SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
แปลและเรียบเรียงจาก The Steve Wiggins and Sharada Keats.2015 “The rising cost of a
healthy diet.” The Overseas Development Institute.
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
1. บทนา
สถาบัน The Overseas Development Institute (ODI) ได้เผยแพร่งานวิจัยชิ้นหนึ่งในชื่อ Future
Diets เมื่อปี 2014 โดย Keats และ Wiggins ได้อธิบายการเพิ่มจานวนของผู้ที่มีน้าหนักเกินมาตรฐานและ
เป็นโรคอ้วนทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศกาลังพัฒนา(ดูแผนภาพที่ 1) ซึ่งยังไม่มีประเทศใดที่เคยทดลอง
ใช้นโยบายที่มีประสิทธิภาพในการต่อสู้กับโรคอ้วนมาก่อน โดยสาเหตุของโรคอ้วนนั้นมีหลายสาเหตุ เช่น
การเพิ่มขึ้นของรายได้ การกลายเป็นเมืองและการเพิ่มขึ้นของอาชีพที่นั่งทางานอยู่กับที่ ผลกระทบจากสื่อ
และโฆษณา และการเปลี่ยนแปลงของราคาอาหารแต่ละชนิด และการเปลี่ยนแปลงของราคาอาหารนี้ที่เป็น
จุดสนใจของงานวิจัยฉบับนี้
1
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
แปลและเรียบเรียงจาก The rising
cost of a healthy diet.
ทาอย่างไรให้อาหารเพื่อสุขภาพราคาถูกลง?
อ้างอิงรูปภาพ http://i.huffpost.com/gen/2148542/images/o-HEALTHY-FOOD-VS-JUNK-FOOD-facebook.jpg
แผนภาพที่ 1 แสดงการเพิ่มขึ้นของจานวนผู้ที่มีน้าหนักเกินและเป็นโรคอ้วน ช่วงปี 1980-2008
ที่มา: Steve Wiggins and Sharada Keats.2015 “The rising cost of a healthy diet.” The Overseas Development Institute.
ที่ผ่านมา ยังไม่เคยมีงานวิจัยใดที่เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของราคาอาหารในแต่ละกลุ่ม โดย
ศึกษาจากตัวอย่างประเทศที่กาลังพัฒนาและประเทศเศรษฐกิจใหม่ งานวิจัยชิ้นนี้จะมุ่งความสนใจไปที่
ประเทศบราซิล จีน และเม็กซิโก ซึ่งเป็นประเทศรายได้ปานกลางระดับสูง (upper-middle-income) และ
ประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งในปี 1990 ยังเป็นประเทศกาลังพัฒนาอยู่ เหตุผลที่เลือกประเทศเหล่านี้ เนื่องจาก
เป็นประเทศเศรษฐกิจใหม่ที่โตเร็วกว่าประเทศอุตสาหกรรมเก่า และมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในด้าน
อาหารและราคาของอาหารมาตั้งแต่ปี 1990
แผนภาพที่ 2 แสดงข้อมูลตัวอย่างอาหารจากแต่ละกลุ่ม
เพื่อให้สามารถตรวจสอบตัวอย่างของอาหารแต่ละประเภทที่วางขายอยู่ในร้านค้าปลีกได้
ที่มา: แปลจาก Steve Wiggins and Sharada Keats.2015 “The rising cost of a healthy diet.” The Overseas Development Institute.
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
2
วัตถุดิบ ธัญญาพืช, พืชหัว, ถั่ว
ผักและผลไม้ ผักและผลไม้
เนื้อสัตว์ ปลา และ
ผลิตภัณฑ์จากนม
ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ที่ผ่านการแปรรูป
น้อยที่สุด และผลิตภัณฑ์จากนม
น้ามัน ไขมัน และน้าตาล น้ามันและไขมันจากพืช, ไขมันสัตว์,
น้าตาล
 ภาพรวมของราคาอาหารเพื่อสุขภาพ
จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า อาหารเพื่อสุขภาพจะแพงกว่าอาหารที่ไม่ค่อยมีประโยชน์ ซึ่ง
