SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 10
Baixar para ler offline
ฉบับที่ 1 / 2559
Policy Brief
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ :
นัยต่อโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และไทย
ขบวนการรัฐอิสลาม
(Islamic State; IS)
อาจารย์อาทิตย์ ทองอินทร์
อาจารย์ประจาภาควิชาสังคมศาสตร์
วิทยาลัยนวัตกรรมส้งคม มหาวิทยาลัยรังสิต
ในโลกยุคปัจจุบัน กลุ่มก่อการร้ายกลายเป็นตัวแสดงที่มีบทบาทโดดเด่นขึ้นมาอย่างมากบนเวที
การเมืองระหว่างประเทศ และโลกในช่วงราวๆ 5 ปีที่ผ่านมา (ค.ศ.2010-2015) กลุ่มก่อการร้ายที่อยู่ในความ
กังวลสนใจอย่างมากต่อทั้งแวดวงวิชาการและสังคมสาธารณะโดยทั่วไป ก็เห็นจะได้แก่ (ขบวนการ) รัฐอิสลาม
(Islamic State – IS) ( –‫الدولة‬‫اإلسالمية‬ al-Dawlah al-Islamiyah) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภายหลังจากที่พวก
เขาสถาปนา ‚รัฐอิสลาม (?)‛ ขึ้นในดินแดนบางส่วนของซีเรียและอิรัก ปรากฏการณ์ของ ‚ขบวนการรัฐ
อิสลาม‛ (Islamic State; IS) ได้เป็นกระแสที่แวดวงวิชาการทั่วโลกให้ความสนใจมากขึ้นอย่างเด่นชัด ผสม
ความหวั่นเกรงของผู้คนในพื้นที่ต่างๆ ถึงการคุกคามแทรกซึมของขบวนการรัฐอิสลามเข้ามายังสังคมของตน
ทั้งในเชิงกลุ่มองค์กร และในเชิงอิทธิพลทางความคิด เอกสาร Policy Brief ชิ้นนี้ จึงมุ่งนาเสนอภาพความเข้าใจ
ที่รอบด้านเกี่ยวกับกลุ่มไอเอส โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น 4 ส่วนหลัก คือ (1) แนวคิดของกลุ่ม (2) การก่อตัวขึ้น
ของกลุ่ม (3) นัยเกี่ยวพันกับโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และไทย และ (4) ข้อเสนอสาหรับประเทศไทยเพื่อ
เตรียมพร้อมเผชิญภัยคุกคามจากไอเอส
สรุปจาก ขบวนการรัฐอิสลามในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ: นัยต่อโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และไทย โดย อาจารย์อาทิตย์ ทองอินทร์
1สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ที่มาภาพ : http://wallpaper.thaiware.com/upload/wallpaper/2008_08/4905_3162_080828223521_9T.jpg
1. การกาเนิดและขยายตัวของ (ขบวนการ) รัฐอิสลาม: มุมมองเชิงวิพากษ์
งานวิชาการกระแสหลักในโลกตะวันตกนิยมอธิบายการก่อตัวขึ้นของกลุ่มไอเอส โดยให้น้าหนักกับการ
ฉายภาพพลวัตเชิงองค์กรหรือพัฒนาการของกลุ่มที่ตั้งต้นจากการนาเสนออัตชีวประวัติของอบู มุศอับ อัล-ซัร
กอวี ชายชาวจอร์แดน ในฐานะผู้หมุนกงล้อของกลุ่มนับตั้งแต่การเข้าร่วมสงครามอัฟกานิสถานใน ค.ศ.1989
อย่างไรก็ตาม กลุ่มไอเอสก็เช่นเดียวกับกลุ่มก่อการร้ายอื่น คือ การกาเนิดและดารงอยู่ของพวกเขามิได้แยก
ขาดจากบริบทแวดล้อมที่มีประวัติศาสตร์ ในกรณีของไอเอส สงครามอัฟกานิสถาน-โซเวียตใน ค.ศ.1979-1989
ถือเป็นบริบทต้นธารแห่งการหล่อหลอมรากแรกของไอเอสขึ้น เช่นเดียวกับที่มันเป็นเบ้าหลอมของกลุ่มก่อการ
ร้ายชั้นนาในสมัยต่อมา นั่นคือ อัลกออิดะฮฺ(AQ) และญะมาอะฮฺ อิสลามียะฮฺ (JI) กล่าวอย่างวิพากษ์ก็คือ
สงครามตัวแทน (proxy war) ระหว่างมหาอานาจตะวันตก คือ สหรัฐอเมริกากับโซเวียต ในช่วงสงครามเย็น ได้
กลายเป็นสนามเพาะสาคัญของกลุ่มก่อการร้ายที่กลับมาเป็นภัยคุกคามตะวันตกเสียเองในภายหลัง และยังเป็น
ภัยคุกคามต่อประชาคมโลกในภาพรวมอีกด้วย
ในช่วงต้นทศวรรษที่ 1990 บริบทสังคมการเมืองในตะวันออกกลางยังได้ส่งผลสาคัญต่อการก่อรูปรอย
ของไอเอส กล่าวคือ ในจอร์แดน เศรษฐกิจที่ตกต่าและเหลื่อมล้า การดาเนินนโยบายต่างประเทศเอียงข้าง
สหรัฐอเมริกา รวมทั้งจุดยืนที่สนับสนุนการเจรจาสันติภาพอาหรับกับอิสราเอล ส่งผลให้เกิดกระแสการลุกฮือไม่
