SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
MBS
Mahasarakham Business School




            LOWER MARKET



                       เสนอ
                อาจารย์ วจนะ ภูผานี


       รายวิชา พฤติกรรมผู้บริโภค ( 0902111 )
           ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2554
LOWER MARKET   2




            (Lower Market)                                       3

                                                                 4

                   M-150                                         4

               M-150                                             5

1.                                                               8

     1.1                                                         9

     1.2                                                         9

     1.3                                                         10

     1.4                                                         12

2.    STP                                                        13

     2.1                     (Segmentation)                      13

     2.2                     (Target Market Selection)           14

     2.3                      (Positioning)                      14

     2.4 Positioning Map                                         15
LOWER MARKET   3


                                              Lower market

ตลาดระดับล่าง (Lower market)

        ตลาดเป็ นสิ่ งที่นกการตลาดและนักธุ รกิจให้ความสนใจและให้ความสาคัญเป็ นอย่างมากเพราะว่า
                          ั
ตลาดนั้นก็คือลูกค้าของบริ ษทหรื อองค์การและบริ ษทพยายามที่จะสรรหาผลิตภัณฑ์มาตอบสนองความต้อง
                           ั                    ั
       ั
การให้กบลูกค้าหรื อตลาดทาให้เกิดการค้าขายและได้กาหนดตลาดแบ่งเป็ นหลายประเภท
ซึ่งในหัวข้อนี้ เรากล่าวถึงตลาดระดับล่างก็สามารถ

        แบ่งออกเป็ น 2 ระดับดังนี้

                 1. ระดับล่างอย่างสู ง (Upper Lower Class) ได้แก่
        กลุ่มผูใช้แรงงานที่มีทกษะเช่นช่างฝี มือต่าง ๆ สิ นค้าที่ตองการ ได้แก่
               ้              ั                                  ้
        สิ นค้าที่จาเป็ นต่อการครองชี พและราคาประหยัด

                2. ระดับล่างอย่างต่า (Lower Lower Class) ได้แก่ กรรมกรที่มีรายได้ต่า
        ต้องการสิ นค้าที่จาเป็ นต่อการ ครองชีพเน้นที่ราคาถูก
LOWER MARKET          4


บทวิเคราะห์ เรื่องเครื่องดื่มชู กาลัง
           หากจะกล่าวว่าตลาดเครื่ องดื่มชูกาลังมีการแข่งขันกันอย่างรุ นแรงนั้นคงไม่มีใครคาดคิดว่า
จากราคาของสิ นค้าที่มีมูลค่าเพียง 7 ถึง 10 บาทนั้น
เพราะเน้นการทาการตลาดไปเพียงกลุ่มเป้ าหมายที่เป็ นกลุ่มผูใช้แรงงาน
                                                               ้
แต่ตลาดนี้กลับมีมลค่าทางการตลาดสู งถึง 15,000 ล้านบาท
                    ู
หากพิจารณาตลาดเครื่ องดื่มชูกาลังจากอดีตจนถึงปั จจุบน    ั
จะพบว่าไม่ได้มุ่งเน้นเพียงกลุ่มเป้ าหมายหลักที่เป็ นกลุ่มผูใช้แรงงานเพียงกลุ่มเดียวอีกต่อไป
                                                           ้
แต่ยงรวมถึงกลุ่มผูบริ โภคกลุ่มอื่นๆ ด้วย โดยมีการนากลยุทธ์ต่างๆ
    ั                 ้
มาใช้เพื่อช่วงชิงส่ วนแบ่งทางการตลาดให้ได้มากที่สุด ดังเช่นแบรนด์ M-
150 ที่เป็ นผูนาตลาดเครื่ องดื่มชูกาลังในปั จจุบน
              ้                                 ั

ประวัติและทีมาของ M-150
                ่
         เครื่ องดื่มชูกาลังคือเครื่ องดื่มที่ให้พลังงาน
มีส่วนผสมของคาเฟอีน (Caffeine) เทารี น (Taurine) อินโนซิทอล
(Inositol) และซูโครสหรื อน้ าตาลทราย (Sucrose) เป็ นต้น ซึ่ งมีกรรมวิธีในการผลิตที่ไม่ซบซ้อน
                                                                                        ั
และต้นทุนต่า
ประกอบกับเครื่ องดื่มประเภทนี้ยงมีช่องทางในการทาตลาดอยูเ่ พราะจากส่ วนผสมที่สามารถก่อให้เ
                                      ั
กิดพลังในการทางาน
จึงเหมาะกับกลุ่มคนที่มีความต้องการทางานอย่างต่อเนื่องเป็ นระยะเวลานานอย่างกลุ่มผูใช้แรงงาน
                                                                                      ้
(Blue Collar) จากแนวคิดนี้ทาให้ผประกอบการมองเห็นโอกาสที่จะเข้ามาทาตลาดเครื่ องดื่มชูกาลัง
                                        ู้




          เครื่ องดื่มชูกาลังเริ่ มเข้ามาตั้งแต่ปี 2520 โดยลิโพวิตนดี
                                                                  ั
เข้ามาเป็ นเครื่ องดื่มชูกาลังรายแรกจากประเทศญี่ปุ่น ภายใต้บริ ษทโอสถสภา ต่อมา
                                                                      ั
LOWER MARKET           5


ปี 2524 บริ ษทไทยฟามาซูติคอล ได้ส่งกระทิงแดงเข้าสู่ ตลาด
             ั
ภายใต้สโลแกน “กระทิงแดง...ซู่ซ่า” พร้อมกับรสชาติที่แตกต่างออกไปจากแบรนด์อื่นที่มีรสชาติค
ล้ายยา จึงทาให้ประสบความสาเร็ จอย่างมาก
ต่อมาในปี 2528 โอสถสภาได้ส่ง M150 เพื่อออกมาแย่งชิ งส่ วนแบ่งการตลาดจากกระทิงแดง
ซึ่ งในขณะนั้นกระทิงแดงครองส่ วนแบ่งทางการตลาดที่สูงถึง 50% ในขณะที่ M-
150ได้เพียง 4% จนกระทังในปี 2543 M-
                        ่
150 สามารถช่วงชิงส่ วนแบ่งการตลาดมาเป็ นอันดับหนึ่งแทนกระทิงแดงได้สาเร็ จ โดย M-
150 สามารถทาส่ วนแบ่งทางการตลาดถึง 40% แต่กระทิงแดงตกลงเป็ นอันดับ 2 ได้เพียง 33% และ
จนถึงทุกวันนี้ M-150 ยังคงเป็ นผูนาในตลาดเครื่ องดื่มชูกาลังที่มีส่วนแบ่งทางการตลาดมากถึง 50%
                                 ้