เริ่มมีแนวโน้มแบบนี้มาตั้งแต่ 30-40 ปีแล้ว ถึงแม้ว่าอาหารจาพวกผักและผลไม้จะสามารถหาซื้อได้ง่าย
และมีขายตลอดปีก็ยังมีราคาที่แพงกว่าเมื่อเทียบกับอาหารชนิดอื่น เนื่องจากคนให้ค่ากับผักและผลไม้
มากนั่นเอง และพฤติกรรมการบริโภคอาหารส่วนใหญ่จะเปลี่ยนตามการเปลี่ยนแปลงของราคาอาหาร
ซึ่งกลุ่มผู้บริโภคที่ได้รับผลกระทบจะเป็นกลุ่มผู้มีรายได้น้อย
หากเราจะใช้มาตรการภาษีกับสินค้าที่ไม่มีประโยชน์ต้องคานึงถึงผลกระทบต่อราคาสินค้าชนิด
อื่น เช่น การเก็บภาษีอาหารที่มีเกลือและไขมันเป็นส่วนประกอบอาจส่งผลให้ปริมาณการบริโภคอาหาร
ชนิดอื่นลดลงด้วย ดังนั้น รัฐควรที่จะสนับสนุนราคาอาหารเพื่อสุขภาพเพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อราคา
สินค้าชนิดอื่น
อีกทั้งยังพบว่าเมื่อราคาอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพสูงขึ้น ดัชนีมวลกาย(BMI)ของคนจะลดลง
โดยเฉพาะในกลุ่มผู้มีรายได้น้อย รวมถึงพบว่างานวิจัยส่วนใหญ่จะศึกษาผลกระทบของภาษีอาหารที่
ต่ามาก เพียง 5% หรือต่ากว่านั้น ซึ่งอัตราดังกล่าวจะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงการบริโภคเพียง
เล็กน้อยเท่านั้น ทาให้ได้คาตอบที่ไม่ชัดเจนนักเกี่ยวกับผลกระทบของภาษีอาหารที่มีต่อการ
เปลี่ยนแปลงการบริโภค
 ราคาอาหารในประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่
นอกจากนี้ ยังมีงานวิจัยบางชิ้นที่ศึกษาใน 4 ประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ (บราซิล จีน เม็กซิโกและ
เกาหลีใต้) โดยเฉพาะ พบว่าในละตินอเมริกามีการบริโภคอาหารแปรรูปและเครื่องดื่มที่มีน้าตาลเป็น
ส่วนผสมเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งเป็นผลมาจากการทาตลาดอย่างหนักของบริษัทยักษ์ใหญ่ที่ผลิต
อาหารแปรรูปและน้าดื่มเหล่านี้จานวนมาก อีกทั้งยังมีงานวิจัยที่บอกว่าการใช้มาตรการภาษีนั้นมีความ
เป็นไปได้ในการลดการบริโภคอาหารแปรรูปและเครื่องดื่มที่มีน้าตาลผสม ซึ่งในเม็กซิโกได้บังคับใช้การ
เก็บภาษีอาหารที่ให้พลังงานสูงและเครื่องดื่มที่มีน้าตาลผสมแล้วเมื่อเดือนมกราคม ค.ศ.2014 ซึ่งก็ต้อง
ติดตามต่อไปว่าจะมีผลอย่างไรบ้าง
3
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
3
โดยสรุป มีสองสิ่งที่เห็นได้อย่างชัดเจน ข้อแรกคือราคาผลไม้และผักได้เพิ่มขึ้นอย่างมากตั้งแต่ปี
1990 เป็นต้นมา โดยเฉลี่ยแล้วเพิ่มขึ้นปีละ 2-3% และเพิ่มขึ้นสูงถึง 55%-91% ในช่วงปี 1990-2012 ข้อที่
สองคือ อาหารแปรรูป 4 ใน 6 ชนิด ที่ถูกนามาประเมินนั้นพบว่าราคาต่าลงเรื่อยๆ ตั้งแต่ปี 1990 ขณะที่
อาหารชนิดอื่นๆส่วนใหญ่ราคาจะเพิ่มขึ้นปีละ 1-2% ยกเว้นราคาข้าวในเกาหลีใต้และไก่ในเม็กซิโกที่มีราคา
ต่าลง ดังแผนภาพที่ 3
แผนภาพที่ 3 แสดงการประเมินการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าตั้งแต่ปี 1990
ที่มา: Steve Wiggins and Sharada Keats.2015 “The rising cost of a healthy diet.” The Overseas Development Institute.
2. ข้อสังเกตในงานวิจัย
ข้อสังเกตในงานวิจัย คือ ทาไมผักและผลไม้ถึงกลายมาเป็นสินค้าที่มีราคาสูงเมื่อเทียบกับสินค้าชนิด