พอใจจากมวลชน พวกเขาจานวนหนึ่งถ่ายเทความภักดีต่อรัฐและระบอบการเมืองทางโลกไปสู่ศาสนาและทาง
นาตามอัลกุรอาน การกวาดล้างผู้คิดต่างอย่างเหวี่ยงแห โดยเฉพาะการต้อนจับเข้าเรือนจาพิเศษสะวาเกาะฮฺ
ส่งผลบีบคั้นให้กลุ่มเคลื่อนไหวในแนวทางสันติกลายสภาพไปเป็นกลุ่มที่เชื่อในการใช้กาลัง บรรยากาศภายใน
เรือนจาเหนี่ยวนาให้บุคคลแบบซัรกอวี ซึ่งเป็น ‘สายเหยี่ยว’ ก้าวขึ้นเป็นผู้นาได้มากกว่ามักดีซี ซึ่งเป็น ‘สาย
พิราบ’ มาตรการของรัฐบาลจอร์แดนจึงมีส่วนช่วยสร้างกลุ่มก้อนผู้ติดตามให้กับซัรกอวีได้ไม่น้อย
ส่วนในอิรัก รัฐบาลบะอัธของซัดดัม ฮุสเซนซึ่งยีนอยู่บนหลักคิดแนวทางการเมืองแบบโลกียวิสัย
(Secularism) มาตลอด ได้เริ่มหันมาใช้ปัจจัยศาสนาเป็นเครื่องมือทางการเมืองอย่างเข้มข้นมากขึ้น ทั้งใน
การเมืองภายใน และในการเมืองระดับภูมิภาค ส่งผลให้รัฐบาลซัดดัมสามารถบรรเทาบรรยากาศเผชิญหน้ากับ
ขบวนการอิสลามการเมืองกลุ่มต่างๆ ได้มาก แต่ขณะเดียวกัน ก็ทาให้ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกับกลุ่มชน
ชีอะฮฺขาดสะบั้นลง รวมทั้งเพิ่มความตึงเครียดระหว่างประชากรซุนนียฺกับชีอะฮฺ นอกจากนี้ การถูกคว่าบาตร
จากนานาชาติหลังสงครามกับคูเวตทาให้รัฐบาลซัดดัมจาต้องวางระบบตลาดมืดและเครือข่ายขนถ่ายสินค้าข้าม
เขตแดนแบบผิดกฎหมายขึ้นรองรับเศรษฐกิจของประเทศ อันมีกลุ่มระดับท้องถิ่นของเมืองต่างๆ โดยเฉพาะชน
เผ่าทางฝั่งตะวันตกของประเทศเป็นกลไกขับเคลื่อนสาคัญ ซึ่งปัจจุบันพื้นที่และกลไกของระบบและเครือข่าย
ดังกล่าวถูกควบคุมโดยไอเอส และกลายเป็นปัจจัยอุปสรรคสาคัญต่อการถอนรากกลุ่มขบวนการดังกล่าว ด้วย
เหตุนี้ อิรักในวันที่อเมริกาบุกเข้ามา เมื่อ ค.ศ.2003 จึงเป็นอิรักที่ส่วนหนึ่งถูกขับเคลื่อนด้วยแรงผลักของกลุ่ม
อิสลามนิยมสุดโต่งซึ่งก่อตัวและพัฒนาอย่างค่อยเป็นค่อยไปตั้งแต่ทศวรรษที่ 1990 จากยุทธศาสตร์ของรัฐบาล
ซัดดัมที่หมายมุ่งหยิบยืมปัจจัยศาสนามาใช้ประโยชน์ทางการเมือง พร้อมกันนั้นก็อุดมไปด้วยเครือข่าย
อาชญากรรมข้ามเขตแดน กลุ่มติดอาวุธของรัฐ และกลุ่มติดอาวุธชนเผ่า รวมทั้งคลังอาวุธจานวนมาก ซึ่งเป็นสิ่ง
ที่ระบอบซัดดัมเคยใช้เพื่อรักษาความมั่นคงของระบอบ และทิ้งมรดกเอาไว้หลังระบอบถูกโค่นจากอานาจ
ภายนอก มรดกดังกล่าวแตกกระจายดังผึ้งแตกรังกลายเป็นเซลล์ก่อความไม่สงบที่ไม่รวมศูนย์จานวนมาก
ดังนั้น ไอเอสจึงมิได้ถูกสร้างขึ้นจากการโค่นล้มระบอบซัดดัมลงไป หากแต่เป็นพลวัตที่สืบเนื่องภายหลังความ
ตายของระบอบเสียมากกว่า
2สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
จากที่กล่าวมานี้ จะเห็นได้ว่า กลุ่มไอเอสนั้นคือกลุ่มก้อนที่ก่อตัวและขยายขึ้นบนบริบทแห่งเกม
การเมืองของรัฐ ทั้งภายในขอบอาณาเขตของตนเอง และการเมืองกับรัฐอื่น ซึ่งมหาอานาจตะวันตกก็มีส่วนไม่
น้อยในการก่อตัวขึ้นของไอเอส ดังที่เราจะเห็นสถานการณ์ไม่ต่างกันนักในกรณีสงครามกลางเมืองซีเรีย ที่
สหรัฐอเมริกาเข้ามาให้การสนับสนุนหลายกลุ่มติดอาวุธเพื่อโค่นล้มรัฐบาลอัสซาด และหนึ่งในกลุ่มเหล่านั้น คือ
ส่วนงอกของขบวนการรัฐอิลามแห่งอิรัด (ISI) การสนับสนุนของอเมริกามีผลทาให้พวกเขายกระดับขีดอานาจ
ขึ้นมาและแผ่อิทธิพลเข้ามายังพื้นที่ในซีเรียจนสามารถประกาศความเป็นรัฐอิสลามแห่งอิรักและซีเรีย (ISIS)
และความเป็นรัฐอิสลามที่รื้อฟื้นการปกครองระบอบเคาะลีฟะฮฺขึ้นใหม่ (IS) ในท้ายที่สุด ซึ่งในปัจจุบัน
สหรัฐอเมริกาก็กาลังสนับสนุนการติดอาวุธของกองกาลังชาวเคิร์ดในซีเรียเพื่อ ‘ยืมมือ’ ไปรบภาคพื้นดินกับไอ
เอส นามาซึ่งการก่อตัวขึ้นของกลุ่ม YPG อันจะกลายเป็นตัวแสดงที่มีบทบาทอย่างแน่นอนในสถานการณ์
ตะวันออกกลางภายภาคหน้า การฉายภาพให้เห็นบริบทที่ขับเคลื่อนและบ่มเพาะไอเอสและกลุ่มก่อการร้ายอื่น