เส้ นทางสู่ เจ้ าตลาดของ M-150
            กลยุทธ์ที่ M-150 ใช้ในการแย่งชิงส่ วนแบ่งทางการตลาดจากกระทิงแดง คือ
กลยุทธ์ Multi-Brand โดยการสร้างความหลากหลายของตัวสิ นค้า
จากที่กระทิงแดงยังมีจุดอ่อนเนื่องจากใช้เพียงหนึ่งแบรนด์ในการเจาะตลาดทุกระดับทัวประเทศ   ่
แต่มีความแข็งแกร่ งอย่างมากในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ ดังนั้น M-
150 มองเห็นจุดอ่อนทางภาคใต้และภาคเหนื อจึงออกแบรนด์ฉลามมาเพื่อให้ต่อสู ้กบกระทิงแดง   ั
ซึ่ งมุ่งเจาะตลาดทางภาคเหนือและภาคใต้
และยังไม่ทิ้งฐานที่มนสาคัญคือภาคกลางและภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือโดยใช้กบ M-
                        ั่                                                        ั
150 เป็ นหัวหอกสาคัญเพื่อต่อสู ้โดยตรงกับกระทิงแดง
ด้วยวิธีการที่เรี ยกว่าการทาตลาดเชิงรุ ก (Offensive) แบบการจู่โจมจุดอ่อนของคู่แข่ง (Franking
Attack) ในส่ วนของลิโพวิตนดีก็มีการ Re-positioning ใหม่
                              ั
เพื่อปรับภาพลักษณ์เจาะตลาดคนทางานบริ ษท (White Collar) นอกจากนั้น M-
                                                ั
150 ยังใช้กลยุทธ์ส่วนผสมทางการตลาด (Marketing Mix: 4Ps) ประกอบด้วย
ผลิตภัณฑ์ (Product) ราคา (Price) ช่องทางการจัดจาหน่าย(Place) และ
การส่ งเสริ มการขาย (Promotion) โดยที่ผลิตภัณฑ์จะเปลี่ยนรู ปลักษณ์ของบรรจุภณฑ์ (Packaging) ใ
                                                                                    ั
ห้ทนสมัยมากขึ้น ด้านกลยุทธ์ราคาจะใช้วธีการลดราคาจากขวดละ 12 บาท
     ั                                      ิ
เหลือเพียงขวดละ 10 บาท
ด้านกลยุทธ์ช่องทางการจัดจาหน่าย M-
150 ได้ร่วมมือกับบริ ษทเสริ มสุ ขซึ่ งมีการจัดจาหน่ายเครื่ องดื่มที่แข็งแกร่ งครอบคลุมทุกพื้นที่ทาให้
                           ั
สามารถกระจายสิ นค้าเข้าสู่ ผบริ โภคอย่างทัวถึง และกลยุทธ์การส่ งเสริ มการขาย
                                ู้            ่
มีการจัดกิจกรรมจับรางวัลชิงโชค(Lucky Draw) การเปิ ดฝาแลกรับของรางวัล (Instant
Win) รวมถึงวิธีการ Sports
LOWER MARKET        6


Marketing โดยการทากิจกรรมทางการตลาดเพื่อส่ งเสริ มและสนับสนุนทางด้านกีฬา ด้วยแนวคิด
"พลังเอ็ม...พลังใจเกินร้อย" และวิธีการ Localize Marketing เช่น
เพิ่มกิจกรรมเพื่อเจาะกลุ่มเป้ าหมายหลัก จากการจัดกิจกรรมทัวร์ คอนเสิ ร์ตลูกทุ่ง
การฉายหนังกลางแปลงตามต่างจังหวัด
จากอัตราการขยายตัวของตลาดเครื่ องดื่มชูกาลังที่สูงขึ้นเนื่ องมาจากการที่ทุกแบรนด์มีการทาตลาด
อย่างต่อเนื่ องและสามารถขยายฐานลูกค้าได้กว้างขึ้น
ทาให้มีผประกอบการรายใหม่เริ่ มสนใจที่จะเข้ามาประกอบธุ รกิจประเภทนี้ รวมถึง แอ๊ด คาราบาว
            ู้
                                                                                  ่
ที่มีความสนใจในธุ รกิจประเภทนี้เช่นกัน โดยผลิตเครื่ องดื่มชูกาลังภายใต้ชื่อแบรนด์วา
คาราบาวแดง
การเข้ามาของแบรนด์คาราบาวแดงนี้ส่งผลให้ตลาดเริ่ มมีการแข่งขันอย่างดุเดือดมากขึ้น
และที่สาคัญคือ แอ๊ด คาราบาว
ซึ่ งจัดได้วาเป็ นบุคคลที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างแรงบันดาลใจในการดาเนินชีวิตให้กลุ่มผูใช้แรงงานอ
               ่                                                                      ้
ย่างมากได้มาเป็ นเป็ นพรี เซนเตอร์ โฆษณาสิ นค้านี้เองอีกด้วย
ส่ งผลให้ผครองส่ วนแบ่งการตลาดใหญ่อย่าง M-
                 ู้
150 และกระทิงแดงจาเป็ นต้องปรับกลยุทธ์ใหม่เพื่อป้ องกันการสู ญเสี ยส่ วนแบ่งการตลาด
โดยเฉพาะแบรนด์ M-
150 ใช้วธีการทาตลาดเชิงรุ ก (Offensive) และการทาตลาดเชิงรับ (Defensive) โดยใช้วธีการ Re-
          ิ                                                                         ิ
positioning พร้อมกับปรับภาพลักษณ์ โดยเน้นกิจกรรมการตลาดด้านดนตรี (Music




Marketing) เพื่อขยายกลุ่มเป้ าหมายไปยังกลุ่มวัยรุ่ น (Teenage) และกลุ่มคนรุ่ นใหม่ (New
Generation) มีการนานักร้องชายและหญิง ที่มีชื่อเสี ยงจากบริ ษทแกรมมี่เข้ามาเป็ นพรี เซนเตอร์
                                                               ั
โดยการใช้สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ทุกรู ปแบบ ทั้งสื่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ อโฆษณา สื่ อกลางแจ้ง
LOWER MARKET          7