อื่น? จากการพิจารณา ปัจจุบันมีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในการทาเกษตร ซึ่งจะทาให้ต้นทุนการผลิต
ลดลง และมีความก้าวหน้าทางการขนส่งอาหารทั้งแบบขายส่งและขายปลีก จึงคาดการณ์ว่าราคาผลผลิต
ทางการเกษตรจะต้องมีราคาลดลง แต่มันกลับไม่เป็นเช่นนั้น
ดังนั้น สมมติฐานที่น่าจะเป็นไปได้ คือ การผลิตพืชสวนอาจมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น ซึ่งแท้จริงแล้วหาก
ผลิตในปริมาณที่ต่า ต้นทุนในการผลิตจะอยู่ในปริมาณที่ต่า แต่หากปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนถึง
จุดหนึ่ง ต้นทุนการผลิตจะเพิ่มสูงขึ้นจนบานปลาย นอกจากนี้อาจเป็นไปได้ว่าการเปลี่ยนแปลงของราคา
เกี่ยวข้องกับคุณภาพของสินค้า หรืออาจจะไม่ได้เกี่ยวข้องกับราคาแต่อย่างใด แต่ขึ้นอยู่กับอุปสงค์ของ
ผู้บริโภคที่หันมาสนใจสุขภาพมากขึ้นโดยการบริโภคผักและผลไม้ที่มากขึ้นตาม
4
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
4
อีกข้อสังเกตคือ ทาไมอาหารแปรรูปถึงมีราคาถูก? สิ่งหนึ่งที่เป็นไปได้คืออาหารแปรรูปนั้นไม่ได้ใช้
วัตถุดิบจากในฟาร์ม แต่ผลิตจากส่วนผสมที่ค่อนข้างถูกในโรงงานขนาดใหญ่ ซึ่งความก้าวหน้าทางการ
ผลิตและการปรุงแต่งกลิ่นสีในโรงงานอาจช่วยลดต้นทุนต่อหน่วยในโรงงานได้ แต่ไม่ใช่อาหารแปรรูปทุก
ประเภทจะมีราคาถูกลง เพราะว่าเมื่อแบ่งอาหารแปรรูปเป็นกลุ่มย่อยๆ จะมีผลิตภัณฑ์บางกลุ่มที่มีแบรนด์
เป็นของตัวเอง มีเอกลักษณ์และขายในราคาพรีเมียม แข่งขันกับผลิตภัณฑ์ที่ราคาถูกและไม่มีแบรนด์
3. สรุป
จากการทบทวนวรรณกรรมแสดงให้เห็นว่า ราคาของสินค้ามีผลต่อการบริโภคโดยเฉพาะต่อกลุ่มผู้มี
รายได้น้อย ด้วยเหตุนี้ จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่จะเห็นงานวิจัยหลายชิ้นที่ศึกษาถึงความเป็นไปได้ของ
มาตรการภาษีเพื่อลดการบริโภคผลิตภัณฑ์จาพวกที่ไม่ค่อยมีประโยชน์ต่อสุขภาพ หรืออาจจะเป็น
มาตรการให้เงินอุดหนุนในผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพเพื่อเพิ่มการบริโภค การศึกษาส่วนใหญ่แสดงให้เห็นว่า
การจัดเก็บภาษีนั้นอาจจะช่วยลดการบริโภคลงได้ แต่ก็อาจมีผลกระทบ 2 ประการ ดังนี้
1) ภาษีนี้อาจจะมีผลกระทบต่อราคาสินค้าชนิดอื่น กล่าวคือ เมื่อเก็บภาษีสินค้าชนิดหนึ่งทาให้
อาหารมีราคาสูงขึ้น ไม่เพียงแต่ทาให้การบริโภคอาหารชนิดนั้นน้อยลงแต่การบริโภคอาหารชนิดอื่นที่มัก
บริโภคคู่กันก็จะลดลงตามด้วย เช่น เนยกับขนมปัง แต่หากอาหารที่บริโภคร่วมกันมีชนิดหนึ่งดีต่อสุขภาพ
และชนิดหนึ่งไม่ดี เมื่อมีมาตรการขึ้นภาษีอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพอาจส่งผลต่ออาหารที่กินคู่กัน ซึ่งจะ
กลายเป็นว่าการที่ใช้มาตรการภาษีทาให้คนทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพลดลง ในทางทฤษฎี ปัญหานี้
สามารถที่จะจัดการได้โดยการให้เงินสมทบแก่อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพเพื่อชดเชยผลกระทบต่อราคา
สินค้าชนิดดังกล่าว แต่ในทางปฏิบัติ คือศึกษาว่าอาหารชนิดใดที่จะอยู่ในกลุ่มที่ได้รับผลกระทบจาก
