กลางการประสานงานด้านความ ั ร่วมมือการพัฒนากิจกรรมและการเสริมศักยภาพแก่เยาวชนในเขต 4 ประเทศคือ ราชอาณาจักรไทย, สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ,สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว,ราชอาณาจักรกัมพูชา โดยมีหน้าที่ เสริมศักยภาพให้เยาวชนในไทยเกิดทักษะและมีความพร้อมในการก้าวเข้าสูประชาคมอาเซียน (ภาษา ,ข้อมูล ่ ,วัฒนธรรม)และเชือมสัมพันธ์ดานต่างๆ การสร้างเวทีในการแลกเปลียนเรียนรูระหว่างเยาวชนใน 4 ประเทศ ่ ้ ่ ้ 4. เป้ าประสงค์ สร้างขบวนการและระบบกลไกการขับเคลื่อนเพื่อให้ จังหวัดอุบลราชธานี เป็ นเมืองแห่งการ เรียนรู้เพือเด็กและเยาวชน โดยมุงเน้นการส่งเสริม การเรียนรู้ (วิเคราะห์ สังเคราะห์ และนาใช้องค์ ่ ่ ความรู)้ การจัดตังองค์กรด้านเด็กและเยาวชนทีเข้มแข็ง เปิดพืนทีสร้างสรรค์ ศูนย์ประสานงาน ้ ่ ้ ่ ศูนย์การเรียนรู้ และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนทังในระดับจังหวัด อาเภอ และระดับ ้ ท้องถิน เกิดพืนทีตนแบบการทางานด้านเด็กและเยาวชนเพื่อการขยายผล โดยเชื่อมร้อยความร่วมมือ ่ ้ ่ ้ ของเครือข่ายทุกภาคส่วน ทังภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน สถาบันการศึกษา และเครือข่าย ้ ่ องค์กรด้านเด็กและเยาวชน
  • 18. 18 5. วัตถุประสงค์ 5.1 เพือส่งเสริมให้เกิด กระบวนการพัฒนาระบบกลไกการขับเคลื่อนและผลักดัน การขับเคลื่อนงาน ่ ด้านเด็กและเยาวชน โดยเชือมประสานเครือข่ายและองค์กรหน่วยงานต่างๆในระดับจังหวัด อาเภอ และตาบล ่ ให้เกิดการขับเคลื่อนการทางานด้านเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานีได้อย่างเป็ นรูปธรรม 5.2 เพือเสริม สร้างขีดความสามารถของเด็กและเยาวชน เครือข่ายองค์กรด้านเด็กและเยาวชน และ ่ ั องค์กรปกครองส่วนท้องถิน โดยเชือมโยงการทางานประเด็นการพัฒนาและการแก้ปญหากับการสร้างเสริมสุข ่ ่ ภาวะเด็กและเยาวชนแบบองค์รวมในระดับพืนที่ ้ 5.3 เพือพัฒนาให้เกิดองค์ความรูและนวัตกรรมการพัฒนาเด็กและเยาวชน การทาระบบฐานข้อมูล ่ ้ และการจัดการความรูในระดับพืนทีและจังหวัด โดยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และถอดบทเรียน พร้อมทัง นามา ้ ้ ่ ้ ประยุกต์ใช้ในพืนทีตนแบบและขยายเครือข่ายพืนทีปฏิบตการ ้ ่ ้ ้ ่ ั ิ 5.4 เพือพัฒนาข้อเสนอและขับเคลื่อนให้เกิดนโยบายหรือมาตรการทีสนับสนุนการขยายพืนที่ ่ ่ ้ ปฏิบตการและการบูรณาการงานในการขับเคลื่อนการทางานเพือเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานี ั ิ ่ 6. เป้ าหมาย หน่วยงานทุกภาคส่วนทังภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา เครือข่ายองค์กรด้านเด็กและเยาวชน ้ และเครือข่ายเด็กและเยาวชน มีบทบาทสร้างกระบวนการและระบบกลไกการทางานร่วมกัน เพือให้ เกิดการ ่ พัฒนาองค์กรและแกนนาด้านเด็กและเยาวชน ทีเข้มแข็ง เกิดศูนย์ประสานงาน เกิดศูนย์การ เรียนรู้ หลักสูตร ่ และฐานข้อมูลทางวิชาการสาหรับเด็กและเยาวชน พร้อมทังสามารถขยายผลการดาเนินงานไปยังเครือข่าย ้
