SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ :
นัยต่อโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และไทย
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ความสาเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน
ศ.ดร.ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์
อดีตคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จากคอลัมภ์ดุลยภาพดุลยพินิจ มติชนออนไลน์
ความสาเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
รายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.rsu-brain.com
บรรณาธิการ: ยุวดี คาดการณ์ไกล
ผู้เขียน : ศ.ดร.ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์
ผู้ช่วยบรรณาธิการ : ปลายฟ้า บุนนาค
ภาพปก : https://www.matichon.co.th/news/670363
เผยแพร่ : ตุลาคม 2560
ที่อยู่
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขต
จตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864
1
สาธารณรัฐประชาชนจีนเคยถูกคาดคะเนไว้อย่างถูกต้องว่าจะเป็นยักษ์ใหญ่ที่ตื่นจากหลับ และ
ถึงแม้จะมิใช่มหาอานาจสูงสุดแห่งศตวรรษนี้ ก็มีความโดดเด่นเป็นที่ประจักษ์ มีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ
สองรองจากสหรัฐอเมริกา และยังมีเครือข่ายการเมืองระหว่างประเทศที่เข้มแข็งกว่าในอดีตมาก
จีนเป็นตัวอย่างสาคัญของประเทศที่สามารถหลุดจากกับดักของความเป็นประเทศยากจนได้อย่าง
น่าทึ่ง
ความสาเร็จนี้อาจไม่เป็นที่น่าแปลกใจมากสาหรับหลายๆ คนเพราะจีนเติบโตจากฐานตัวเลขที่ต่า
ผิดปกติ อย่างไรก็ตาม เมื่อเวลาผ่านไป เศรษฐกิจจีนกลับยังคงขยายตัวได้สูงมากติดต่อกันหลายทศวรรษ
ยิ่งไปกว่านั้น กระบวนการปฏิรูปทางเศรษฐกิจก็สามารถดาเนินไปได้อย่างต่อเนื่องและมีการ
ปรับเปลี่ยนได้อย่างมากตามภววิสัยที่เปลี่ยนแปลงไป
ความสาเร็จนี้เกิดขึ้นตลอด 40 ปีที่ผ่านมาอย่างที่ไม่มีประเทศใดในโลกทุนนิยมกระทาได้
ปัจจัยหลายประการมีส่วนทาให้จีนประสบความสาเร็จดังกล่าวนี้ อาจจะทั้งในแง่ของวิสัยทัศน์เชิง
ยุทธศาสตร์และความเข้มแข็งมุ่งมั่นของกระบวนการปฏิรูปในทางปฏิบัติ
ที่น่าสนใจคือ ความสาเร็จดังกล่าวมิได้พึ่งแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์แบบตะวันตก และมิได้พึ่งพลัง
ของกลไกตลาดมากมายเหมือนประเทศอื่นๆ ที่ดาเนินการปฏิรูป
ความสาเร็จของจีนจึงควรค่าแก่การเรียนรู้ของผู้นาไทยที่ต้องการ “ปฏิรูปก่อนเลือกตั้ง” และกาลัง
พึ่งคณะกรรมการและองคาพยพอันใหญ่โตในการเดินทางสู่ยุทธศาสตร์ 20 ปี
ยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจของสาธารณรัฐประชาชนจีนไม่เคยละเลยภาพใหญ่ของสังคมและ
การเมือง นับตั้งแต่ยุคที่ต้องฟื้นฟูเศรษฐกิจสมัยประธานเหมา เจ๋อตุง ผ่านยุคปฏิรูปของเติ้ง เสี่ยวผิง จนถึง
ยุคสมัยปัจจุบันภายใต้ประธานาธิบดีสี จิ้นผิง
การปกครองของจีนนับกันว่าเป็นประเทศที่มีการปกครองแบบเผด็จการ แต่ก็มีลักษณะรวมหมู่ที่มี
การรับฟังและอาศัยความคิดเห็นของคนจานวนมากตามลาดับขั้นตอนของระบอบประชาธิปไตยแผนใหม่ที่
วางรากฐานกันมาตั้งแต่ยุคของประธานเหมา เจ๋อตุง หรือที่เรียกว่าระบอบประชาธิปไตยแบบรวมศูนย์
จุดแข็งด้านการบริหารจัดการของภาครัฐจึงเข้มแข็งและมีประสิทธิภาพสูงมาก
เราคงสังเกตได้ว่าการปฏิรูปที่ประเทศประชาธิปไตยหลายประเทศกระทาไม่ได้ จีนกระทาได้
ในขณะที่การปฏิรูปที่ประเทศเผด็จการกระทาไม่สาเร็จ จีนกลับประสบความสาเร็จ
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ความสาเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน
2สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
จีนเป็นประเทศที่มีประชากรมากมายและเคยมีปัญหาด้านการขาดแคลนอาหารอย่างรุนแรง รัฐบาล