การแสดงคอนเสิ ร์ต และกิจกรรมนันทนาการต่างๆ เช่น การสนับสนุนกิจกรรมกีฬาชกมวย
กีฬาฟุตบอล การประกวดวงดนตรี ชิงแชมป์ เวทีโลก นอกจากนี้ยงเน้นการทากิจกรรม Below The
                                                               ั
Line เพื่อเจาะตลาดกลุ่มเป้ าหมายด้วยการจับรางวัลชิงโชคอย่างสม่าเสมอ M-
150 ยังทากิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility:
CSR) มีโครงการอบรมและประกวดภาพยนตร์ โฆษณา ชุดคลายร้อนให้โลก รวมถึง M-
150 ยังเป็ นแบรนด์เครื่ องดื่มชูกาลังรายแรกที่มีการใช้สื่อโฆษณาผ่านโรงภาพยนตร์ เพื่อหวังที่จะเข้า
ถึงกลุ่มวัยรุ่ นให้ได้มากกว่าเดิม ความพยายามทากิจกรรมการตลาดอย่างมากนี้เองจึงทาให้ M-
150 เป็ นแบรนด์เครื่ องดื่มชูกาลังที่ใช้จ่ายงบโฆษณาการทากิจกรรมทางการตลาดมากที่สุด
จากที่กล่าวมา เริ่ มแรก M-150 ได้มีการใช้กลยุทธ์ทากิจกรรมการตลาดในเชิงรุ กจึงทาให้ M-
150 สามารถกลายมาเป็ นผูนาทางการตลาดเครื่ องดื่มชูกาลังได้สาเร็ จ
                       ้
และมีการทากิจกรรมทางการตลาดทั้งเชิงรุ กและเชิงรับเรื่ อยมาจึงยังคงครองส่ วนแบ่งการตลาดเป็ น
อันดับหนึ่งได้จนถึงปั จจุบนนี้
                          ั
LOWER MARKET          8


1. ลักษณะทัวไปของกลุ่มผู้ใช้ แรงงาน
           ่

        กลุ่มผูใช้แรงงานในประเทศไทยนั้นอยูในภาคตะวันเฉี ยงเหนือเป็ นส่ วนใหญ่กลุ่มนี้ถือว่าเป็ นกลุ่มที่
               ้                          ่
                          ่
มีจานวนคนมากที่สุดที่มีอยูในประเทศไทย
เป็ นกลุ่มไม่ได้รับการศึกษาที่ดีพอหรื อไม่ได้รับโอกาสทางการศึกษา
เลยทาให้การทางานของคนกลุ่มนี้เป็ นงานที่ใช้แรงงานเป็ นส่ วนใหญ่ ดังนั้น
ผลิตภัณฑ์ที่จะเข้ามามีการตอบสนองให้กบคนกลุ่มใช้แรงงานกลุ่มนี้
                                    ั
ควรมีราคาที่เหมาะสมไม่แพงมากนักและตอบสนองในการทดแทนพลังงานที่สูญเสี ยไป




                                    รู ปที่ 1 ลักษณะของผู้ใช้ แรงงาน
LOWER MARKET            9


1.1 พฤติกรรมการซื้อ

          ผูบริ โภคกลุ่มนี้จะซื้ อเครื่ องดื่มชูกาลังเมื่อรู ้สึกว่าร่ างกายมีความอ่อนเพลียเหนื่ อยจากการทา
            ้
งานอย่างหนักจึงต้องดื่มเพื่อกระตุนให้ร่างกายได้รับพลังงานทดแทนในส่ วนที่เสี ยซึ่ งเลือกซื้ อเครื่ อง
                                 ้
ดื่มชูกาลัง m-150 เป็ นส่ วนใหญ่ จากการได้รับอิทธิ พลจากแหล่งต่างๆ




                                  รู ปที่ 1.1 พฤติกรรมการซื้อ



1.2 พฤติกรรมการใช้ และการบริโภค

          เมื่อผูบริ โภคกลุ่มนี้ตองใช้แรงงานในการทางานและเกิดการสู ญเสี ยพลังในร่ างกายเป็ นจาน
                 ้               ้
วนมากทาให้ร่างกายต้องการน้ าเพื่อทดแทนส่ วนที่เสี ยไป
ผูบริ โภคกลุ่มนี้จึงมองผลิตที่จะสามารถตอบสนองความต้องการของร่ างกายจึงซื้ อผลิตภัณฑ์จาพวก
  ้
เครื่ องดื่มชูกาลัง
LOWER MARKET         10


1.3 พฤติกรรมและช่ องทางการรับสื่ อ

        ผูบริ โภคกลุ่มนี้จะมีพฤติกรรมการรับสื่ อสองช่องทาง คือ ทางวิทยุ โทรทัศน์
          ้

        1.3.1 สื่ อวิทยุ




                                  รู ปที่ 1.3.1 สื่ อวิทยุ

        สื่ อวิทยุ
                         ั                      ่
เป็ นช่องการหนึ่งที่บริ ษทจะทาการโฆษณาผลิตภัณฑ์ผานสื่ อวิทยุเพื่อสื่ อการกับผูบริ โภคในด้านผลิ
                                                                              ้
ตภัณฑ์ของบริ ษท โดยที่ผบริ โภคจะสามารถรับข่าวสารช่วงเวลาที่เขาทางานไปด้วยฟังวิทยุไปด้วย
              ั        ู้
ในช่วงสปอร์ ตโฆษณาเขาก็จะได้รับข่าวสารนั้น
LOWER MARKET        11


       1.3.2 สื่ อโทรทัศน์




                                  รู ปที่ 1.3.2 สื่ อโทรทัศน์

       เป็ นอีกช่องทางหนึ่งในการส่ งสารไปยังผูบริ โภค
                                              ้
ส่ วนใหญ่ผบริ โภคกลุ่มนี้ชอบดูรายการทีวมวยไทยบริ ษทโอสถสภาพได้ทาการซื้ อโฆษณาในช่วงนี้
          ู้                           ี          ั
และมีการโฆษณาทางอ้อมโดยการสกรี นแบรนด์ลงไปในกางเกงของนักมวย
ทาให้ผบริ โภคสามารถจดจาได้ดี
      ู้
LOWER MARKET   12


1.4 พฤ กรรมการตอบสนองต่ อกิจกรรมการตลาด
        ทางบริ ษทโอสถสภาได้ทาการจัดกิจกรรมทางการตลาดเพื่อเป็ นการส่ งเสริ มการขายและส
                ั
                  ั
ร้างชื่อเสี ยงให้กบบริ ษท โดยการแสดงคอนเสิ ร์ตในต่างจังหวัดทัวประเทศ
                        ั                                    ่
และยังมีการแจกรางวัลโดยผ่านช่องทางการซื้ อสิ นค้า โดยการส่ งฝาชิงโชค