ดังที่ว่ามานี้ จึงมิใช่นาเสนอเพื่อโยนความผิดบาปให้กับตะวันตก หากแต่เพื่อชี้ให้เห็นว่า หากตะวันตกรวมทั้ง
ประชาคมโลกยังไม่ถอดบทเรียนเหล่านี้ โลกก็จะทาผิดพลาดซ้าแล้วซ้าเล่า และต้องเผชิญภัยคุกคามจากการก่อ
การร้ายไปอย่างไม่มีวันสิ้นสุด
2. แนวคิดของ (ขบวนการ) รัฐอิสลาม
งานวิชาการจานวนมากในโลกวิชาการตะวันตก มักมีข้อสรุปสอดคล้องกันว่า (ขบวนการ) รัฐอิสลาม หรือไอเอส
มีฐานรากอุดมการณ์แบบ ‚สะลาฟียฺ‛ (Salafism) หรือ ‚สะลาฟียฺญิฮาด‛ (Salafi Jihadism) ซึ่งที่จริงแล้ว ชุด
ความคิดและวิถีทางของไอเอสนั้นห่างไกลจากมันฮัจญฺ ( ‫المنهج‬หมายถึง วิถีทาง/ครรลอง/แบบวิธีทางปัญญา)
ของสะลาฟียฺอย่างมาก รวมทั้งไม่อาจเรียกได้ว่าสิ่งที่พวกเขาทานั้นคือการ ‚ญิฮาด‛ ( ‫جهاد‬) ) เสียด้วยซ้า
กล่าวคือ ‚สะลาฟียฺ‛ คือ มันฮัจญฺหรือวิถีทาง/ครรลองของการดาเนินชีวิตและแนวทางในการเข้าใจศาสนาอย่าง
ถูกต้อง โดยยึดตามแบบอย่างความเข้าใจของชาว สะลัฟ (กลุ่มชนมุสลิมีนสามศตวรรษแรกจากประชาชาติ
อิสลามของท่าน นบีมุฮัมหมัด ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะ ซัลลัม) อันนับว่าเป็นชนรุ่นที่ประเสริฐที่สุดของ
ประชาชาติมุสลิม ซึ่งวางอยู่บนความเรียบง่าย ทุ่มเทความสนใจให้กับการบ่มเพาะอีมาน (ศรัทธา) ที่ถูกต้อง
มั่นคง และปฏิเสธการเปิดช่องสาหรับใช้ตรรกศาสตร์ตีความหรือการเอาชนะกันทางวาทโวหาร
ในขณะที่ ‚ญิฮาด‛ มีความหมายพื้นฐานว่า การดิ้นรนต่อสู้ในหนทางแห่งพระเจ้า ซึ่งครอบคลุมทุก
การปฏิบัติ และทุกภารกิจของมุสลิมที่ต้องใช้ความอุตสาหะ ความพยายาม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเชิดชูศาสนา
ของอัลเลาะฮฺ คาว่าญิฮาดจึงมีความหมายกว้างกว่าสงคราม ญิฮาดไม่จาเป็นจะต้องเป็นสงครามเสมอไป และทุก
สงครามก็ไม่จาเป็นจะต้องเป็นญิฮาด เพราะสงครามในอิสลามต้องอยู่ภายใต้จุดประสงค์ กฎเกณฑ์ เงื่อนไข และ
จรรยาบรรณอันสูงส่ง รวมทั้งมีหลักการกาหนดเช่นเดียวกับกรอบคิดสงครามอันเป็นธรรม (Just War) ที่ก็
พัฒนาขึ้นจากการทาสงครามของพวก ‚คริสเตียน‛ เช่นเดียวกัน กฎเกณฑ์การทาสงครามที่จะนับว่าเป็น
สงครามศักดิ์สิทธิ์ตามหลักญิฮาดนั้น อุดมไปด้วยข้อห้าม และข้ออนุมัติมากมาย รวมทั้งมีรายละเอียดยิบย่อย
หลายประการ อาทิ ต้อง ‚มีความพร้อม‛ ที่จะทาสงคราม และประกาศโดยผู้นาสูงสุด (อิมาม) ห้ามทาสงคราม
เพื่อบังคับให้เปลี่ยนศาสนา ห้ามจู่โจมโดยไม่แจ้งล่วงหน้า ห้ามฆ่าผู้ทรงศีล ห้ามฆ่า เด็ก สตรี คนชรา และผู้ป่วย
ห้ามทาลายต้นไม้และพืชผล ห้ามบ่อนทาลายและทาร้ายปศุสัตว์ของศัตรู ฯลฯ ด้วยรายละเอียดมากมายเหล่านี้
3สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
จึงมีผู้กล่าวไปถึงขั้นว่า ‚สาหรับมุสลิมนั้นการทาสงครามที่เป็นญิฮาด หรือทาสงครามอย่างถูกต้องตามศาสนา
นั้นเป็นเรื่องอันยุ่งยากเสียจนยอมตายยังง่ายกว่า‛
จากที่กล่าวมาข้างต้นจะพบว่า แนวทางและหลักคิดของไอเอสนั้น ไม่เข้าร่องรอยของสะลาฟียฺและญิ
ฮาดเลยแม้แต่น้อย อุดมการณ์ของพวกเขาวางอยู่บนเทคนิคการหยิบฉวยแบบวิธีทางปัญญาของสะลาฟียฺและ
หยิบยกตัวบทอัล-กุรอาน หะดีษ ตลอดจนประวัติศาสตร์อิสลามมาใช้ แต่เลือกหยิบมาเพียงบางส่วนเพื่อรับใช้
เป้าหมายของกลุ่มผ่านกระบวนการตัดแต่งบิดเบือน ทั้งยังขับเคลื่อนด้วยความลุ่มหลง อารมณ์ และบิดอะฮฺ
(อุตริกรรม) ไอเอสมีทรรศนะต่อโลกในแบบที่ ‚อิสลามเผชิญหน้ากับส่วนที่เหลือทั้งหมด‛ (Islam versus the
Rest) ซึ่งเป็นโลกทัศน์แบบแบ่งแยกสองด้านตรงข้ามอย่างชัดเจน (binary worldview)
นอกจากนี้ ไอเอสยังมีแนวคิดสุดโต่งด้านตักฟีร (การกล่าวหามุสลิมด้วยกันว่าตกศาสนาหรือเป็นผู้