จีนก็เคยผ่านประสบการณ์นั้นโดยยังรักษาความมั่นคงเอาไว้ได้ โดยเฉพาะยิ่งในช่วงปี พ.ศ.2501-2505 ซึ่งจีน
ต้องเผชิญกับภาวะอดอยากครั้งใหญ่และต้องสูญเสียชีวิตประชาชนไปเป็นจานวนมหาศาล
ยุทธศาสตร์ของจีนได้ผ่านเส้นทางที่เต็มไปด้วยประสบการณ์และการต่อสู้ทางความคิดในหมู่ผู้นาจีน
มีการปรับเปลี่ยนไปตามสภาพการณ์ของปัญหาและการเมืองภายในพรรคคอมมิวนิสต์จีน แต่ก็สะท้อนถึง
ความสาเร็จมากกว่าความล้มเหลว
ผู้นาของจีนอาศัยลัทธิมาร์กซ์-เลนินเป็นพื้นฐานในการกาหนดยุทธศาสตร์ เช่นเดียวกับสหภาพโซ
เวียต แต่มีความราบรื่นมากกว่า รวมทั้งมีการถ่ายเทอานาจการนาที่ราบรื่นกว่าด้วย
ตั้งแต่เริ่มต้น ผู้นาจีนมิได้อาศัยแนวคิดทางเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเสรี เหมา เจ๋อตุง ในสมัยหนุ่มๆ
เคยศึกษางานของอดัม สมิธ บิดาของวิชาเศรษฐศาสตร์ แต่ต่อมาศรัทธาในลัทธิมาร์กซ์-เลนิน
ผู้นาจีนในระยะต้นก็ศึกษาลัทธิมาร์กซ์จากสหภาพโซเวียต การวางแผนเศรษฐกิจก่อนการเปิด
ประเทศจึงอาศัยลัทธิมาร์กซ์ล้วนๆ จนกระทั่งเปิดประเทศระยะหนึ่งแล้วจึงอาศัยแนวคิดทุนนิยมและ
เศรษฐศาสตร์ตะวันตกมากขึ้นเป็นลาดับ
ทฤษฎีของมาร์กซ์เป็นทฤษฎีฝ่ายวัตถุนิยมที่มองการพัฒนาของเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง
สัมพันธ์กัน โดยที่มีรากฐานอยู่ที่พลังทางการผลิตและความสัมพันธ์ทางการผลิต
พลังทางการผลิตเป็นความสามารถที่มนุษย์หรือแรงงานจะสร้างผลผลิตเพื่อเลี้ยงดูสังคม
ความสัมพันธ์ทางการผลิตเป็นความสัมพันธ์ของมนุษย์ที่อยู่ภายใต้กระบวนการผลิต เช่น
ความสัมพันธ์ระหว่างแรงงานกับนายทุนในสังคมทุนนิยม และความสัมพันธ์ระหว่างชาวนากับเจ้าของที่ดินใน
สังคมศักดินา เป็นต้น
การมองเช่นนี้ก็มิได้แตกต่างจากเศรษฐศาสตร์ทุนนิยมเสรี แต่ความแตกต่างอยู่ที่การมองเห็นความ
ขัดแย้งภายในความสัมพันธ์ทางการผลิตที่มักมีลักษณะของการเป็นปฏิปักษ์ต่อกัน
ความขัดแย้งระหว่างทุนและแรงงานเกี่ยวกับการขูดรีดส่วนเกินที่สังคมผลิตได้ก็คือหัวใจ
ของเศรษฐกิจการเมืองแบบมาร์กซ์
ภายใต้การกาหนดยุทธศาสตร์ของจีน ผู้นาจีนได้ผ่านการต่อสู้และการแลกเปลี่ยนทางความคิด
ระหว่างกันว่าจะให้น้าหนักกับพลังการผลิต หรือการแก้ไขความสัมพันธ์ทางการผลิต เป็นหลักหรือรอง
อย่างไร
3สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผู้นาจีนในยุคปิดประเทศมีประธานเหมา เจ๋อตุง เป็นผู้นาสูงสุด โดยทั่วไป ประธานเหมามีความคิด
อนุรักษ์ ในขณะที่ผู้นาที่มีความคิดก้าวหน้าได้แก่หลิว เส้าฉี และโจว เอินไหล
สาหรับการเมืองภายในพรรคยุคนั้น ฝ่ายหลักคือฝ่ายที่นิยมแนวคิดดั้งเดิมของเหมา เจ๋อตุง ซึ่งเน้นความ
เท่าเทียมกันในหมู่ประชาชน อีกฝ่ายเป็นฝ่ายที่นาโดยหลิว เส้าฉี ซึ่งเคยถูกวางตาแหน่งเป็นผู้สืบทอดอานาจต่อ
จากเหมาและเน้นความสามารถในการที่ภาคเศรษฐกิจและการเกษตรในการดูแลประชากร
หลิว เส้าฉี เป็นผู้ที่มักต้องรับผิดชอบงานฟื้นฟูเศรษฐกิจ แต่ก็ต้องประสบกับจุดจบอย่างไร้เกียรติในช่วง
ปฏิวัติวัฒนธรรมที่นางเจียงชิง ภริยาของเหมา เจ๋อตุง มีอิทธิพล
ในช่วงที่จีนเห็นความล้มเหลวของการปฏิวัติวัฒนธรรมและฝ่ายของหลิว เส้าฉี ซึ่งมีเติ้ง เสี่ยวผิง เป็น
ผู้นาได้กลับมาสืบทอดอานาจต่อจากเหมา เจ๋อตุง การเน้นเรื่องพลังการผลิตจึงเริ่มเดินเครื่องในฐานะที่เป็น
ยุทธศาสตร์หลักของชาติ
ช่วงนั้นเป็นช่วงที่เศรษฐกิจโลกเผชิญกับปัญหาค่าครองชีพและวิกฤตการณ์น้ามันโลก การเปิดประเทศ
ของจีนพร้อมกับยุทธศาสตร์ใหม่จึงสอดคล้องกัน เพราะจีนมีค่าจ้างแรงงานต่ามาก ทาให้สามารถผลิตสินค้าใน
ราคาที่ถูกกว่าประเทศอื่น
การกระจายสินค้าไปยังภูมิภาคต่างๆ ภายในประเทศจีนก็มีประสิทธิภาพมากขึ้น
แนวทางยุทธศาสตร์ใหม่ที่เรียกว่า นโยบาย 4 ทันสมัย เป็นการปฏิรูปสู่เศรษฐกิจโลกและการยกระดับ