มาตรการภาษี แล้วกาหนดขอบเขตให้ชัดเจน จากนั้นกาหนดระดับเงินสมทบให้เหมาะสมที่สุด
2) อัตราภาษีที่ต่าจะสร้างผลเพียงน้อยนิด หากจะให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการบริโภคจาเป็นต้องใช้
อัตราภาษีในระดับที่ดูสูงจนไม่เหมาะสมและไม่เป็นธรรม กล่าวคือต้องสูงกว่าอัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งใน
อังกฤษอยู่ที่ 20% ซึ่งคาถามในการออกนโยบายนั้นไม่ควรถามว่า ภาษีที่เก็บอาหารที่ไม่มีประโยชน์
จาเป็นต้องสูงขนาดไหนถึงจะทาให้การบริโภคลดลงให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม แต่ควรจะถามว่า เราจะได้
ประโยชน์แค่ไหนจากการจัดเก็บภาษีอาหารที่ไม่มีประโยชน์ คาตอบสาหรับคาถามแรกน่าจะเป็น ตัวเลขที่
สูงมากพอให้หลุดจากการเป็นรัฐบาลสมัยต่อไปได้ แต่คาตอบสาหรับคาถามที่สอง ก็คงจะน่าตกใจพอๆกับ
ที่ Nnoaham et al, (2009) เคยบอกไว้ คือ สาหรับอังกฤษ มาตรการภาษีและเงินอุดหนุนในอัตราที่น้อย
กว่า 20% สามารถช่วยชีวิตคนที่เสียชีวิตก่อนวัยอันควรได้ไม่น้อยกว่า 6,400 คนต่อปี จากโรคหลอดเลือด
หัวใจและมะเร็ง ซึ่งเป็นการหักล้างกับที่มีคนออกมาโต้แย้งว่าการเก็บภาษีในอัตราที่ต่านั้นไม่ค่อยได้ผล
5
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
5
ในกรณีที่จะใช้มาตรการเก็บภาษีและให้เงินอุดหนุน ควรเก็บภาษีกับอาหารประเภทที่ให้พลังงานสูง
ส่วนผักและผลไม้ที่มีราคาสูงและราคาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆเมื่อเทียบกับอาหารประเภทอื่น ก็ควรที่จะได้รับเงิน
อุดหนุน
หลายเหตุการณ์ในเม็กซิโกชี้ให้เห็นว่าประเทศเศรษฐกิจใหม่หลายๆประเทศก็สามารถนาหน้า
ประเทศรายได้สูงในเรื่องนี้ได้ หลักฐานที่แสดงในงานวิจัยชิ้นนี้ชี้ให้เห็นว่ามาตรการภาษีดังกล่าวในเม็กซิโก
ประสบผลสาเร็จดีมาก จึงเป็นบทเรียนที่มีค่าสาหรับประเทศกาลังพัฒนาและประเทศเศรษฐกิจใหม่อื่นๆ
แผนภาพที่ 4
ที่มา: Steve Wiggins and Sharada Keats.2015 “The rising cost of a healthy diet.” The Overseas Development Institute.
เมื่อเรามองกลับมาที่ประเทศไทย สถานการณ์อาจไม่ร้ายแรงเท่า 4 ประเทศดังกล่าวในงานวิจัย แต่ก็
มีแนวโน้มเดียวกัน กล่าวคือ ร้านอาหารฟาสต์ฟู้ดในประเทศไทยนั้นมีเพิ่มมากขึ้น และราคาถูกลง อีกทั้งมี
การจัดโปรโมชั่นมากมายเพื่อดึงดูดลูกค้า ในขณะที่ราคาผัก ผลไม้ และอาหารเพื่อสุขภาพต่างๆ มีราคา
เพิ่มสูงขึ้น โดยกลุ่มผู้บริโภคที่น่าเป็นห่วงว่าจะได้รับผลกระทบนี้ก็คือกลุ่มผู้มีรายได้น้อย กลุ่มเด็กนักเรียน
และวัยรุ่นที่ยังไม่มีรายได้ รวมถึงกลุ่มพนักงานออฟฟิศที่ต้องการความรวดเร็วในการรับประทานอาหาร
รัฐบาลจึงควรเตรียมรับมือกับปัญหาดังกล่าวและไม่ควรนิ่งเฉยกับการเปลี่ยนแปลงที่ค่อยๆเกิดขึ้นใน
สังคมไทย โดยเฉพาะสังคมเมืองที่มีคนอ้วนมากขึ้นและเป็นโรคซึ่งเกี่ยวเนื่องกับอาหารที่ไม่ก่อประโยชน์แก่
ร่างกาย
6
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
6
7
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
แปลและเรียบเรียง: น.ส.ปลายฟ้า บุนนาค
ปีที่พิมพ์: มีนาคม 2559
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
7