        พฤติกรรมของคนกลุ่มนี้ได้ให้การตอบสนองเป็ นอย่างดี
วัดจากการเข้าร่ วมกิจกรรมที่ทางM 150 ได้จดขึ้น มีผเู ้ ข้าร่ วมกิจกรรมมากมาย
                                         ั




                         รู ปที่ 1.4 การจัดกิจกรรมทางการตลาด
LOWER MARKET   13


2.    STP

     2.1       การแบ่ งส่ วนตลาด (Segmentation)

                                             M – 150   อาชีพ


           -                  ( รรมกร)
           - พนักงานรัฐบาล
           - พนักงานเอกชน
           - พ่อค้า แม่คา
                        ้
           - นักเรี ยน นักศึกษา

     เพศ

           - ชาย
           - หญิง

     รายได้

           - 5,000 - 6,000 บาท/เดือน
           - 10,000 บาทขึ้นไป / เดือน
           - 15,000 -30,000 บาท/เดือน

     ภูมิภาค

           - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
           - ภาคเหนือ
           - ภาคกลาง
           - ภาคใต้
           - ภาคตะวันออก
LOWER MARKET          14


2.2 การเลือกตลาดเปาหมาย (Target Market Selection)
                  ้

   ตามหลักประชากรศาสตร์ มีการแบ่งส่ วนตลาดผลิตภัณฑ์เครื่ องดื่มชูกาลัง M-150
   ของกลุ่มผูใช้แรงงาน ที่มีอายุต้ งแต่ 18 ปี ขึ้นไประดับชั้นของสังคมอยูในระดับต่าค่อนไปทางต่า
             ้                     ั                                    ่

   - รายได้ 5,000 – 6,000 บาท/เดือน
   - เพศ ชาย
   - ประกอบอาชีพในการใช้แรงงาน เช่น                          กรรมกร)
   - แบ่งเขตตามภูมิประเทศ ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ
                    เพราะคนในภูมิภาคนี้มีปริ มาณประชากรที่มาก


2.3 การวางตาแหน่ งของผลิตภัณฑ์ (Positioning)

   - คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ เครื่ องดื่มชูกาลัง M-150
       เป็ นผลิตภัณฑ์เพิมพลังงานหรื อกระตุนในการทางาน
                        ่                 ้
   - ตลาดเป้ าหมาย และ การเลือกตลาดเป้ าหมาย คือ
                      –


   - วิธีการกาหนดตาแหน่งผลิตภัณฑ์ เครื่ องดื่มชูกาลัง                 “                     ”

   ด้ านพฤติกรรมของผู้บริโภค

   - เน้นราคาสิ นค้า ที่มีราคาถูก
   - ประโยชน์ที่ได้รับจากสิ นค้า คุมค่า
                                   ้
   - ทัศนคติต่อผลิตภัณฑ์ M-150 ได้มีการจับกิจกรรมจับรางวัลชิงโชค อยูบ่อยๆ
                                                                    ่
       จึงดึงความสนใจจากผูบริ โภคในระดั
                          ้                     ได้ดี
LOWER MARKET   15


2.4 Positioning Map
LOWER MARKET   16


                                อ้างอิง

- บทวิเคราะห์ เรื่องเครื่องดื่มชู กาลัง
- ประวัติความเป็ นมาเครื่องดื่มชู กาลัง. (               www.m150.com
- ลักษณะทัวไปของผูใช้แรงงาน. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก.
             ่         ้
  http://labour.roietceo.net/sidti.htm
LOWER MARKET   17


สมาชิกในกลุ่ม
1.              MK 542   54010911084
2.              MK 542   54010911066
3.              MK 542   54010911025
4.              MK 542   54010911132
5.              MK 542   54010911156
6.              MK 52    52010913833

More Related Content

What's hot

แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planinnoobecgoth
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)Nattakorn Sunkdon
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pureตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pureNattakorn Sunkdon
 
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้ ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้ DrDanai Thienphut
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)Nattakorn Sunkdon
 
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีกเรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีกsupatra39
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราช
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราชตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราช
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราชNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
วิจัยร้านอาหารเกาะยอ New
วิจัยร้านอาหารเกาะยอ Newวิจัยร้านอาหารเกาะยอ New
วิจัยร้านอาหารเกาะยอ NewYai Chic
 
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”Utai Sukviwatsirikul
 
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจCherie Pink
 
Stp การตลาด
Stp การตลาดStp การตลาด
Stp การตลาดrungtiwasalakan
 

What's hot (20)

แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Plan
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pureตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
 
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้ ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
 
Ch7-personal selling
Ch7-personal sellingCh7-personal selling
Ch7-personal selling
 
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีกเรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
 
งานส่ง
งานส่งงานส่ง
งานส่ง
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราช
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราชตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราช
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราช
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
วิจัยร้านอาหารเกาะยอ New
วิจัยร้านอาหารเกาะยอ Newวิจัยร้านอาหารเกาะยอ New
วิจัยร้านอาหารเกาะยอ New
 
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
 
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
 
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
 
Stp การตลาด
Stp การตลาดStp การตลาด
Stp การตลาด
 
GPP for community pharmacist
GPP for community pharmacistGPP for community pharmacist
GPP for community pharmacist
 

Viewers also liked

marketing plan สาวบาวแดง
marketing plan สาวบาวแดงmarketing plan สาวบาวแดง
marketing plan สาวบาวแดงglenferry
 
Krating Daeng Rebranding Project
Krating Daeng Rebranding ProjectKrating Daeng Rebranding Project
Krating Daeng Rebranding ProjectSara Faizpour
 
ความสำเร็จที่เกิดจาก Kpi
ความสำเร็จที่เกิดจาก Kpiความสำเร็จที่เกิดจาก Kpi
ความสำเร็จที่เกิดจาก KpiSuradet Sriangkoon
 
1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-final
1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-final1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-final
1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-finalKamol Khositrangsikun
 
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpointthanaporn
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinicตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinicNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพWC Triumph
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionary
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionaryคู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionary
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionaryกฤษฎา นามสุข
 
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มHappy Zaza
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพSaowaluck Sangkoomphai
 
พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภค
 พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภค พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภค
พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภคThitapha Ladpho
 

Viewers also liked (20)

marketing plan สาวบาวแดง
marketing plan สาวบาวแดงmarketing plan สาวบาวแดง
marketing plan สาวบาวแดง
 
Krating Daeng Rebranding Project
Krating Daeng Rebranding ProjectKrating Daeng Rebranding Project
Krating Daeng Rebranding Project
 
Niche market
Niche marketNiche market
Niche market
 
AD 410 International Ad & Branding: Red bull Case
AD 410 International Ad & Branding: Red bull CaseAD 410 International Ad & Branding: Red bull Case
AD 410 International Ad & Branding: Red bull Case
 
Smm travel
Smm travelSmm travel
Smm travel
 
Self esteem
Self esteemSelf esteem
Self esteem
 
Nec KU 2017 curriculum
Nec KU 2017 curriculumNec KU 2017 curriculum
Nec KU 2017 curriculum
 
HR Case Analysis
HR Case AnalysisHR Case Analysis
HR Case Analysis
 
ความสำเร็จที่เกิดจาก Kpi
ความสำเร็จที่เกิดจาก Kpiความสำเร็จที่เกิดจาก Kpi
ความสำเร็จที่เกิดจาก Kpi
 
1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-final
1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-final1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-final
1 service plan kpi and program on 10 sep 2015-final
 
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpoint
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinicตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
 
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionary
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionaryคู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionary
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionary
 
Generation z
Generation zGeneration z
Generation z
 
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
 
Lesson 2-Planning and Decision Making
Lesson 2-Planning and Decision MakingLesson 2-Planning and Decision Making
Lesson 2-Planning and Decision Making
 
พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภค
 พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภค พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภค
พฤติกรรมการบริโภคกาแฟของผู้บริโภค
 

Similar to Lower market

Low cost marketing
Low cost marketingLow cost marketing
Low cost marketingChao Onlamai
 
ปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ Aec
ปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ Aecปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ Aec
ปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ AecMudhita Ubasika
 
Moji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.PowerpointMoji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.Powerpointmaesawing
 
Moji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.PowerpointMoji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.Powerpointmaesawing
 
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรการบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรWichien Juthamongkol
 

Similar to Lower market (20)

Slide
SlideSlide
Slide
 
marketing for non marketeer
marketing for non marketeermarketing for non marketeer
marketing for non marketeer
 
Low cost marketing
Low cost marketingLow cost marketing
Low cost marketing
 
ปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ Aec
ปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ Aecปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ Aec
ปรับกลยุทธ์การตลาดเข้าสู่ Aec
 
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1
 
Media IMC
Media IMCMedia IMC
Media IMC
 
Marketing plan
Marketing planMarketing plan
Marketing plan
 
Niche market.
Niche market.Niche market.
Niche market.
 
งานส่ง
งานส่งงานส่ง
งานส่ง
 
Moji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.PowerpointMoji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.Powerpoint
 
Moji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.PowerpointMoji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.Powerpoint
 
โฆษณา
โฆษณาโฆษณา
โฆษณา
 
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรการบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
 
Week 7
Week 7Week 7
Week 7
 
Marketing com Planing
Marketing com PlaningMarketing com Planing
Marketing com Planing
 
E-Book 2022_08_Ep1.pdf
E-Book 2022_08_Ep1.pdfE-Book 2022_08_Ep1.pdf
E-Book 2022_08_Ep1.pdf
 