ความสามารถในการผลิตของสังคม
การปฏิรูปทั้ง 4 ด้านนี้ได้แก่ ด้านการเกษตร ด้านอุตสาหกรรม ด้านความมั่นคงแห่งชาติ และด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากเดิมที่มุ่งสร้างความมั่นคงแห่งชาติและความยึดมั่นในอุดมการณ์แบบมาร์กซ์-เล
นิน-เหมา เจ๋อตุง จึงขาดความไม่สนใจในการปฏิรูปเศรษฐกิจให้เข้มแข็งและเคลื่อนไปข้างหน้าได้ดี
ฝ่ายที่นิยมเหมาเชื่อความเห็นที่มีมาแต่เดิมของเหมาว่าความยิ่งใหญ่ของชาติมาจากการมีจานวน
ประชากรมากๆ
ฝ่ายหลิว เส้าฉี-เติ้ง เสี่ยวผิง เห็นความผิดพลาดของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและภาวะอด
อยากครั้งใหญ่ และเมื่อมีอานาจก็เห็นว่าจีนต้องอาศัยยุทธศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงไปที่เหมาะสมกับความเป็น
ประเทศที่มีประชากรมากและมีพลังการผลิตต่า
จีนยุคใหม่หันมาจากัดจานวนประชากร ยอมให้มีการเคลื่อนย้ายแรงงาน มีการลดขนาดภาครัฐ และได้
เติมส่วนผสมของระบบทุนนิยมและองค์ความรู้ใหม่ของตะวันตกเข้าสู่สังคม เพื่อเปลี่ยนโฉมประเทศเสียใหม่
เติ้ง เสี่ยวผิง เห็นว่าจีนต้องยอมให้เมืองต่างๆ มีการพัฒนาที่เหลื่อมล้ากันได้ การพัฒนาเขตเศรษฐกิจ
พิเศษชายฝั่งทะเลซึ่งมีทาเลเหมาะแก่การเปิดสู่เศรษฐกิจโลกจึงเกิดขึ้น
การปฏิรูปอย่างต่อเนื่องในทิศทางเหล่านี้ทาให้จีนได้เข้าเป็นสมาชิกขององค์การการค้าโลกในปี
พ.ศ.2544 และก็ได้รับประโยชน์มากมายอย่างยิ่ง
4
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เศรษฐกิจจีนกลายเป็นปัจจัยที่กาหนดระดับค่าจ้างและราคาของโลก ซึ่งส่งผลให้ทั่วโลกมีอัตราเงินเฟ้อ
และอัตราการเพิ่มของค่าจ้างที่ต่าตามไปด้วย
เมื่อเข้าใกล้ปลายทศวรรษ 2000 ยุทธศาสตร์ของเติ้ง เสี่ยวผิง ถูกท้าทายจากวิกฤตการณ์เศรษฐกิจโลก
ที่ระบาดออกจากสหรัฐไปสู่ยุโรปและส่งผลกระทบถึงจีนและเอเชีย
ผู้นาจีนยังสืบสานแนวทางต่อมาจากเติ้ง เสี่ยวผิง ผ่านเจียง เจ๋อหมิน
ในทางนโยบาย รัฐบาลได้หันมาเน้นนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจระยะสั้นมากขึ้น โดยมีการลงทุนของ
ภาครัฐอย่างมากมายซึ่งได้ส่งผลให้หนี้สาธารณะของจีนเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว
จากนั้นก็ต้องหันมาส่งเสริมการบริโภคมากขึ้นเพื่อชดเชยการส่งออกที่ชะลอตัวซึ่งเป็นนโยบายที่
สอดคล้องกับแนวทางเคนส์ของชาติตะวันตก
หนี้ภาคเอกชนและรัฐวิสาหกิจกลับกลายมาเป็นความเสี่ยงใหม่และทาให้เศรษฐกิจในระยะยาวไม่
สามารถขยายตัวได้สูงเหมือนเดิม
จีนกลับเผชิญปัญหาใหม่ๆ ทั้งการปิดล้อมจากสหรัฐและภาวะหดตัวของภาคการผลิตของโลก
อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบัน จีนก็สามารถปรับยุทธศาสตร์ใหม่ได้อีกครั้ง เมื่อสี จิ้นผิง เดินยุทธศาสตร์ One
Belt-One Road พร้อมๆ ไปกับการกระชับอานาจภายในพรรคให้ได้อย่างที่เติ้ง เสี่ยวผิง เคยมี
ยุทธศาสตร์นี้อาจต้องใช้เวลาสักระยะที่จะชี้ให้เห็นว่ายุทธศาสตร์ของสี จิ้นผิง จะประสบความสาเร็จ
ในทางปฏิบัติหรือไม่
ทว่า ยุทธศาสตร์นี้ก็ได้ช่วยจีนกาหนดกรอบให้ประเทศต่างๆ เดินหน้าด้านโครงสร้างพื้นฐานที่เป็น
ประโยชน์ต่อจีน โดยอาศัยเงินกู้และการติดตามโครงการอย่างใกล้ชิดของทางการจีน
ในขณะที่จีนเองยังมีเข็มมุ่งอื่นที่ช่วยสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจของชาติตน รวมทั้งการผ่อนคลาย
ความเหลื่อมล้าที่เป็นปัญหาด้านความสัมพันธ์ทางการผลิตด้วย
ไม่ว่าจะเป็นนโยบายการค้าเสรี เทคโนโลยีสมองกล และเทคโนโลยีพลังงานอันเป็นการเติม
แนวคิดที่สืบทอดจากปรมาจารย์ทางเศรษฐศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่อย่างอดัม สมิธ และ โจเซฟ ชุมปีเตอร์ เข้า
ไปสู่วิธีคิดและกลไกการทางานของระบบทุนนิยมโดยรัฐนั่นเอง
***