ปฏิเสธศรัทธา) ใช้คาพูดที่รุนแรงต่อมุสลิมด้วยกัน โดยมองว่ามุสลิมที่แท้จริงในสายตาพวกเขา ได้แก่มุสลิมที่เข้า
ร่วมกับพวกเขาเท่านั้น ส่วนมุสลิมที่ไม่มาเป็นส่วนใดส่วนหนึ่งในขบวนเคลื่อนไหวของไอเอสจะถูกจาแนก
ออกเป็น 5 จาพวก คือ (1) คนมุรตัด ( ผู้ตกศาสนา) (2) ผู้ปฏิเสธศรัทธา (3) พวกเคารพบูชารูปปั้นหรือ ฏอฆูต
(4) ชนชีอะฮฺ ซึ่งไอเอส เรียกว่า รอฟิเฎาะฮฺ ( การไม่ยอมรับ/ การปฏิเสธ) อันมีความหมายอย่างง่ายคือ กลุ่มชน
ที่ยึดในแนวทางเบี่ยงเบนในเรื่องเกี่ยวกับอะกีดะฮฺ และปฏิเสธไม่ยอมรับการเป็นเคาะลีฟะฮฺของท่านอบูบักรฺ
ท่านอุมัร และท่านอุษมาน และ (5) บรรดามุชริกีน หรือผู้ตั้งภาคีต่อพระเจ้า ซึ่งทั้งหมดนี้ได้รับการสนับสนุนไม่
ทางใดก็ทางหนึ่งจากบรรดาผู้รุกรานตะวันตก (crusaders) ยิว และคนนอกศาสนา ดังนั้น กล่าวโดยสรุปแล้ว
แนวคิดของไอเอสจึงมีลักษณะของการกาหนดเป้ าหมายอุดมคติ โดยใช้แนวทางเคลื่อนไหวแบบปฏิวัติ
บนฐานคิดสาคัญ คือ ตักฟีร (the Revolutionary Idealism mainly based on Takfir measure)
3. ผลกระทบต่อโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และไทย
การขยายบทบาทของ (ขบวนการ) รัฐอิสลามไปสัมผัสปริมณฑลนอกเหนือพื้นที่อิรักและซีเรีย สามารถ
จาแนกได้เป็น 3 รูปแบบปฏิบัติการด้วยกัน ประการแรก งานปฏิบัติการทางข่าวสาร (Information Opera-
tion; IO) ซึ่งถือเป็นหนึ่งในเสาหลักยุทธศาสตร์การต่อสู้ของไอเอสที่มีความสาคัญยิ่งยวด พวกเขาวางโครงสร้าง
กลไกการสื่อสารอย่างสลับซับซ้อนแบ่งได้ 3 ระดับ: (1) หน่วยสื่อสารกลาง ได้แก่ สภาการสื่อสารมวลชน (2)
สานักสื่อสารระดับภูมิภาคในแต่ละเขตปกครอง ( –‫والية‬ Wilayah) และ (3) การสื่อสารส่วนตัวของสมาชิก นัก
ต่อสู้ รวมถึงผู้สนับสนุนไอเอสทั่วโลก นอกจากนี้ ยังมีสื่อกลางในรูปของนิตยสารออนไลน์ที่ได้รับการกล่าวถึง
อย่างกว้างขวาง คือ ดาบิคแม็กกาซีน ส่วนเนื้อหาหลักๆ ที่ถูกถ่ายทอดเผยแพร่บ่อยครั้ง คือ การฉายภาพตอก
ย้าความเป็น ‘รัฐ’ ของพวกเขา ผ่านการนาเสนอกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นภารกิจของรัฐ อาทิ การเปิดโรงเรียน การ
สร้างถนน การซ่อมแซมสาธารณูปโภคให้กับคนในพื้นที่ที่ยึดครองได้ ทั้งนี้ก็เพื่อมุ่งหมายโดยตรงที่จะสะท้อนให้
เห็นว่าพวกเขาเข้ามาทาหน้าที่แทนรัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ และบางครั้งก็อาจมีประสิทธิภาพสูงกว่าด้วยซ้า
สาหรับประชาชนบางกลุ่มที่ไม่เคยได้รับการเหลียวแล หรือกลุ่มที่ได้รับการปฏิบัติในมาตรฐานที่ต่ากว่าโดยรัฐ
ของเขาในช่วงที่ผ่านมา อันเป็นวิธีการสาคัญในการรองรับความชอบธรรมในเขตอิทธิพลของไอเอส
ขณะเดียวกัน การเผยแพร่ภาพกราฟิกที่เต็มไปด้วยความรุนแรง โหดเหี้ยมของพวกเขาเป็นอีกส่วนหนึ่งของ
4สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปฏิบัติการข่าวสาร แต่เป็นไปในแบบแผนของสงครามจิตวิทยา (psychological warfare) มุ่งฝังรากความหวาดกลัว
ไปในภาพจาของบรรดาศัตรู
นอกจากนี้ การสถาปนาระบอบเคาะลีฟะฮฺโดยจงใจประกาศในวันเข้าสู่เดือนรอมฎอน รวมทั้งพิถีพิถันที่จะ
นาเสนอภาพของผู้นากลุ่มอย่างอบู บักรฺ อัล-บักฮฺดาดี เปิดตัวต่อสาธารณะชนทั่วโลก ด้วยการเทศนาธรรม ณ
มัสยิดกลางแห่งโมซุล ในวันละหมาดญุมุอะฮฺ ศุกร์แรกหลังการสถาปนารัฐอิสลาม (4 กรกฎาคม ค.ศ.2014) ใน
ฐานะ ‚กาหลิป อิบรอฮีม‛ และบันทึกคลิปวีดีโอเผยแพร่ไปทั่วโลกทางสื่อออนไลน์ ตลอดจนการหยิบใช้ "คา" และ
"ภาษา" ของอิสลามอย่างบ่อยครั้ง โดยนามาตีความ ‘หามุมบิด’ เรียบเรียง ออกแบบสื่อ และถ่ายทอดออกมาอย่าง
ละเอียดลงตัว ในหลายช่องทาง หลากภาษา ด้วยรูปแบบสื่อที่มีคุณภาพสูง และทันควันต่อสถานการณ์ ของเหล่านี้