More Related Content

Similar to ทำอย่างไรให้อาหารเพื่อสุขภาพราคาถูกลง?

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Vida Yosita
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยVorawut Wongumpornpinit
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...Thira Woratanarat
 
อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5Utai Sukviwatsirikul
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)Tophit Sampootong
 
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วนแนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วนUtai Sukviwatsirikul
 
อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3Utai Sukviwatsirikul
 
อาหาร fastfood การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อาหาร fastfood  การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อาหาร fastfood  การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อาหาร fastfood การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง Kkae Rujira
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารThira Woratanarat
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง Tuang Thidarat Apinya
 
นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014
นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014
นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014Chuchai Sornchumni
 

Similar to ทำอย่างไรให้อาหารเพื่อสุขภาพราคาถูกลง? (18)

NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
 
อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5
 
Plant hor 7_77_60
Plant hor 7_77_60Plant hor 7_77_60
Plant hor 7_77_60
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
 
National Farm to school
National Farm to schoolNational Farm to school
National Farm to school
 
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วนแนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
 
Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
 
อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3
 
Asia2030 mam
Asia2030 mamAsia2030 mam
Asia2030 mam
 
อาหาร fastfood การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อาหาร fastfood  การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อาหาร fastfood  การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อาหาร fastfood การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
 
นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014
นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014
นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

ทำอย่างไรให้อาหารเพื่อสุขภาพราคาถูกลง?