More Related Content

What's hot

Project pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyanProject pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyandnavaroj
 
Art หนังสือพิมพ์ สพป นบ 2 ฉบับที่ 8 (ส่ง) 29 1
Art หนังสือพิมพ์ สพป นบ 2 ฉบับที่ 8 (ส่ง) 29 1Art หนังสือพิมพ์ สพป นบ 2 ฉบับที่ 8 (ส่ง) 29 1
Art หนังสือพิมพ์ สพป นบ 2 ฉบับที่ 8 (ส่ง) 29 1สำเริง ยิ้มดี
 
การดำเนินงานวิจัยและงานวิชาการเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ#2
การดำเนินงานวิจัยและงานวิชาการเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ#2การดำเนินงานวิจัยและงานวิชาการเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ#2
การดำเนินงานวิจัยและงานวิชาการเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ#2Prachyanun Nilsook
 
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทยแนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทยKlangpanya
 
การดำเนินงานวิจัยและงานวิชาการเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ#1
การดำเนินงานวิจัยและงานวิชาการเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ#1การดำเนินงานวิจัยและงานวิชาการเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ#1
การดำเนินงานวิจัยและงานวิชาการเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ#1Prachyanun Nilsook
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...dnavaroj
 
ระบบสอบ2557
ระบบสอบ2557ระบบสอบ2557
ระบบสอบ2557Orapan Chamnan
 
การเขียนบทความวิจัย2559 1
การเขียนบทความวิจัย2559 1การเขียนบทความวิจัย2559 1
การเขียนบทความวิจัย2559 1Prachyanun Nilsook
 

What's hot (9)

Project pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyanProject pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyan
 
Art หนังสือพิมพ์ สพป นบ 2 ฉบับที่ 8 (ส่ง) 29 1
Art หนังสือพิมพ์ สพป นบ 2 ฉบับที่ 8 (ส่ง) 29 1Art หนังสือพิมพ์ สพป นบ 2 ฉบับที่ 8 (ส่ง) 29 1
Art หนังสือพิมพ์ สพป นบ 2 ฉบับที่ 8 (ส่ง) 29 1
 
statistics
statisticsstatistics
statistics
 
การดำเนินงานวิจัยและงานวิชาการเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ#2
การดำเนินงานวิจัยและงานวิชาการเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ#2การดำเนินงานวิจัยและงานวิชาการเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ#2
การดำเนินงานวิจัยและงานวิชาการเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ#2
 
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทยแนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
 
การดำเนินงานวิจัยและงานวิชาการเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ#1
การดำเนินงานวิจัยและงานวิชาการเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ#1การดำเนินงานวิจัยและงานวิชาการเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ#1
การดำเนินงานวิจัยและงานวิชาการเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ#1
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
 
ระบบสอบ2557
ระบบสอบ2557ระบบสอบ2557
ระบบสอบ2557
 
การเขียนบทความวิจัย2559 1
การเขียนบทความวิจัย2559 1การเขียนบทความวิจัย2559 1
การเขียนบทความวิจัย2559 1
 

Similar to ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน

ภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคต
ภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคตภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคต
ภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคตKlangpanya
 
อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์
อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์
อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์Klangpanya
 
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การวิจัยไทย-จีน และการสร้าง Think Tank ของไทย
ยุทธศาสตร์การวิจัยไทย-จีน และการสร้าง Think Tank ของไทย ยุทธศาสตร์การวิจัยไทย-จีน และการสร้าง Think Tank ของไทย
ยุทธศาสตร์การวิจัยไทย-จีน และการสร้าง Think Tank ของไทย Klangpanya
 
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนKlangpanya
 
โฉมหน้าที่แท้จริงของทรัมป์
โฉมหน้าที่แท้จริงของทรัมป์โฉมหน้าที่แท้จริงของทรัมป์
โฉมหน้าที่แท้จริงของทรัมป์Klangpanya
 
โอกาสใหญ่ ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
โอกาสใหญ่ ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทยโอกาสใหญ่ ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
โอกาสใหญ่ ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทยKlangpanya
 
โอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
โอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทยโอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
โอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทยKlangpanya
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางUSMAN WAJI
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางKlangpanya
 
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...Klangpanya
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrctrattapol
 
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่siep
 
CV Thai Dr.Noppadol Punpanich-25-7-61
CV Thai Dr.Noppadol Punpanich-25-7-61CV Thai Dr.Noppadol Punpanich-25-7-61
CV Thai Dr.Noppadol Punpanich-25-7-61Dr.Noppadol Punpanich
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..Librru Phrisit
 

Similar to ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน (20)

ภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคต
ภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคตภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคต
ภูมิ-รัฐประศาสนศาสตร์คาบสมุทรภาคใต้ : อดีต ปัจจุบัน อนาคต
 
อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์
อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์
อุดรธานี : ศรีแห่งยุทธศาสตร์
 
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
 
ยุทธศาสตร์การวิจัยไทย-จีน และการสร้าง Think Tank ของไทย
ยุทธศาสตร์การวิจัยไทย-จีน และการสร้าง Think Tank ของไทย ยุทธศาสตร์การวิจัยไทย-จีน และการสร้าง Think Tank ของไทย
ยุทธศาสตร์การวิจัยไทย-จีน และการสร้าง Think Tank ของไทย
 
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
 
Abc
AbcAbc
Abc
 
โฉมหน้าที่แท้จริงของทรัมป์
โฉมหน้าที่แท้จริงของทรัมป์โฉมหน้าที่แท้จริงของทรัมป์
โฉมหน้าที่แท้จริงของทรัมป์
 
โอกาสใหญ่ ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
โอกาสใหญ่ ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทยโอกาสใหญ่ ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
โอกาสใหญ่ ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
 
โอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
โอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทยโอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
โอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
 
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 
Newsletter4
Newsletter4 Newsletter4
Newsletter4
 
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
การจัดการภาครัฐสมัยใหม่
 
บทที่ึ7
บทที่ึ7บทที่ึ7
บทที่ึ7
 
Handbook2560
Handbook2560Handbook2560
Handbook2560
 
CV Thai Dr.Noppadol Punpanich-25-7-61
CV Thai Dr.Noppadol Punpanich-25-7-61CV Thai Dr.Noppadol Punpanich-25-7-61
CV Thai Dr.Noppadol Punpanich-25-7-61
 