Chap5
Chap5Chap5
Chap5
 
Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 

Lower market

  • 1. MBS Mahasarakham Business School LOWER MARKET เสนอ อาจารย์ วจนะ ภูผานี รายวิชา พฤติกรรมผู้บริโภค ( 0902111 ) ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2554
  • 2. LOWER MARKET 2 (Lower Market) 3 4 M-150 4 M-150 5 1. 8 1.1 9 1.2 9 1.3 10 1.4 12 2. STP 13 2.1 (Segmentation) 13 2.2 (Target Market Selection) 14 2.3 (Positioning) 14 2.4 Positioning Map 15
  • 3. LOWER MARKET 3 Lower market ตลาดระดับล่าง (Lower market) ตลาดเป็ นสิ่ งที่นกการตลาดและนักธุ รกิจให้ความสนใจและให้ความสาคัญเป็ นอย่างมากเพราะว่า ั ตลาดนั้นก็คือลูกค้าของบริ ษทหรื อองค์การและบริ ษทพยายามที่จะสรรหาผลิตภัณฑ์มาตอบสนองความต้อง ั ั ั การให้กบลูกค้าหรื อตลาดทาให้เกิดการค้าขายและได้กาหนดตลาดแบ่งเป็ นหลายประเภท ซึ่งในหัวข้อนี้ เรากล่าวถึงตลาดระดับล่างก็สามารถ แบ่งออกเป็ น 2 ระดับดังนี้ 1. ระดับล่างอย่างสู ง (Upper Lower Class) ได้แก่ กลุ่มผูใช้แรงงานที่มีทกษะเช่นช่างฝี มือต่าง ๆ สิ นค้าที่ตองการ ได้แก่ ้ ั ้ สิ นค้าที่จาเป็ นต่อการครองชี พและราคาประหยัด 2. ระดับล่างอย่างต่า (Lower Lower Class) ได้แก่ กรรมกรที่มีรายได้ต่า ต้องการสิ นค้าที่จาเป็ นต่อการ ครองชีพเน้นที่ราคาถูก
  • 4. LOWER MARKET 4 บทวิเคราะห์ เรื่องเครื่องดื่มชู กาลัง หากจะกล่าวว่าตลาดเครื่ องดื่มชูกาลังมีการแข่งขันกันอย่างรุ นแรงนั้นคงไม่มีใครคาดคิดว่า จากราคาของสิ นค้าที่มีมูลค่าเพียง 7 ถึง 10 บาทนั้น เพราะเน้นการทาการตลาดไปเพียงกลุ่มเป้ าหมายที่เป็ นกลุ่มผูใช้แรงงาน ้ แต่ตลาดนี้กลับมีมลค่าทางการตลาดสู งถึง 15,000 ล้านบาท ู หากพิจารณาตลาดเครื่ องดื่มชูกาลังจากอดีตจนถึงปั จจุบน ั จะพบว่าไม่ได้มุ่งเน้นเพียงกลุ่มเป้ าหมายหลักที่เป็ นกลุ่มผูใช้แรงงานเพียงกลุ่มเดียวอีกต่อไป ้ แต่ยงรวมถึงกลุ่มผูบริ โภคกลุ่มอื่นๆ ด้วย โดยมีการนากลยุทธ์ต่างๆ ั ้ มาใช้เพื่อช่วงชิงส่ วนแบ่งทางการตลาดให้ได้มากที่สุด ดังเช่นแบรนด์ M- 150 ที่เป็ นผูนาตลาดเครื่ องดื่มชูกาลังในปั จจุบน ้ ั ประวัติและทีมาของ M-150 ่ เครื่ องดื่มชูกาลังคือเครื่ องดื่มที่ให้พลังงาน มีส่วนผสมของคาเฟอีน (Caffeine) เทารี น (Taurine) อินโนซิทอล (Inositol) และซูโครสหรื อน้ าตาลทราย (Sucrose) เป็ นต้น ซึ่ งมีกรรมวิธีในการผลิตที่ไม่ซบซ้อน ั และต้นทุนต่า ประกอบกับเครื่ องดื่มประเภทนี้ยงมีช่องทางในการทาตลาดอยูเ่ พราะจากส่ วนผสมที่สามารถก่อให้เ ั กิดพลังในการทางาน จึงเหมาะกับกลุ่มคนที่มีความต้องการทางานอย่างต่อเนื่องเป็ นระยะเวลานานอย่างกลุ่มผูใช้แรงงาน ้ (Blue Collar) จากแนวคิดนี้ทาให้ผประกอบการมองเห็นโอกาสที่จะเข้ามาทาตลาดเครื่ องดื่มชูกาลัง ู้ เครื่ องดื่มชูกาลังเริ่ มเข้ามาตั้งแต่ปี 2520 โดยลิโพวิตนดี ั เข้ามาเป็ นเครื่ องดื่มชูกาลังรายแรกจากประเทศญี่ปุ่น ภายใต้บริ ษทโอสถสภา ต่อมา ั
  • 5. LOWER MARKET 5 ปี 2524 บริ ษทไทยฟามาซูติคอล ได้ส่งกระทิงแดงเข้าสู่ ตลาด ั ภายใต้สโลแกน “กระทิงแดง...ซู่ซ่า” พร้อมกับรสชาติที่แตกต่างออกไปจากแบรนด์อื่นที่มีรสชาติค ล้ายยา จึงทาให้ประสบความสาเร็ จอย่างมาก ต่อมาในปี 2528 โอสถสภาได้ส่ง M150 เพื่อออกมาแย่งชิ งส่ วนแบ่งการตลาดจากกระทิงแดง ซึ่ งในขณะนั้นกระทิงแดงครองส่ วนแบ่งทางการตลาดที่สูงถึง 50% ในขณะที่ M- 150ได้เพียง 4% จนกระทังในปี 2543 M- ่ 150 สามารถช่วงชิงส่ วนแบ่งการตลาดมาเป็ นอันดับหนึ่งแทนกระทิงแดงได้สาเร็ จ โดย M- 150 สามารถทาส่ วนแบ่งทางการตลาดถึง 40% แต่กระทิงแดงตกลงเป็ นอันดับ 2 ได้เพียง 33% และ จนถึงทุกวันนี้ M-150 ยังคงเป็ นผูนาในตลาดเครื่ องดื่มชูกาลังที่มีส่วนแบ่งทางการตลาดมากถึง 50% ้ เส้ นทางสู่ เจ้ าตลาดของ M-150 กลยุทธ์ที่ M-150 ใช้ในการแย่งชิงส่ วนแบ่งทางการตลาดจากกระทิงแดง คือ กลยุทธ์ Multi-Brand โดยการสร้างความหลากหลายของตัวสิ นค้า จากที่กระทิงแดงยังมีจุดอ่อนเนื่องจากใช้เพียงหนึ่งแบรนด์ในการเจาะตลาดทุกระดับทัวประเทศ ่ แต่มีความแข็งแกร่ งอย่างมากในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ ดังนั้น M- 150 มองเห็นจุดอ่อนทางภาคใต้และภาคเหนื อจึงออกแบรนด์ฉลามมาเพื่อให้ต่อสู ้กบกระทิงแดง ั ซึ่ งมุ่งเจาะตลาดทางภาคเหนือและภาคใต้ และยังไม่ทิ้งฐานที่มนสาคัญคือภาคกลางและภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือโดยใช้กบ M- ั่ ั 150 เป็ นหัวหอกสาคัญเพื่อต่อสู ้โดยตรงกับกระทิงแดง ด้วยวิธีการที่เรี ยกว่าการทาตลาดเชิงรุ ก (Offensive) แบบการจู่โจมจุดอ่อนของคู่แข่ง (Franking Attack) ในส่ วนของลิโพวิตนดีก็มีการ Re-positioning ใหม่ ั เพื่อปรับภาพลักษณ์เจาะตลาดคนทางานบริ ษท (White Collar) นอกจากนั้น M- ั 150 ยังใช้กลยุทธ์ส่วนผสมทางการตลาด (Marketing Mix: 4Ps) ประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์ (Product) ราคา (Price) ช่องทางการจัดจาหน่าย(Place) และ การส่ งเสริ มการขาย (Promotion) โดยที่ผลิตภัณฑ์จะเปลี่ยนรู ปลักษณ์ของบรรจุภณฑ์ (Packaging) ใ ั ห้ทนสมัยมากขึ้น ด้านกลยุทธ์ราคาจะใช้วธีการลดราคาจากขวดละ 12 บาท ั ิ เหลือเพียงขวดละ 10 บาท ด้านกลยุทธ์ช่องทางการจัดจาหน่าย M- 150 ได้ร่วมมือกับบริ ษทเสริ มสุ ขซึ่ งมีการจัดจาหน่ายเครื่ องดื่มที่แข็งแกร่ งครอบคลุมทุกพื้นที่ทาให้ ั สามารถกระจายสิ นค้าเข้าสู่ ผบริ โภคอย่างทัวถึง และกลยุทธ์การส่ งเสริ มการขาย ู้ ่ มีการจัดกิจกรรมจับรางวัลชิงโชค(Lucky Draw) การเปิ ดฝาแลกรับของรางวัล (Instant Win) รวมถึงวิธีการ Sports
  • 6. LOWER MARKET 6 Marketing โดยการทากิจกรรมทางการตลาดเพื่อส่ งเสริ มและสนับสนุนทางด้านกีฬา ด้วยแนวคิด "พลังเอ็ม...พลังใจเกินร้อย" และวิธีการ Localize Marketing เช่น เพิ่มกิจกรรมเพื่อเจาะกลุ่มเป้ าหมายหลัก จากการจัดกิจกรรมทัวร์ คอนเสิ ร์ตลูกทุ่ง การฉายหนังกลางแปลงตามต่างจังหวัด จากอัตราการขยายตัวของตลาดเครื่ องดื่มชูกาลังที่สูงขึ้นเนื่ องมาจากการที่ทุกแบรนด์มีการทาตลาด อย่างต่อเนื่ องและสามารถขยายฐานลูกค้าได้กว้างขึ้น ทาให้มีผประกอบการรายใหม่เริ่ มสนใจที่จะเข้ามาประกอบธุ รกิจประเภทนี้ รวมถึง แอ๊ด คาราบาว ู้ ่ ที่มีความสนใจในธุ รกิจประเภทนี้เช่นกัน โดยผลิตเครื่ องดื่มชูกาลังภายใต้ชื่อแบรนด์วา คาราบาวแดง การเข้ามาของแบรนด์คาราบาวแดงนี้ส่งผลให้ตลาดเริ่ มมีการแข่งขันอย่างดุเดือดมากขึ้น และที่สาคัญคือ แอ๊ด คาราบาว ซึ่ งจัดได้วาเป็ นบุคคลที่มีอิทธิ พลต่อการสร้างแรงบันดาลใจในการดาเนินชีวิตให้กลุ่มผูใช้แรงงานอ ่ ้ ย่างมากได้มาเป็ นเป็ นพรี เซนเตอร์ โฆษณาสิ นค้านี้เองอีกด้วย ส่ งผลให้ผครองส่ วนแบ่งการตลาดใหญ่อย่าง M- ู้ 150 และกระทิงแดงจาเป็ นต้องปรับกลยุทธ์ใหม่เพื่อป้ องกันการสู ญเสี ยส่ วนแบ่งการตลาด โดยเฉพาะแบรนด์ M- 150 ใช้วธีการทาตลาดเชิงรุ ก (Offensive) และการทาตลาดเชิงรับ (Defensive) โดยใช้วธีการ Re- ิ ิ positioning พร้อมกับปรับภาพลักษณ์ โดยเน้นกิจกรรมการตลาดด้านดนตรี (Music Marketing) เพื่อขยายกลุ่มเป้ าหมายไปยังกลุ่มวัยรุ่ น (Teenage) และกลุ่มคนรุ่ นใหม่ (New Generation) มีการนานักร้องชายและหญิง ที่มีชื่อเสี ยงจากบริ ษทแกรมมี่เข้ามาเป็ นพรี เซนเตอร์ ั โดยการใช้สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ทุกรู ปแบบ ทั้งสื่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ อโฆษณา สื่ อกลางแจ้ง
  • 7. LOWER MARKET 7 การแสดงคอนเสิ ร์ต และกิจกรรมนันทนาการต่างๆ เช่น การสนับสนุนกิจกรรมกีฬาชกมวย กีฬาฟุตบอล การประกวดวงดนตรี ชิงแชมป์ เวทีโลก นอกจากนี้ยงเน้นการทากิจกรรม Below The ั Line เพื่อเจาะตลาดกลุ่มเป้ าหมายด้วยการจับรางวัลชิงโชคอย่างสม่าเสมอ M- 150 ยังทากิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) มีโครงการอบรมและประกวดภาพยนตร์ โฆษณา ชุดคลายร้อนให้โลก รวมถึง M- 150 ยังเป็ นแบรนด์เครื่ องดื่มชูกาลังรายแรกที่มีการใช้สื่อโฆษณาผ่านโรงภาพยนตร์ เพื่อหวังที่จะเข้า ถึงกลุ่มวัยรุ่ นให้ได้มากกว่าเดิม ความพยายามทากิจกรรมการตลาดอย่างมากนี้เองจึงทาให้ M- 150 เป็ นแบรนด์เครื่ องดื่มชูกาลังที่ใช้จ่ายงบโฆษณาการทากิจกรรมทางการตลาดมากที่สุด จากที่กล่าวมา เริ่ มแรก M-150 ได้มีการใช้กลยุทธ์ทากิจกรรมการตลาดในเชิงรุ กจึงทาให้ M- 150 สามารถกลายมาเป็ นผูนาทางการตลาดเครื่ องดื่มชูกาลังได้สาเร็ จ ้ และมีการทากิจกรรมทางการตลาดทั้งเชิงรุ กและเชิงรับเรื่ อยมาจึงยังคงครองส่ วนแบ่งการตลาดเป็ น อันดับหนึ่งได้จนถึงปั จจุบนนี้ ั
  • 8. LOWER MARKET 8 1. ลักษณะทัวไปของกลุ่มผู้ใช้ แรงงาน ่ กลุ่มผูใช้แรงงานในประเทศไทยนั้นอยูในภาคตะวันเฉี ยงเหนือเป็ นส่ วนใหญ่กลุ่มนี้ถือว่าเป็ นกลุ่มที่ ้ ่ ่ มีจานวนคนมากที่สุดที่มีอยูในประเทศไทย เป็ นกลุ่มไม่ได้รับการศึกษาที่ดีพอหรื อไม่ได้รับโอกาสทางการศึกษา เลยทาให้การทางานของคนกลุ่มนี้เป็ นงานที่ใช้แรงงานเป็ นส่ วนใหญ่ ดังนั้น ผลิตภัณฑ์ที่จะเข้ามามีการตอบสนองให้กบคนกลุ่มใช้แรงงานกลุ่มนี้ ั ควรมีราคาที่เหมาะสมไม่แพงมากนักและตอบสนองในการทดแทนพลังงานที่สูญเสี ยไป รู ปที่ 1 ลักษณะของผู้ใช้ แรงงาน