  • 1. แปลและเรียบเรียงจาก The Steve Wiggins and Sharada Keats.2015 “The rising cost of a healthy diet.” The Overseas Development Institute. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 1. บทนา สถาบัน The Overseas Development Institute (ODI) ได้เผยแพร่งานวิจัยชิ้นหนึ่งในชื่อ Future Diets เมื่อปี 2014 โดย Keats และ Wiggins ได้อธิบายการเพิ่มจานวนของผู้ที่มีน้าหนักเกินมาตรฐานและ เป็นโรคอ้วนทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศกาลังพัฒนา(ดูแผนภาพที่ 1) ซึ่งยังไม่มีประเทศใดที่เคยทดลอง ใช้นโยบายที่มีประสิทธิภาพในการต่อสู้กับโรคอ้วนมาก่อน โดยสาเหตุของโรคอ้วนนั้นมีหลายสาเหตุ เช่น การเพิ่มขึ้นของรายได้ การกลายเป็นเมืองและการเพิ่มขึ้นของอาชีพที่นั่งทางานอยู่กับที่ ผลกระทบจากสื่อ และโฆษณา และการเปลี่ยนแปลงของราคาอาหารแต่ละชนิด และการเปลี่ยนแปลงของราคาอาหารนี้ที่เป็น จุดสนใจของงานวิจัยฉบับนี้ 1 วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต แปลและเรียบเรียงจาก The rising cost of a healthy diet. ทาอย่างไรให้อาหารเพื่อสุขภาพราคาถูกลง? อ้างอิงรูปภาพ http://i.huffpost.com/gen/2148542/images/o-HEALTHY-FOOD-VS-JUNK-FOOD-facebook.jpg
  • 2. แผนภาพที่ 1 แสดงการเพิ่มขึ้นของจานวนผู้ที่มีน้าหนักเกินและเป็นโรคอ้วน ช่วงปี 1980-2008 ที่มา: Steve Wiggins and Sharada Keats.2015 “The rising cost of a healthy diet.” The Overseas Development Institute. ที่ผ่านมา ยังไม่เคยมีงานวิจัยใดที่เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของราคาอาหารในแต่ละกลุ่ม โดย ศึกษาจากตัวอย่างประเทศที่กาลังพัฒนาและประเทศเศรษฐกิจใหม่ งานวิจัยชิ้นนี้จะมุ่งความสนใจไปที่ ประเทศบราซิล จีน และเม็กซิโก ซึ่งเป็นประเทศรายได้ปานกลางระดับสูง (upper-middle-income) และ ประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งในปี 1990 ยังเป็นประเทศกาลังพัฒนาอยู่ เหตุผลที่เลือกประเทศเหล่านี้ เนื่องจาก เป็นประเทศเศรษฐกิจใหม่ที่โตเร็วกว่าประเทศอุตสาหกรรมเก่า และมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในด้าน อาหารและราคาของอาหารมาตั้งแต่ปี 1990 แผนภาพที่ 2 แสดงข้อมูลตัวอย่างอาหารจากแต่ละกลุ่ม เพื่อให้สามารถตรวจสอบตัวอย่างของอาหารแต่ละประเภทที่วางขายอยู่ในร้านค้าปลีกได้ ที่มา: แปลจาก Steve Wiggins and Sharada Keats.2015 “The rising cost of a healthy diet.” The Overseas Development Institute. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 2 วัตถุดิบ ธัญญาพืช, พืชหัว, ถั่ว ผักและผลไม้ ผักและผลไม้ เนื้อสัตว์ ปลา และ ผลิตภัณฑ์จากนม ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ที่ผ่านการแปรรูป น้อยที่สุด และผลิตภัณฑ์จากนม น้ามัน ไขมัน และน้าตาล น้ามันและไขมันจากพืช, ไขมันสัตว์, น้าตาล
  • 3.  ภาพรวมของราคาอาหารเพื่อสุขภาพ จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า อาหารเพื่อสุขภาพจะแพงกว่าอาหารที่ไม่ค่อยมีประโยชน์ ซึ่ง เริ่มมีแนวโน้มแบบนี้มาตั้งแต่ 30-40 ปีแล้ว ถึงแม้ว่าอาหารจาพวกผักและผลไม้จะสามารถหาซื้อได้ง่าย และมีขายตลอดปีก็ยังมีราคาที่แพงกว่าเมื่อเทียบกับอาหารชนิดอื่น เนื่องจากคนให้ค่ากับผักและผลไม้ มากนั่นเอง และพฤติกรรมการบริโภคอาหารส่วนใหญ่จะเปลี่ยนตามการเปลี่ยนแปลงของราคาอาหาร ซึ่งกลุ่มผู้บริโภคที่ได้รับผลกระทบจะเป็นกลุ่มผู้มีรายได้น้อย หากเราจะใช้มาตรการภาษีกับสินค้าที่ไม่มีประโยชน์ต้องคานึงถึงผลกระทบต่อราคาสินค้าชนิด อื่น เช่น การเก็บภาษีอาหารที่มีเกลือและไขมันเป็นส่วนประกอบอาจส่งผลให้ปริมาณการบริโภคอาหาร ชนิดอื่นลดลงด้วย ดังนั้น รัฐควรที่จะสนับสนุนราคาอาหารเพื่อสุขภาพเพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อราคา สินค้าชนิดอื่น อีกทั้งยังพบว่าเมื่อราคาอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพสูงขึ้น ดัชนีมวลกาย(BMI)ของคนจะลดลง โดยเฉพาะในกลุ่มผู้มีรายได้น้อย รวมถึงพบว่างานวิจัยส่วนใหญ่จะศึกษาผลกระทบของภาษีอาหารที่ ต่ามาก เพียง 5% หรือต่ากว่านั้น