ก็สะท้อนว่าไอเอสไม่ใช่แค่เพียงกลุ่มคนที่คลุ้มคลั่งไร้เหตุผล หากแต่เป็นกลุ่มผู้หยิบฉวยพลังของศาสนา "อย่างจงใจ
และมีสติ" มาใช้ปฏิบัติการข่าวสารอย่างละเมียดละไม เพื่อตอบสนองเป้าประสงค์ทางการเมือง และเป้าสาคัญคือ
การ 'recruit' คนทั่วโลก ด้วยโวหารอันทรงพลังของศาสนา ดังนั้นแล้ว ยิ่งคนทั่วไปติดหล่มอคติตนเองโจมตีไปที่
ศาสนาอิสลามอย่างเข้าใจผิด ถ้อยวลีของไอเอสก็จะยิ่งทรงพลังและตอบโจทย์ผู้คน และความแปลกแยกระหว่าง
ศาสนายิ่งปรากฏชัด การแบ่งขั้ว (radicalize) ในสังคมและความรุนแรงก็ยิ่งหลีกเลี่ยงได้ยากขึ้น
ประการที่สอง ปฏิบัติการทางการเมือง เป้าหมายแห่งการตั้งรัฐอิสลามของกลุ่มไอเอส ไม่ใช่เพียงการ
สถาปนาอานาจปกครองเหนือพื้นที่ที่ยึดครองได้ในซีเรียและอิรักเท่านั้น หากแต่เป้าหมายคือ ‚Global Caliphate/
Worldwide Caliphate” อันหมายถึง การนาระบอบเคาะลีฟะฮฺมาใช้ทั่วทั้งโลก (ซึ่งแน่นอนว่าอาจจะเป็นเพียงโวหาร
ชวนเชื่อหรือเป็นเป้ายุทธศาสตร์จริงก็ได้) โดยนับตั้งแต่มิถุนายน 2014 ถึงปัจจุบัน (เมษายน 2016) มีการประกาศ
‚วิลายะฮฺ‛ (ความเป็นเขตปกครอง/ส่วนหนึ่งของรัฐอิสลาม) ภายนอกที่ซีเรีย-อิรักแล้ว 8 พื้นที่ คือบางส่วนของ (1)
ลิเบีย (2)คาบสมุทรซีนายของอียิปต์ (3)อัลจีเรีย (4) พรมแดนอัฟกานิสถาน-ปากีสถาน (5) เยเมน (6) แอฟริกา
ตะวันตก (7) แถบคอเคซัสตอนเหนือ และ (8) เกาะบาซิลัน ตอนใต้ของฟิลิปปินส์ ทั้งนี้ แบบแผนการขยายอิทธิพล
ทางการเมืองของไอเอสในรูปการตั้งวิลายะฮฺนอกพื้นที่ซีเรียและอิรักมีอยู่ 2 ประการหลัก คือ (1) พื้นที่ทั้งหมดที่
กล่าวมาล้วนมีสภาพสุญญากาศเชิงอานาจ สงครามกลางเมือง หรืออย่างน้อยที่สุดคือเป็นพื้นที่ที่อานาจรัฐชาติที่
ตั้งอยู่ไม่สามารถเข้าไปสถาปนาอานาจนาและคุมระเบียบ (order) เหนือบริเวณนั้นได้ กับ (2) พื้นที่เหล่านั้นมีเซลล์
ก่อการร้ายระดับท้องถิ่นปฏิบัติการอยู่เดิมแล้วเซลล์เดิมเหล่านี้ล้วนมีศัตรู และเป้าหมายทางการเมืองในระดับ
ท้องถิ่นที่แตกต่างกันไป พวกเขาต่างให้น้าหนักไปที่การต่อสู้ในท้องถิ่นตนเองต่อระบอบที่เป็นอานาจนิยม กดขี่
พวกเขา ไม่เป็นธรรม และที่สาคัญคือเป็นระบอบที่พวกเขามักมองว่าสร้างสรรพปัญหาขึ้นมาก็เพราะ ‘ขัดกับหลัก
อิสลาม’
การประกาศสวามิภักดิ์ต่อไอเอส (หรือสาหรับบางกลุ่ม ก็มีการสวามิภักดิ์ต่ออัลกออิดะฮฺในช่วงก่อนหน้า)
ทาให้กลุ่มก่อการร้ายระดับท้องถิ่นเหล่านั้นยกระดับจากกลุ่มที่มีชื่อเสียงไม่มากไปเป็นที่รับรู้ในวงกว้างอันมีผล
อย่างสาคัญต่อการดึงดูดมวลชนเข้าร่วมและสนับสนุน ดังที่ซาเมอร์ ชีฮาต้า (Samer Shehata) ผู้เชี่ยวชาญด้าน
การเมืองตะวันออกกลาง แห่งมหาวิทยาลัยโอกลาโฮม่า กล่าวว่า ‚"ISIS is a brand name. … It has widespread
recognition, and in the eyes of many adherents, it's successful.” ขณะเดียวกัน การเข้าร่วมกับไอเอสยังทาให้
กลุ่มเหล่านี้เข้าถึงทรัพยากรอื่นๆ ที่สนับสนุนการต่อสู้ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นได้มาก เช่น เงินทุน และองค์ความรู้
ในด้านอาวุธ
5สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประการที่สาม ปฏิบัติการทางการทหาร นับตั้งแต่การประการสถาปนาระบอบเคาะลีฟะฮฺ (มิถุนายน
2014) มาจนถึงปัจจุบัน (เมษายน 2016) การโจมตีครั้งใหญ่ๆ ของไอเอสต่อพื้นที่ภายนอกซีเรียและอิรักปรากฏ
ออกมาทั้งสิ้น 72 ครั้ง ทั้งนี้ แบบแผนการโจมตีดังกล่าวเป็นไป 2 ลักษณะหลักคือ (1) การก่อเหตุโดยเซลล์ก่อการ
ร้ายระดับท้องถิ่นที่เป็นพันธมิตร เครือข่าย หรือสวามิภักดิ์ต่อไอเอส กับ (2) การก่อเหตุโดยปัจเจกหรือกลุ่มบุคคลที่
สนับสนุนและเห็นด้วยกับแนวคิดของไอเอส ทั้งนี้ กลุ่มที่ปฏิบัติการในทั้งสองลักษณะมีทั้งที่เป็นกลุ่มองค์กรอันมี