  • 19. 19 พืนทีในระดับท้องถินแบบ 1:4 ในพืนที่ 60 แห่ง (ขยายผล) ช่วงระยะเวลาดาเนินการ 3 ปี เพือพัฒนาต่อยอด ้ ่ ่ ้ ่ และยกระดับ พืนทีตนแบบการทางานด้านเด็กและเยาวชน ระดับจังหวัดสู่ “อุบลราชธานีเมืองต้นแบบ ้ ่ ้ ส่งเสริมการเรียนรูเ้ พือเด็กและเยาวชน” ่ 7. ยุทธศาสตร์การทางานด้านเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังหวัด อุบลราชธานี ยุทธศาสตร์การทางานด้านเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังหวัดอุบลราชธานี โดยการ ขับเคลื่อน 4 ส่วน คือ 1) กระบวนการและระบบกลไก 2) การเสริมสร้างเครือข่าย 3) การพัฒนาองค์ ความรู้ และ 4) นโยบาย สาธารณะ โดยมีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี หน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิน เครือข่ายองค์กรด้านเด็กและเยาวชน เป็นกลไกสาคัญในการ ่ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ดงกล่าว ตลอดจนการขับเคลื่อนเชิงนโยบายสู่การปฏิบตดานเด็กและเยาวชน ั ั ิ ้ และเป็นศูนย์กลางของจังหวัด ภูมภาค และในอนุภมภาคลุ่มน้าโขงในเชิงโครงงานหรือกิจกรรมด้านเด็ก ิ ู ิ และเยาวชนระดับท้องถิน จังหวัด จตุภาคี และประชาคมอาเซียน ส่งเสริม สนับสนุนให้ 5 เครือข่าย ่ ได้แก่ เครือข่ายภาครัฐ เครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิน เครือข่ายองค์กรด้านเด็กและเยาวชน ่ สถาบันการศึกษา และเครือข่ายเด็กและเยาวชน ดาเนินงานและสร้างองค์ความรูและนวัตกรรมด้านเด็ก ้ และเยาวชน ในการแลกเปลียนเรียนรูกระบวนการทางานระหว่างเครือข่าย เพื่อให้งานด้านเด็กและ ่ ้ เยาวชนพัฒนาอย่างเข้มแข็งและยังยืน ่
  • 20. 20 เป้ าประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี เป็ นเมืองแห่งการเรียนรู้เพื่อเด็กและเยาวชนอย่างยังยืน ่ ทุน ยุทธศาสตร์การทางานด้าน ผลลัพธ์ เด็กและเยาวชน จ.อุบลราชธานี      หน่ วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่ น เครือข่ายองค์กรด้าน เด็กและเยาวชน สภาเด็กและเยาวชน ที่เข้มแข็ง มหาวิ ทยาลัยราชภัฏ มีพนธกิ จทางานกับ ั ท้องถิ่ น  เสริมสร้ างกระบวนการ และระบบกลไก เสริมสร้ างพลังภาคี ขับเคลือนโยบาย ่ เครือข่ าย  สาธารณะ สร้ างและพัฒนา องค์ ความรู้     ระบบ กลไกการ ขับเคลื่อนงานเด็ก และเยาวชนแบบ บูรณาการ ระบบฐานข้อมูล เครือข่ายการทางาน เฉพาะเรือง/ประเด็น ่ องค์กรเด็กและ เยาวชนที่เข้มแข็ง ชุดความรู/้ นวัตกรรม นโยบายสาธารณะ 9. กระบวนการดาเนิ นงาน กระบวนการดาเนินงานเน้นเสริมสร้างกระบวนการและระบบกลไก เสริมสร้างพลังภาคี เครือข่าย สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ และขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ซึงเกิดจากเครือข่ายทุกภาค ่ ส่วน เด็กและเยาวชนร่วมกันวางแผนนาไปสู่การปฏิบตให้บงเกิดผลสาเร็จในด้านการเรียนรูของเด็ก ั ิ ั ้ ั และเยาวชน ได้แก่ การแก้ปญหาเด็กเยาวชน ครอบครัว ชุมชน และสังคมของตนเอง การสร้างอาชีพ การสร้างความเป็นพลเมือง การเสริม ทักษะชีวต/ เพิมศักยภาพเชิงบวก ใช้ความคิดสร้างสรรค์ ิ ่ ั คิดวิเคราะห์ ตระหนักรูในตน รูจกการสร้างสัมพันธภาพทีด ี ตัดสินใจและแก้ปญหาได้ เพื่อสร้างความ ้ ้ั ่ เชื่อมันในตนเอง โดยใช้กระบวนการพัฒนา ซึงประกอบด้วย 4 กระบวนการหลัก ดังนี้ ่ ่ 1) กระบวนการวิ จยถอดบทเรียนพื้นทีปฏิ บติการทีมีศกยภาพเป็ นศูนย์ การเรียนรู้ด้าน ั ่ ั ่ ั เด็กและเยาวชนของแต่ละเครือข่าย ได้แก่ ครัวเรือน ชุมชน หมูบาน ตาบล อาเภอ และจังหวัด ผ่าน ่ ้ กิจกรรมการใช้เครืองมือในการศึกษาและถอดบทเรียนชุมชน ่ โดยใช้เครืองมือประเมินชุมชนแบบ ่ เร่งด่วน (RECAP: Rapid Ethnography Community Approsal Program) (RECAP) และ ระบบการ ใช้โปรแกรมฐานข้อมูลตาบล ( TCNAP : Thailand Community Network Appraisal Programs)
  • 21. 21 ในการค้นหาและถอดบทเรียนศักยภาพเครือข่าย สรุปบทเรียนและสังเคราะห์องค์ความรูจากท้องถิน ้ ่ และการจัดเวทีแลกเปลียนเรียนรู้ โดยมีภาคีรวมพัฒนาได้แก่ เครือข่ายภาครัฐ เครือข่ายองค์กร ่ ่ ปกครองส่วนท้องถิน เครือข่ายองค์กรด้านเด็กและเยาวชน สถาบันการศึกษา และเครือข่ายเด็ก และ ่ เยาวชน ตลอดจนองค์กรพัฒนาเอกชนอื่นๆ 2) กระบวนการส่งเสริ มการแลกเปลียนเรียนรู้ทีม่งสู่ การพัฒนาและการแก้ไขปัญหา ่ ่ ุ สุขภาวะเด็กและเยาวชน โดยการเปลียนแปลงวิ ธีคิด และปฏิ บติ การในพื้นทีด้วยการ พึงตนเอง ่ ั ่ ่ ให้มากทีสด ให้เครือข่ายและแกนนากลุ่มต่างๆ สามารถนาองค์ความรูจากปฏิบตการเด่นในแต่ละพืนที่ ุ่ ้ ั ิ ้ ทีกาลังดาเนินการขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนในจังหวัดอุบลราชธานีมาปรับใช้ในบริบทของ ่ พืนที่ โดยมีภาคีรวมพัฒนาทางานกับภาคีสนับสนุน (เครือข่ายภาครัฐ เครือข่ายองค์กรปกครองส่วน ้ ่ ท้องถิน เครือข่ายองค์กรด้านเด็กและเยาวชน สถาบันการศึกษา และเครือข่ายเด็ก และเยาวชน) ผ่าน ่ เวทีพฒนานโยบายสาธารณะ การพัฒนาศักยภาพผูนาและแกนนาใหม่ การจัดทาฐานข้อมูล ด้านเด็ก ั ้ และเยาวชน การพัฒนา ศักยภาพ ภาคีเครือข่าย เด็กและเยาวชนใน ทุกมิตทมส่วนร่วมในขบวนการ ิ ่ี ี ขับเคลื่อน การจัดทาพืนทีปฏิบตการต้นแบบ การมีส่วนร่วมในการจัดทาแผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนา ้ ่ ั ิ จังหวัด ซึงต้องอาศัยการมี ข้อมูล หลักสูตรหรือแนวทางการเรียนรู้ สาหรับเครือข่าย และแกนนา ่ กลุ่มเป้าหมายต่างๆ เป็นต้น 3) กระบวนการขยายเครือข่ายพื้นทีปฏิ บติการ เป็นการจัดเวทีแลกเปลียนเรียนรูทขยายผล ่ ั ่ ้ ่ี มาจากการเรียนรูในระดับหมูบานและตาบล ไปสู่การเรียนรูระดับอาเภอและระดับจังหวัด อีกทังการ ้ ่ ้ ้ ้ เรียนรูดงกล่าวยังช่วยให้เกิดการสรุปข้อมูลในประเด็นเดียวกันให้เป็นข้อมูลความรูระดับจังหวัด เพื่อ ้ ั ้ เป็นฐานของการระดมพลังของจังหวัดในการพัฒนานโยบายสาธารณะต่อไป 4) กระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะ เป็นการนาใช้ขอมูลจากการวิจย ถอดบทเรียน ้ ั ตลอดจนข้อมูลจากเวทีแลกเปลียนเรียนรู้ และการขยายผล เพื่อทีจะสรุปทบทวนและนาไปสู่การพัฒนา ่ ่ เป็นกฏ กติกา ข้อตกลงในหมูบาน ตาบล อาเภอ และ จังหวัด ทีเกิดจากการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ่ ้ ่ ทีเกียวข้องโดยเฉพาะอย่างยิงผูปฏิบตการทุกกลุ่ม ระดับพืนที่ ระดับองค์กร ่ ่ ่ ้ ั ิ ้ และ ระดับจังหวัด ตลอดจน สนับสนุนการนานโยบายสู่การปฏิบติ ในการขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชน อย่างเป็น ั รูปธรรม