ซึ่งอัตราดังกล่าวจะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงการบริโภคเพียง เล็กน้อยเท่านั้น ทาให้ได้คาตอบที่ไม่ชัดเจนนักเกี่ยวกับผลกระทบของภาษีอาหารที่มีต่อการ เปลี่ยนแปลงการบริโภค  ราคาอาหารในประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ นอกจากนี้ ยังมีงานวิจัยบางชิ้นที่ศึกษาใน 4 ประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ (บราซิล จีน เม็กซิโกและ เกาหลีใต้) โดยเฉพาะ พบว่าในละตินอเมริกามีการบริโภคอาหารแปรรูปและเครื่องดื่มที่มีน้าตาลเป็น ส่วนผสมเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งเป็นผลมาจากการทาตลาดอย่างหนักของบริษัทยักษ์ใหญ่ที่ผลิต อาหารแปรรูปและน้าดื่มเหล่านี้จานวนมาก อีกทั้งยังมีงานวิจัยที่บอกว่าการใช้มาตรการภาษีนั้นมีความ เป็นไปได้ในการลดการบริโภคอาหารแปรรูปและเครื่องดื่มที่มีน้าตาลผสม ซึ่งในเม็กซิโกได้บังคับใช้การ เก็บภาษีอาหารที่ให้พลังงานสูงและเครื่องดื่มที่มีน้าตาลผสมแล้วเมื่อเดือนมกราคม ค.ศ.2014 ซึ่งก็ต้อง ติดตามต่อไปว่าจะมีผลอย่างไรบ้าง 3 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 3
  • 4. โดยสรุป มีสองสิ่งที่เห็นได้อย่างชัดเจน ข้อแรกคือราคาผลไม้และผักได้เพิ่มขึ้นอย่างมากตั้งแต่ปี 1990 เป็นต้นมา โดยเฉลี่ยแล้วเพิ่มขึ้นปีละ 2-3% และเพิ่มขึ้นสูงถึง 55%-91% ในช่วงปี 1990-2012 ข้อที่ สองคือ อาหารแปรรูป 4 ใน 6 ชนิด ที่ถูกนามาประเมินนั้นพบว่าราคาต่าลงเรื่อยๆ ตั้งแต่ปี 1990 ขณะที่ อาหารชนิดอื่นๆส่วนใหญ่ราคาจะเพิ่มขึ้นปีละ 1-2% ยกเว้นราคาข้าวในเกาหลีใต้และไก่ในเม็กซิโกที่มีราคา ต่าลง ดังแผนภาพที่ 3 แผนภาพที่ 3 แสดงการประเมินการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าตั้งแต่ปี 1990 ที่มา: Steve Wiggins and Sharada Keats.2015 “The rising cost of a healthy diet.” The Overseas Development Institute. 2. ข้อสังเกตในงานวิจัย ข้อสังเกตในงานวิจัย คือ ทาไมผักและผลไม้ถึงกลายมาเป็นสินค้าที่มีราคาสูงเมื่อเทียบกับสินค้าชนิด อื่น? จากการพิจารณา ปัจจุบันมีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในการทาเกษตร ซึ่งจะทาให้ต้นทุนการผลิต ลดลง และมีความก้าวหน้าทางการขนส่งอาหารทั้งแบบขายส่งและขายปลีก จึงคาดการณ์ว่าราคาผลผลิต ทางการเกษตรจะต้องมีราคาลดลง แต่มันกลับไม่เป็นเช่นนั้น ดังนั้น สมมติฐานที่น่าจะเป็นไปได้ คือ การผลิตพืชสวนอาจมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น ซึ่งแท้จริงแล้วหาก ผลิตในปริมาณที่ต่า ต้นทุนในการผลิตจะอยู่ในปริมาณที่ต่า แต่หากปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนถึง จุดหนึ่ง ต้นทุนการผลิตจะเพิ่มสูงขึ้นจนบานปลาย นอกจากนี้อาจเป็นไปได้ว่าการเปลี่ยนแปลงของราคา เกี่ยวข้องกับคุณภาพของสินค้า หรืออาจจะไม่ได้เกี่ยวข้องกับราคาแต่อย่างใด แต่ขึ้นอยู่กับอุปสงค์ของ ผู้บริโภคที่หันมาสนใจสุขภาพมากขึ้นโดยการบริโภคผักและผลไม้ที่มากขึ้นตาม 4 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 4
  • 5. อีกข้อสังเกตคือ ทาไมอาหารแปรรูปถึงมีราคาถูก? สิ่งหนึ่งที่เป็นไปได้คืออาหารแปรรูปนั้นไม่ได้ใช้ วัตถุดิบจากในฟาร์ม แต่ผลิตจากส่วนผสมที่ค่อนข้างถูกในโรงงานขนาดใหญ่ ซึ่งความก้าวหน้าทางการ ผลิตและการปรุงแต่งกลิ่นสีในโรงงานอาจช่วยลดต้นทุนต่อหน่วยในโรงงานได้ แต่ไม่ใช่อาหารแปรรูปทุก ประเภทจะมีราคาถูกลง เพราะว่าเมื่อแบ่งอาหารแปรรูปเป็นกลุ่มย่อยๆ จะมีผลิตภัณฑ์บางกลุ่มที่มีแบรนด์ เป็นของตัวเอง มีเอกลักษณ์และขายในราคาพรีเมียม แข่งขันกับผลิตภัณฑ์ที่ราคาถูกและไม่มีแบรนด์ 3. สรุป จากการทบทวนวรรณกรรมแสดงให้เห็นว่า ราคาของสินค้ามีผลต่อการบริโภคโดยเฉพาะต่อกลุ่มผู้มี รายได้น้อย ด้วยเหตุนี้ จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่จะเห็นงานวิจัยหลายชิ้นที่ศึกษาถึงความเป็นไปได้ของ มาตรการภาษีเพื่อลดการบริโภคผลิตภัณฑ์จาพวกที่ไม่ค่อยมีประโยชน์ต่อสุขภาพ หรืออาจจะเป็น มาตรการให้เงินอุดหนุนในผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพเพื่อเพิ่มการบริโภค การศึกษาส่วนใหญ่แสดงให้เห็นว่า การจัดเก็บภาษีนั้นอาจจะช่วยลดการบริโภคลงได้ แต่ก็อาจมีผลกระทบ 2 ประการ ดังนี้ 1) ภาษีนี้อาจจะมีผลกระทบต่อราคาสินค้าชนิดอื่น กล่าวคือ เมื่อเก็บภาษีสินค้าชนิดหนึ่งทาให้ อาหารมีราคาสูงขึ้น ไม่เพียงแต่ทาให้การบริโภคอาหารชนิดนั้นน้อยลงแต่การบริโภคอาหารชนิดอื่นที่มัก บริโภคคู่กันก็จะลดลงตามด้วย เช่น เนยกับขนมปัง แต่หากอาหารที่บริโภคร่วมกันมีชนิดหนึ่งดีต่อสุขภาพ และชนิดหนึ่งไม่ดี เมื่อมีมาตรการขึ้นภาษีอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพอาจส่งผลต่ออาหารที่กินคู่กัน ซึ่งจะ กลายเป็นว่าการที่ใช้มาตรการภาษีทาให้คนทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพลดลง ในทางทฤษฎี ปัญหานี้ สามารถที่จะจัดการได้โดยการให้เงินสมทบแก่อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพเพื่อชดเชยผลกระทบต่อราคา สินค้าชนิดดังกล่าว แต่ในทางปฏิบัติ คือศึกษาว่าอาหารชนิดใดที่จะอยู่ในกลุ่มที่ได้รับผลกระทบจาก มาตรการภาษี แล้วกาหนดขอบเขตให้ชัดเจน จากนั้นกาหนดระดับเงินสมทบให้เหมาะสมที่สุด 2) อัตราภาษีที่ต่าจะสร้างผลเพียงน้อยนิด หากจะให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการบริโภคจาเป็นต้องใช้ อัตราภาษีในระดับที่ดูสูงจนไม่เหมาะสมและไม่เป็นธรรม กล่าวคือต้องสูงกว่าอัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งใน อังกฤษอยู่ที่ 20% ซึ่งคาถามในการออกนโยบายนั้นไม่ควรถามว่า ภาษีที่เก็บอาหารที่ไม่มีประโยชน์ จาเป็นต้องสูงขนาดไหนถึงจะทาให้การบริโภคลดลงให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม แต่ควรจะถามว่า เราจะได้ ประโยชน์แค่ไหนจากการจัดเก็บภาษีอาหารที่ไม่มีประโยชน์ คาตอบสาหรับคาถามแรกน่าจะเป็น ตัวเลขที่ สูงมากพอให้หลุดจากการเป็นรัฐบาลสมัยต่อไปได้ แต่คาตอบสาหรับคาถามที่สอง ก็คงจะน่าตกใจพอๆกับ ที่ Nnoaham et al, (2009) เคยบอกไว้ คือ สาหรับอังกฤษ มาตรการภาษีและเงินอุดหนุนในอัตราที่น้อย กว่า 20% สามารถช่วยชีวิตคนที่เสียชีวิตก่อนวัยอันควรได้ไม่น้อยกว่า 6,400 คนต่อปี จากโรคหลอดเลือด หัวใจและมะเร็ง ซึ่งเป็นการหักล้างกับที่มีคนออกมาโต้แย้งว่าการเก็บภาษีในอัตราที่ต่านั้นไม่ค่อยได้ผล 5 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 5
  • 6. ในกรณีที่จะใช้มาตรการเก็บภาษีและให้เงินอุดหนุน ควรเก็บภาษีกับอาหารประเภทที่ให้พลังงานสูง ส่วนผักและผลไม้ที่มีราคาสูงและราคาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆเมื่อเทียบกับอาหารประเภทอื่น ก็ควรที่จะได้รับเงิน อุดหนุน หลายเหตุการณ์ในเม็กซิโกชี้ให้เห็นว่าประเทศเศรษฐกิจใหม่หลายๆประเทศก็สามารถนาหน้า ประเทศรายได้สูงในเรื่องนี้ได้ หลักฐานที่แสดงในงานวิจัยชิ้นนี้ชี้ให้เห็นว่ามาตรการภาษีดังกล่าวในเม็กซิโก ประสบผลสาเร็จดีมาก จึงเป็นบทเรียนที่มีค่าสาหรับประเทศกาลังพัฒนาและประเทศเศรษฐกิจใหม่อื่นๆ แผนภาพที่ 4 ที่มา: Steve Wiggins and Sharada Keats.2015 “The rising cost of a healthy diet.” The Overseas Development Institute. เมื่อเรามองกลับมาที่ประเทศไทย สถานการณ์อาจไม่ร้ายแรงเท่า 4 ประเทศดังกล่าวในงานวิจัย แต่ก็ มีแนวโน้มเดียวกัน กล่าวคือ ร้านอาหารฟาสต์ฟู้ดในประเทศไทยนั้นมีเพิ่มมากขึ้น และราคาถูกลง อีกทั้งมี การจัดโปรโมชั่นมากมายเพื่อดึงดูดลูกค้า ในขณะที่ราคาผัก ผลไม้ และอาหารเพื่อสุขภาพต่างๆ มีราคา เพิ่มสูงขึ้น โดยกลุ่มผู้บริโภคที่น่าเป็นห่วงว่าจะได้รับผลกระทบนี้ก็คือกลุ่มผู้มีรายได้น้อย กลุ่มเด็กนักเรียน และวัยรุ่นที่ยังไม่มีรายได้ รวมถึงกลุ่มพนักงานออฟฟิศที่ต้องการความรวดเร็วในการรับประทานอาหาร รัฐบาลจึงควรเตรียมรับมือกับปัญหาดังกล่าวและไม่ควรนิ่งเฉยกับการเปลี่ยนแปลงที่ค่อยๆเกิดขึ้นใน สังคมไทย โดยเฉพาะสังคมเมืองที่มีคนอ้วนมากขึ้นและเป็นโรคซึ่งเกี่ยวเนื่องกับอาหารที่ไม่ก่อประโยชน์แก่ ร่างกาย 6 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 6
  • 7. 7 ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล แปลและเรียบเรียง: น.ส.ปลายฟ้า บุนนาค ปีที่พิมพ์: มีนาคม 2559 สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ติดต่อ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 7