โครงสร้างบังคับบัญชาชัดเจน กลุ่มเซลล์เล็กๆ ที่รวมตัวกันหลวมๆ ไปจนถึงการลงมือโดยคนเดียวหรือไม่กี่คนที่
เรียกว่า ‚ Lone Wolf ” แต่อาจกล่าวโดยรวมได้ว่า บรรดาเหตุการณ์ส่วนใหญ่นั้นเกิดจากฝีมือของกลุ่มก่อการร้ายที่
เกิดขึ้นภายในประเทศ หรือที่เรียกว่า ‚Homegrown Terrorist” มากกว่าจะเป็นฝีมือของเครือข่ายก่อการร้ายข้าม
ชาติ ในขณะที่เป้าหมายการโจมตีนั้นมี 2 ส่วนใหญ่เช่นกัน คือ (1) ประเทศศัตรูของไอเอส อันหมายถึงบรรดา
พันธมิตรตะวันตกที่เข้าร่วมปฏิบัติการโจมตีทางอากาศ กับ (2) ศัตรูในพื้นที่ปฏิบัติการของบรรดาเซลล์ระดับ
ท้องถิ่นที่เข้าสวามิภักดิ์ไอเอสเอง ซึ่งแม้ไอเอสจะได้รับประโยชน์จากการอ้างผลงาน/ความรับผิดชอบเหล่านั้น แต่
เป้าหมายการถูกโจมตีจะมีลักษณะแตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ เช่น บางกลุ่มพุ่งโจมตีเป้าหมายที่เป็นสัญลักษณ์
ของตะวันตก ส่วนบางกลุ่มพุ่งโจมตีเป้าหมายที่เป็นระบอบ/ชนชั้นนาของประเทศซึ่งเป็นมุสลิมด้วยกัน หรือบาง
กลุ่ม/บางปัจเจกบุคคลมีแนวโน้มก่อเหตุต่อพื้นที่สาธารณะเขตเมืองซึ่งมีคนมาก เพื่อระบาย/แสดงออกซึ่งความ
โกรธเกรี้ยวต่อรัฐและสังคมนั้นๆ
สาหรับนัยเกี่ยวพันกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีนักรบจากแถบนี้ไปร่วมกับไอเอสอยู่ที่ตัวเลขระหว่าง
200-800 คน มาจากประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ (ยังไม่พบว่ามีคนไทย) พวกเขารวมกลุ่ม
กันที่ซีเรียในชื่อว่า ‚คอติบะฮฺ นูซันตารา ลิด อิสลามิก เดาละฮฺ‛ (Katibah Nusantara Lid Islamic Dawlah) อัน
ห ม า ย ถึ ง ก อ ง ก า ลั ง ที่ มี เ ป้ า ห ม า ย ส ร้ า ง รั ฐ อิ ส ล า ม ใ น โ ล ก ม า เ ล ย์
(ซึ่งปัจจุบันหมายถึงพื้นที่มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ และสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของ
ประเทศไทย) สาเหตุที่คนแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปเข้าร่วมกับไอเอสที่ซีเรียนั้น งานของ Joseph Chinyong
Liow วิเคราะห์ว่าเป็นผลมาจากปัจจัยที่ 3 ประการ คือ (1) มุสลิมจานวนหนึ่งในภูมิภาคนี้เห็นการกาเนิดของไอ
เอสสอดคล้องกับปรากฏการณ์ที่ศาสนาได้อธิบายไว้ล่วงหน้าอันเกี่ยวเนื่องกับสัญญาณวันสิ้นโลก (2) ประเด็นเรื่อง
ความขัดแย้งซุนนียฺ-ชีอะฮฺ ที่ทาให้มุสลิมจานวหนึ่งมองว่า การไปต่อสู้โค่นล้มรัฐบาลชีอะฮฺที่โหดเหี้ยม (ซีเรีย) และ
รัฐบาลชีอะฮฺที่ผูกขาดอานาจเป็นหุ่นเชิดของอเมริกา (อิรัก) เป็นสิ่งที่ชอบธรรมและควรจะต้องทา และ (3) วิกฤติ
ด้านมนุษยธรรมในซีเรียเป็นเรื่องสาคัญอันหนึ่งที่ไม่ควรมองข้าม ซึ่งเป็นเรื่องที่มุสลิมในภูมิภาคนี้ต่างมีความเห็น
อกเห็นใจ จนเกิดเป็นเครือข่ายของการช่วยเหลือพี่น้องมุสลิมผู้ทุกข์ยาก หลายกลุ่มเสี่ยงอันตรายเข้าไปให้ความ
ช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมถึงสมรภูมิรบในซีเรีย แต่บางคนเมื่อไปถึงดินแดนภายใต้การควบคุมของไอเอส ก็อาจ
หลงเคลิ้มไปกับแนวทางการต่อสู้และอุดมการณ์ของไอเอส จนถึงขั้นเข้าร่วมการต่อสู้
นอกจากการเดินทางไปร่วมรบแล้ว ยังพบว่า กลุ่มก่อการร้ายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จานวนมากทยอย
กันประกาศสวามิภักดิ์ต่อเคาะลีฟะฮฺงอบู บักรฺ อัล-บักฮฺดาดีมาอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ปลาย ค.ศ.2014 เป็นต้นมา
ซึ่งรวมไปถึงกลุ่มใหญ่อย่างเจไอ และอาบูไซยาฟด้วย ทาให้เกิดความหวาดวิตกกันว่า ไอเอสจะขยายฐานมาตั้งมั่น
ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และขอบเขตความเป็นรัฐอิสลามที่ทาลายหลักการอิสลามแทบทุกข้อนี้จะแผ่ขยายออกไป