  • 9. LOWER MARKET 9 1.1 พฤติกรรมการซื้อ ผูบริ โภคกลุ่มนี้จะซื้ อเครื่ องดื่มชูกาลังเมื่อรู ้สึกว่าร่ างกายมีความอ่อนเพลียเหนื่ อยจากการทา ้ งานอย่างหนักจึงต้องดื่มเพื่อกระตุนให้ร่างกายได้รับพลังงานทดแทนในส่ วนที่เสี ยซึ่ งเลือกซื้ อเครื่ อง ้ ดื่มชูกาลัง m-150 เป็ นส่ วนใหญ่ จากการได้รับอิทธิ พลจากแหล่งต่างๆ รู ปที่ 1.1 พฤติกรรมการซื้อ 1.2 พฤติกรรมการใช้ และการบริโภค เมื่อผูบริ โภคกลุ่มนี้ตองใช้แรงงานในการทางานและเกิดการสู ญเสี ยพลังในร่ างกายเป็ นจาน ้ ้ วนมากทาให้ร่างกายต้องการน้ าเพื่อทดแทนส่ วนที่เสี ยไป ผูบริ โภคกลุ่มนี้จึงมองผลิตที่จะสามารถตอบสนองความต้องการของร่ างกายจึงซื้ อผลิตภัณฑ์จาพวก ้ เครื่ องดื่มชูกาลัง
  • 10. LOWER MARKET 10 1.3 พฤติกรรมและช่ องทางการรับสื่ อ ผูบริ โภคกลุ่มนี้จะมีพฤติกรรมการรับสื่ อสองช่องทาง คือ ทางวิทยุ โทรทัศน์ ้ 1.3.1 สื่ อวิทยุ รู ปที่ 1.3.1 สื่ อวิทยุ สื่ อวิทยุ ั ่ เป็ นช่องการหนึ่งที่บริ ษทจะทาการโฆษณาผลิตภัณฑ์ผานสื่ อวิทยุเพื่อสื่ อการกับผูบริ โภคในด้านผลิ ้ ตภัณฑ์ของบริ ษท โดยที่ผบริ โภคจะสามารถรับข่าวสารช่วงเวลาที่เขาทางานไปด้วยฟังวิทยุไปด้วย ั ู้ ในช่วงสปอร์ ตโฆษณาเขาก็จะได้รับข่าวสารนั้น
  • 11. LOWER MARKET 11 1.3.2 สื่ อโทรทัศน์ รู ปที่ 1.3.2 สื่ อโทรทัศน์ เป็ นอีกช่องทางหนึ่งในการส่ งสารไปยังผูบริ โภค ้ ส่ วนใหญ่ผบริ โภคกลุ่มนี้ชอบดูรายการทีวมวยไทยบริ ษทโอสถสภาพได้ทาการซื้ อโฆษณาในช่วงนี้ ู้ ี ั และมีการโฆษณาทางอ้อมโดยการสกรี นแบรนด์ลงไปในกางเกงของนักมวย ทาให้ผบริ โภคสามารถจดจาได้ดี ู้
  • 12. LOWER MARKET 12 1.4 พฤ กรรมการตอบสนองต่ อกิจกรรมการตลาด ทางบริ ษทโอสถสภาได้ทาการจัดกิจกรรมทางการตลาดเพื่อเป็ นการส่ งเสริ มการขายและส ั ั ร้างชื่อเสี ยงให้กบบริ ษท โดยการแสดงคอนเสิ ร์ตในต่างจังหวัดทัวประเทศ ั ่ และยังมีการแจกรางวัลโดยผ่านช่องทางการซื้ อสิ นค้า โดยการส่ งฝาชิงโชค พฤติกรรมของคนกลุ่มนี้ได้ให้การตอบสนองเป็ นอย่างดี วัดจากการเข้าร่ วมกิจกรรมที่ทางM 150 ได้จดขึ้น มีผเู ้ ข้าร่ วมกิจกรรมมากมาย ั รู ปที่ 1.4 การจัดกิจกรรมทางการตลาด
  • 13. LOWER MARKET 13 2. STP 2.1 การแบ่ งส่ วนตลาด (Segmentation) M – 150 อาชีพ - ( รรมกร) - พนักงานรัฐบาล - พนักงานเอกชน - พ่อค้า แม่คา ้ - นักเรี ยน นักศึกษา เพศ - ชาย - หญิง รายได้ - 5,000 - 6,000 บาท/เดือน - 10,000 บาทขึ้นไป / เดือน - 15,000 -30,000 บาท/เดือน ภูมิภาค - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - ภาคเหนือ - ภาคกลาง - ภาคใต้ - ภาคตะวันออก
  • 14. LOWER MARKET 14 2.2 การเลือกตลาดเปาหมาย (Target Market Selection) ้ ตามหลักประชากรศาสตร์ มีการแบ่งส่ วนตลาดผลิตภัณฑ์เครื่ องดื่มชูกาลัง M-150 ของกลุ่มผูใช้แรงงาน ที่มีอายุต้ งแต่ 18 ปี ขึ้นไประดับชั้นของสังคมอยูในระดับต่าค่อนไปทางต่า ้ ั ่ - รายได้ 5,000 – 6,000 บาท/เดือน - เพศ ชาย - ประกอบอาชีพในการใช้แรงงาน เช่น กรรมกร) - แบ่งเขตตามภูมิประเทศ ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ เพราะคนในภูมิภาคนี้มีปริ มาณประชากรที่มาก 2.3 การวางตาแหน่ งของผลิตภัณฑ์ (Positioning) - คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ เครื่ องดื่มชูกาลัง M-150 เป็ นผลิตภัณฑ์เพิมพลังงานหรื อกระตุนในการทางาน ่ ้ - ตลาดเป้ าหมาย และ การเลือกตลาดเป้ าหมาย คือ – - วิธีการกาหนดตาแหน่งผลิตภัณฑ์ เครื่ องดื่มชูกาลัง “ ” ด้ านพฤติกรรมของผู้บริโภค - เน้นราคาสิ นค้า ที่มีราคาถูก - ประโยชน์ที่ได้รับจากสิ นค้า คุมค่า ้ - ทัศนคติต่อผลิตภัณฑ์ M-150 ได้มีการจับกิจกรรมจับรางวัลชิงโชค อยูบ่อยๆ ่ จึงดึงความสนใจจากผูบริ โภคในระดั ้ ได้ดี
  • 15. LOWER MARKET 15 2.4 Positioning Map
  • 16. LOWER MARKET 16 อ้างอิง - บทวิเคราะห์ เรื่องเครื่องดื่มชู กาลัง - ประวัติความเป็ นมาเครื่องดื่มชู กาลัง. ( www.m150.com - ลักษณะทัวไปของผูใช้แรงงาน. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก. ่ ้ http://labour.roietceo.net/sidti.htm
  • 17. LOWER MARKET 17 สมาชิกในกลุ่ม 1. MK 542 54010911084 2. MK 542 54010911066 3. MK 542 54010911025 4. MK 542 54010911132 5. MK 542 54010911156 6. MK 52 52010913833