V 302
V 302V 302
V 302
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน

  • 1. วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และไทย สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ความสาเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน ศ.ดร.ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์ อดีตคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากคอลัมภ์ดุลยภาพดุลยพินิจ มติชนออนไลน์
  • 2. ความสาเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต รายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.rsu-brain.com บรรณาธิการ: ยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้เขียน : ศ.ดร.ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์ ผู้ช่วยบรรณาธิการ : ปลายฟ้า บุนนาค ภาพปก : https://www.matichon.co.th/news/670363 เผยแพร่ : ตุลาคม 2560 ที่อยู่ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขต จตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864
  • 3. 1 สาธารณรัฐประชาชนจีนเคยถูกคาดคะเนไว้อย่างถูกต้องว่าจะเป็นยักษ์ใหญ่ที่ตื่นจากหลับ และ ถึงแม้จะมิใช่มหาอานาจสูงสุดแห่งศตวรรษนี้ ก็มีความโดดเด่นเป็นที่ประจักษ์ มีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ สองรองจากสหรัฐอเมริกา และยังมีเครือข่ายการเมืองระหว่างประเทศที่เข้มแข็งกว่าในอดีตมาก จีนเป็นตัวอย่างสาคัญของประเทศที่สามารถหลุดจากกับดักของความเป็นประเทศยากจนได้อย่าง น่าทึ่ง ความสาเร็จนี้อาจไม่เป็นที่น่าแปลกใจมากสาหรับหลายๆ คนเพราะจีนเติบโตจากฐานตัวเลขที่ต่า ผิดปกติ อย่างไรก็ตาม เมื่อเวลาผ่านไป เศรษฐกิจจีนกลับยังคงขยายตัวได้สูงมากติดต่อกันหลายทศวรรษ ยิ่งไปกว่านั้น กระบวนการปฏิรูปทางเศรษฐกิจก็สามารถดาเนินไปได้อย่างต่อเนื่องและมีการ ปรับเปลี่ยนได้อย่างมากตามภววิสัยที่เปลี่ยนแปลงไป ความสาเร็จนี้เกิดขึ้นตลอด 40 ปีที่ผ่านมาอย่างที่ไม่มีประเทศใดในโลกทุนนิยมกระทาได้ ปัจจัยหลายประการมีส่วนทาให้จีนประสบความสาเร็จดังกล่าวนี้ อาจจะทั้งในแง่ของวิสัยทัศน์เชิง ยุทธศาสตร์และความเข้มแข็งมุ่งมั่นของกระบวนการปฏิรูปในทางปฏิบัติ ที่น่าสนใจคือ ความสาเร็จดังกล่าวมิได้พึ่งแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์แบบตะวันตก และมิได้พึ่งพลัง ของกลไกตลาดมากมายเหมือนประเทศอื่นๆ ที่ดาเนินการปฏิรูป ความสาเร็จของจีนจึงควรค่าแก่การเรียนรู้ของผู้นาไทยที่ต้องการ “ปฏิรูปก่อนเลือกตั้ง” และกาลัง พึ่งคณะกรรมการและองคาพยพอันใหญ่โตในการเดินทางสู่ยุทธศาสตร์ 20 ปี ยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจของสาธารณรัฐประชาชนจีนไม่เคยละเลยภาพใหญ่ของสังคมและ การเมือง นับตั้งแต่ยุคที่ต้องฟื้นฟูเศรษฐกิจสมัยประธานเหมา เจ๋อตุง ผ่านยุคปฏิรูปของเติ้ง เสี่ยวผิง จนถึง ยุคสมัยปัจจุบันภายใต้ประธานาธิบดีสี จิ้นผิง การปกครองของจีนนับกันว่าเป็นประเทศที่มีการปกครองแบบเผด็จการ แต่ก็มีลักษณะรวมหมู่ที่มี การรับฟังและอาศัยความคิดเห็นของคนจานวนมากตามลาดับขั้นตอนของระบอบประชาธิปไตยแผนใหม่ที่ วางรากฐานกันมาตั้งแต่ยุคของประธานเหมา เจ๋อตุง หรือที่เรียกว่าระบอบประชาธิปไตยแบบรวมศูนย์ จุดแข็งด้านการบริหารจัดการของภาครัฐจึงเข้มแข็งและมีประสิทธิภาพสูงมาก เราคงสังเกตได้ว่าการปฏิรูปที่ประเทศประชาธิปไตยหลายประเทศกระทาไม่ได้ จีนกระทาได้ ในขณะที่การปฏิรูปที่ประเทศเผด็จการกระทาไม่สาเร็จ จีนกลับประสบความสาเร็จ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ความสาเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน
  • 4. 2สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต จีนเป็นประเทศที่มีประชากรมากมายและเคยมีปัญหาด้านการขาดแคลนอาหารอย่างรุนแรง รัฐบาล จีนก็เคยผ่านประสบการณ์นั้นโดยยังรักษาความมั่นคงเอาไว้ได้ โดยเฉพาะยิ่งในช่วงปี พ.ศ.2501-2505 ซึ่งจีน ต้องเผชิญกับภาวะอดอยากครั้งใหญ่และต้องสูญเสียชีวิตประชาชนไปเป็นจานวนมหาศาล ยุทธศาสตร์ของจีนได้ผ่านเส้นทางที่เต็มไปด้วยประสบการณ์และการต่อสู้ทางความคิดในหมู่ผู้นาจีน มีการปรับเปลี่ยนไปตามสภาพการณ์ของปัญหาและการเมืองภายในพรรคคอมมิวนิสต์จีน แต่ก็สะท้อนถึง ความสาเร็จมากกว่าความล้มเหลว ผู้นาของจีนอาศัยลัทธิมาร์กซ์-เลนินเป็นพื้นฐานในการกาหนดยุทธศาสตร์ เช่นเดียวกับสหภาพโซ เวียต แต่มีความราบรื่นมากกว่า รวมทั้งมีการถ่ายเทอานาจการนาที่ราบรื่นกว่าด้วย ตั้งแต่เริ่มต้น ผู้นาจีนมิได้อาศัยแนวคิดทางเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเสรี เหมา เจ๋อตุง ในสมัยหนุ่มๆ เคยศึกษางานของอดัม สมิธ บิดาของวิชาเศรษฐศาสตร์ แต่ต่อมาศรัทธาในลัทธิมาร์กซ์-เลนิน ผู้นาจีนในระยะต้นก็ศึกษาลัทธิมาร์กซ์จากสหภาพโซเวียต การวางแผนเศรษฐกิจก่อนการเปิด ประเทศจึงอาศัยลัทธิมาร์กซ์ล้วนๆ จนกระทั่งเปิดประเทศระยะหนึ่งแล้วจึงอาศัยแนวคิดทุนนิยมและ เศรษฐศาสตร์ตะวันตกมากขึ้นเป็นลาดับ ทฤษฎีของมาร์กซ์เป็นทฤษฎีฝ่ายวัตถุนิยมที่มองการพัฒนาของเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง สัมพันธ์กัน โดยที่มีรากฐานอยู่ที่พลังทางการผลิตและความสัมพันธ์ทางการผลิต พลังทางการผลิตเป็นความสามารถที่มนุษย์หรือแรงงานจะสร้างผลผลิตเพื่อเลี้ยงดูสังคม ความสัมพันธ์ทางการผลิตเป็นความสัมพันธ์ของมนุษย์ที่อยู่ภายใต้กระบวนการผลิต เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างแรงงานกับนายทุนในสังคมทุนนิยม และความสัมพันธ์ระหว่างชาวนากับเจ้าของที่ดินใน สังคมศักดินา เป็นต้น การมองเช่นนี้ก็มิได้แตกต่างจากเศรษฐศาสตร์ทุนนิยมเสรี แต่ความแตกต่างอยู่ที่การมองเห็นความ ขัดแย้งภายในความสัมพันธ์ทางการผลิตที่มักมีลักษณะของการเป็นปฏิปักษ์ต่อกัน ความขัดแย้งระหว่างทุนและแรงงานเกี่ยวกับการขูดรีดส่วนเกินที่สังคมผลิตได้ก็คือหัวใจ ของเศรษฐกิจการเมืองแบบมาร์กซ์ ภายใต้การกาหนดยุทธศาสตร์ของจีน ผู้นาจีนได้ผ่านการต่อสู้และการแลกเปลี่ยนทางความคิด ระหว่างกันว่าจะให้น้าหนักกับพลังการผลิต หรือการแก้ไขความสัมพันธ์ทางการผลิต เป็นหลักหรือรอง อย่างไร
  • 5. 3สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ผู้นาจีนในยุคปิดประเทศมีประธานเหมา เจ๋อตุง เป็นผู้นาสูงสุด โดยทั่วไป ประธานเหมามีความคิด อนุรักษ์ ในขณะที่ผู้นาที่มีความคิดก้าวหน้าได้แก่หลิว เส้าฉี และโจว เอินไหล สาหรับการเมืองภายในพรรคยุคนั้น ฝ่ายหลักคือฝ่ายที่นิยมแนวคิดดั้งเดิมของเหมา เจ๋อตุง ซึ่งเน้นความ เท่าเทียมกันในหมู่ประชาชน อีกฝ่ายเป็นฝ่ายที่นาโดยหลิว เส้าฉี ซึ่งเคยถูกวางตาแหน่งเป็นผู้สืบทอดอานาจต่อ จากเหมาและเน้นความสามารถในการที่ภาคเศรษฐกิจและการเกษตรในการดูแลประชากร หลิว เส้าฉี เป็นผู้ที่มักต้องรับผิดชอบงานฟื้นฟูเศรษฐกิจ แต่ก็ต้องประสบกับจุดจบอย่างไร้เกียรติในช่วง ปฏิวัติวัฒนธรรมที่นางเจียงชิง ภริยาของเหมา เจ๋อตุง มีอิทธิพล ในช่วงที่จีนเห็นความล้มเหลวของการปฏิวัติวัฒนธรรมและฝ่ายของหลิว เส้าฉี ซึ่งมีเติ้ง เสี่ยวผิง เป็น ผู้นาได้กลับมาสืบทอดอานาจต่อจากเหมา เจ๋อตุง การเน้นเรื่องพลังการผลิตจึงเริ่มเดินเครื่องในฐานะที่เป็น ยุทธศาสตร์หลักของชาติ ช่วงนั้นเป็นช่วงที่เศรษฐกิจโลกเผชิญกับปัญหาค่าครองชีพและวิกฤตการณ์น้ามันโลก การเปิดประเทศ ของจีนพร้อมกับยุทธศาสตร์ใหม่จึงสอดคล้องกัน เพราะจีนมีค่าจ้างแรงงานต่ามาก ทาให้สามารถผลิตสินค้าใน ราคาที่ถูกกว่าประเทศอื่น การกระจายสินค้าไปยังภูมิภาคต่างๆ ภายในประเทศจีนก็มีประสิทธิภาพมากขึ้น แนวทางยุทธศาสตร์ใหม่ที่เรียกว่า นโยบาย 