อย่างไรก็ตามแม้หลายกลุ่มจะประกาศสวามิภักดิ์ต่อไอเอส แต่พวกเขาขาดแคลนผู้นาที่ทุกกลุ่มให้การยอมรับอย่าง
สอดคล้องกัน ทาให้ไม่สามารถสร้างความเป็นเอกภาพระหว่างกันขึ้นมาได้ ไม่ต่างอะไรกับประชาคมอาเซียนที่รัฐ
สมาชิกก็มิได้มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่ง
6สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ข้อนี้นับว่าอาจจะเป็นธรรมชาติการรวมกลุ่มของผู้คนแถบเอเชียอุษาคเนย์ก็ว่าได้ อันทาให้เป้าหมายของการสร้าง
รัฐอิสลามทั้งภูมิภาคนั้นค่อนข้างห่างไกลจากความเป็นจริงมากพอสมควร กระนั้นก็ดี แม้ว่าวินาศกรรมขนาดใหญ่ที่
ต้องอาศัยการระดมทรัพยากรระหว่างกลุ่มต่างๆ จะมีโอกาสเกิดขึ้นได้ยาก แต่คาดว่า ‘ความพยายาม’ ก่อเหตุขนาด
เล็กจะมีอยู่บ่อยครั้งจากการที่กลุ่มต่างๆ แข่งขันกันแสดงศักยภาพนา
ในส่วนของผลกระทบต่อประเทศไทย ยังไม่มีข้อมูลระบุว่ามีคนไทยเข้าร่วมรบกับไอเอสที่ซีเรียแต่อย่างใด
ส่วนขบวนการต่อสู้ที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (จชต.) นั้น มีอุดมการณ์และยุทธศาสตร์ต่อสู้ที่แตกต่างและไม่ลงใน
ร่องแนวทางเดียวกับไอเอสแต่อย่างใด กล่าวคือ ในขณะที่ไอเอสเป็นกลุ่มก่อการร้ายศาสนานิยมที่มุ่งสร้างรัฐศาสนา
ขบวนการต่อสู้ที่ จชต. กลับมีลักษณะเป็นกลุ่มก่อการร้ายชาตินิยมที่มีเป้าหมายคือ เอกราชและการสร้างรัฐชาติ
ของชาวมลายูปาตานี ซึ่งเป้าหมายนี้ขบวนการต่อสู้ที่ จชต. ใช้ยุทธศาสตร์หลักคือ การยึดโยงอยู่กับหลักการ
กาหนดใจตนเอง (self-determination) ที่สหประชาชาติให้การรับรองตามกฎหมายระหว่างประเทศ โดยใช้
ปฏิบัติการข่าวสารในสถานการณ์ต่างๆ ที่รัฐไทยทาการละเมิดสิทธิมนุษยชน กระทาการใดใดที่ไร้มนุษยธรรม และ
การละเมิดกรอบพันธสัญญาระหว่างประเทศในส่วนที่ให้ความคุ้มครองสิทธิความเป็นมนุษย์และสิทธิพลเมืองอย่าง
เป็นสากล ดังนั้น ถ้าพวกเขาตัดสินใจร่วมกับไอเอส แทนที่สหประชาชาติและตะวันตกอาจเป็นตัวแปรช่วยแยก
ประเทศได้ ตัวแสดงเหล่านี้จะหัน 360 องศากลับมาเป็นตัวแปรรองรับความชอบธรรมต่อ ‚ปฏิบัติการใดใดก็ได้‛
ของรัฐไทยในการบดขยี้เครือข่ายของภัยคุกคามตัวร้ายที่สุดของตะวันตกแทน อย่างไรก็ดี ในระดับพื้นที่ก็อาจ
ปรากฏการใช้การต่อสู้ของไอเอสกระตุ้นปลุกเร้าสร้างแรงบันดาลใจให้กับการต่อสู้ของกลุ่มระดับปฏิบัติการใน
ท้องถิ่นบ้างพอสมควร แต่คาดว่าเป็นเพียงการใช้ไอเอสเป็นตัวอย่างให้คนท้องถิ่นต่อสู้เพื่อเป้าหมายระดับท้องถิ่น
ไม่ใช่การปลุกกระตุ้นให้ไปร่วมกับไอเอสแต่อย่างใด
สาหรับความเสี่ยงที่ไทยจะเป็นเป้าถูกโจมตีนั้น ที่ผ่านมา ไทยตกเป็นพื้นที่ก่อเหตุโดยกลุ่มก่อการร้ายข้าม
ชาติต่างๆ มาแล้วทั้งสิ้น 12 ครั้ง (เท่าที่ปรากฏข่าวในทางเปิด) ลักษณะการเกิดเหตุก่อการร้ายข้ามชาติในไทยส่วน
ใหญ่ มิได้มีเป้าหมายโจมตีประเทศไทยโดยตรง แต่มุ่งทาลายผลประโยชน์ของศัตรูที่ดารงอยู่ในพื้นที่ของประเทศ
ไทย เช่น สถานทูต บุคคลสาคัญ บริษัท ของชาตินั้นๆ เป็นต้น เหตุลักษณะนี้จะเกิดขึ้นเนื่องจากสาเหตุสาคัญคือ
ระบบรักษาความปลอดภัยของไทยอ่อนแอกว่าระบบของชาติเป้าหมายของการก่อเหตุ หรือที่เรียกอีกอย่างว่าเป็น
‚Soft Target” ขณะเดียวกัน ประเทศไทยยังเป็นพื้นที่ดึงดูดการเข้ามาเคลื่อนไหว และก่อเหตุโจมตีด้วยเหตุผลอีก 6
ข้อ คือ (1) การมีขบวนการลักลอบพาคนเข้าเมือง และมีช่องทางลักลอบเข้าเมืองไทยตามบริเวณชายแดนอยู่หลาย
จุด (2) การตรวจคนเข้าเมืองของไทยไม่เข้มงวดเท่าที่ควร ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยว
(3) การมีแหล่งปลอมแปลงเอกสารชั้นเยี่ยมอยู่หลายแห่ง (4) ประเทศไทยเป็นแหล่งที่อาจจัดหาเงินทุนที่ใช้ในการ
ก่อการร้ายได้ มีการค้าขายสินค้าและบริการอยู่ตลอด 24 ชั่วโมง และมีการแพร่กระจายยาเสพติดอยู่มาก (5) การ