4 ทันสมัย เป็นการปฏิรูปสู่เศรษฐกิจโลกและการยกระดับ ความสามารถในการผลิตของสังคม การปฏิรูปทั้ง 4 ด้านนี้ได้แก่ ด้านการเกษตร ด้านอุตสาหกรรม ด้านความมั่นคงแห่งชาติ และด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากเดิมที่มุ่งสร้างความมั่นคงแห่งชาติและความยึดมั่นในอุดมการณ์แบบมาร์กซ์-เล นิน-เหมา เจ๋อตุง จึงขาดความไม่สนใจในการปฏิรูปเศรษฐกิจให้เข้มแข็งและเคลื่อนไปข้างหน้าได้ดี ฝ่ายที่นิยมเหมาเชื่อความเห็นที่มีมาแต่เดิมของเหมาว่าความยิ่งใหญ่ของชาติมาจากการมีจานวน ประชากรมากๆ ฝ่ายหลิว เส้าฉี-เติ้ง เสี่ยวผิง เห็นความผิดพลาดของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและภาวะอด อยากครั้งใหญ่ และเมื่อมีอานาจก็เห็นว่าจีนต้องอาศัยยุทธศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงไปที่เหมาะสมกับความเป็น ประเทศที่มีประชากรมากและมีพลังการผลิตต่า จีนยุคใหม่หันมาจากัดจานวนประชากร ยอมให้มีการเคลื่อนย้ายแรงงาน มีการลดขนาดภาครัฐ และได้ เติมส่วนผสมของระบบทุนนิยมและองค์ความรู้ใหม่ของตะวันตกเข้าสู่สังคม เพื่อเปลี่ยนโฉมประเทศเสียใหม่ เติ้ง เสี่ยวผิง เห็นว่าจีนต้องยอมให้เมืองต่างๆ มีการพัฒนาที่เหลื่อมล้ากันได้ การพัฒนาเขตเศรษฐกิจ พิเศษชายฝั่งทะเลซึ่งมีทาเลเหมาะแก่การเปิดสู่เศรษฐกิจโลกจึงเกิดขึ้น การปฏิรูปอย่างต่อเนื่องในทิศทางเหล่านี้ทาให้จีนได้เข้าเป็นสมาชิกขององค์การการค้าโลกในปี พ.ศ.2544 และก็ได้รับประโยชน์มากมายอย่างยิ่ง
  • 6. 4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เศรษฐกิจจีนกลายเป็นปัจจัยที่กาหนดระดับค่าจ้างและราคาของโลก ซึ่งส่งผลให้ทั่วโลกมีอัตราเงินเฟ้อ และอัตราการเพิ่มของค่าจ้างที่ต่าตามไปด้วย เมื่อเข้าใกล้ปลายทศวรรษ 2000 ยุทธศาสตร์ของเติ้ง เสี่ยวผิง ถูกท้าทายจากวิกฤตการณ์เศรษฐกิจโลก ที่ระบาดออกจากสหรัฐไปสู่ยุโรปและส่งผลกระทบถึงจีนและเอเชีย ผู้นาจีนยังสืบสานแนวทางต่อมาจากเติ้ง เสี่ยวผิง ผ่านเจียง เจ๋อหมิน ในทางนโยบาย รัฐบาลได้หันมาเน้นนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจระยะสั้นมากขึ้น โดยมีการลงทุนของ ภาครัฐอย่างมากมายซึ่งได้ส่งผลให้หนี้สาธารณะของจีนเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว จากนั้นก็ต้องหันมาส่งเสริมการบริโภคมากขึ้นเพื่อชดเชยการส่งออกที่ชะลอตัวซึ่งเป็นนโยบายที่ สอดคล้องกับแนวทางเคนส์ของชาติตะวันตก หนี้ภาคเอกชนและรัฐวิสาหกิจกลับกลายมาเป็นความเสี่ยงใหม่และทาให้เศรษฐกิจในระยะยาวไม่ สามารถขยายตัวได้สูงเหมือนเดิม จีนกลับเผชิญปัญหาใหม่ๆ ทั้งการปิดล้อมจากสหรัฐและภาวะหดตัวของภาคการผลิตของโลก อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบัน จีนก็สามารถปรับยุทธศาสตร์ใหม่ได้อีกครั้ง เมื่อสี จิ้นผิง เดินยุทธศาสตร์ One Belt-One Road พร้อมๆ ไปกับการกระชับอานาจภายในพรรคให้ได้อย่างที่เติ้ง เสี่ยวผิง เคยมี ยุทธศาสตร์นี้อาจต้องใช้เวลาสักระยะที่จะชี้ให้เห็นว่ายุทธศาสตร์ของสี จิ้นผิง จะประสบความสาเร็จ ในทางปฏิบัติหรือไม่ ทว่า ยุทธศาสตร์นี้ก็ได้ช่วยจีนกาหนดกรอบให้ประเทศต่างๆ เดินหน้าด้านโครงสร้างพื้นฐานที่เป็น ประโยชน์ต่อจีน โดยอาศัยเงินกู้และการติดตามโครงการอย่างใกล้ชิดของทางการจีน ในขณะที่จีนเองยังมีเข็มมุ่งอื่นที่ช่วยสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจของชาติตน รวมทั้งการผ่อนคลาย ความเหลื่อมล้าที่เป็นปัญหาด้านความสัมพันธ์ทางการผลิตด้วย ไม่ว่าจะเป็นนโยบายการค้าเสรี เทคโนโลยีสมองกล และเทคโนโลยีพลังงานอันเป็นการเติม แนวคิดที่สืบทอดจากปรมาจารย์ทางเศรษฐศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่อย่างอดัม สมิธ และ โจเซฟ ชุมปีเตอร์ เข้า ไปสู่วิธีคิดและกลไกการทางานของระบบทุนนิยมโดยรัฐนั่นเอง ***