เป็นศูนย์กลางการคมนาคมในภูมิภาค และ (6) การสามารถจัดหาอาวุธยุทโธปกรณ์ที่จะใช้ในการก่อการร้ายได้ง่าย
ในส่วนของความเสี่ยงจากการโจมตีของกลุ่มไอเอส พบว่า เมื่อปลายปี 2015 หน่วยต่อต้านข่าวกรองของ
รัสเซียประสานผ่านสภาความมั่นคงแห่งชาติแจ้งเตือนความเป็นไปได้ในการก่อเหตุร้ายของกลุ่มไอเอส ต่อ
ผลประโยชน์ของรัสเซียในประเทศไทย โดยระบุว่า มีชาวซีเรีย 10 รายที่เกี่ยวข้องกับไอเอส เดินทางเข้าไทยแล้ว
ระหว่างวันที่ 15-31 ตุลาคม ค.ศ.2015 ก่อนแยกกลุ่มเดินทางไปพัทยา 4 ราย ภูเก็ต 2 ราย กทม. 2 ราย ส่วนอีก 2
ราย ไม่ทราบว่าอยู่ที่ใด และยังไม่ทราบชื่อทั้งหมด ซึ่งทางการไทยให้การปฏิเสธว่าไม่มีอยู่จริง และหลังเหตุการณ์
ก่อการร้ายจาการ์ตาเมื่อมกราคม 2016 Tito Karnavian ผู้กากับการตารวจของจาการ์ตา (Inspector General of
Police; ตาแหน่งในขณะนั้น) ได้แถลงกับสื่อหลังเกิดเหตุการณ์ส่วนหนึ่งระบุว่า เซลล์ (ของไอเอส) ได้เข้ามาฝังตัว
7สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ในประเทศไทยเรียบร้อยแล้ว และช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์ 2016 สหรัฐอเมริกาก็แจ้งเตือนไทยว่า กลุ่มไอเอสมี
เป้าหมายโจมตีผลประโยชน์ของอเมริกาในไทย ซึ่งก็ไม่ปรากฏเหตุก่อการร้ายขึ้น และยังไม่เคยมีการแจ้งข่าว
เกี่ยวกับโอกาสเสี่ยงที่ไอเอสจะโจมตีไทยจากรัฐบาลไทยเองแต่อย่างใด
4. ข้อเสนอเชิงนโยบายต่อรัฐบาลไทย
การเผชิญภัยคุกคามจากการก่อการร้ายตลอดจนรับมือกับอิทธิพลของ (ขบวนการ) รัฐอิสลาม จาเป็นต้อง
ดาเนินการทั้งในส่วนของการยับยั้งเสรีปฏิบัติ/การเคลื่อนไหว และการขจัดรากเหง้าปัญหา กล่าวคือ การยับยั้งเสรี
ปฏิบัติเป็นเรื่องของการป้ องกันประเทศจากการถูกโจมตี แบบแผนการก่อเหตุของกลุ่มไอเอสคือเมืองใหญ่
แทบจะทั่วทั้งโลก โดยมุ่งโจมตีจุดอันเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญยิ่ง (Critical Infrastructure; CI) ของเมือง ดังนั้น
การป้องกันรับมือก็ต้องยืนอยู่บนหลักคิดเรื่องความมั่นคงเมือง (Urban Security) ซึ่งใช้ชุมชนท้องถิ่นเป็นกลไก
ศูนย์กลางในการรักษาความปลอดภัยด้วยมาตรการต่างๆ พร้อมกันนั้นก็ต้องมีการวางระบบควบคุมการผ่านเข้า-
ออกประเทศที่รัดกุมมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงและเชื่อมโยงข้อมูลเป็นเครือข่ายทั่วประเทศ อาทิ
การตรวจม่านตาหรือ DNA และแม้ปัจจุบันท่าอากาศยานจะมีระบบ Advanced personnel processing อันทา
หน้าที่ตรวจสอบผู้โดยสารจากต้นทางแล้ว ยังต้องให้น้าหนักมากขึ้นกับการเชื่อมข้อมูลเข้ากับฐานข้อมูลรวมของ
ตารวจสากลอย่างบูรณาการ ตลอดจนการควบคุมวัตถุดิบของการก่อเหตุ ซึ่งไม่เพียงเกี่ยวเนื่องในชั้นของศุลกากร
เท่านั้น หากแต่ยังต้องยกระดับให้เข้มข้นขึ้นเช่น ในอนาคตอาจใช้ระบบสัญญาณวิทยุควบคุมสินค้า (ที่สามารถ
นาไปผลิตอาวุธ) ที่ไหลเข้าออกแต่ละจังหวัดและบริษัท ห้าง ร้าน ต่างๆ ตลอดจนการสนับสนุนให้ใช้เงินเป็นการ์ด
ยกเลิกการใช้เงินกระดาษ อันจะช่วยให้สามารถติดตามการทาธุรกรรมทุกชนิดในประเทศได้
ขณะเดียวกัน แม้การขจัดศักยภาพของไอเอสในการก่อเหตุข้ามชาติ จาเป็นต้องวางอยู่บนกรอบความ
ร่วมมืออย่างแข็งขันกับประชาคมระหว่างประเทศในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารบนฐานข้อมูลเดียวกัน และการ
ตัดเส้นทางทางการเงิน อาวุธ และบุคคลที่เกี่ยวข้อง แต่ก็ต้องคานึงว่า ประเทศไทยเองแม้มีความเสี่ยงถูกโจมตี แต่
เราไม่ใช่ศัตรูและเป้าหมายโดยตรง ดังนั้น สิ่งที่ต้องระวังคือการถูกกดดันจากประเทศมหาอานาจตะวันตก ที่จะบีบ
ให้ไทยจะต้องเลือกข้าง หากเราร่วมมืออย่างแข็งขัน ก็จะทาให้เรากลายเป็นประเทศเป้าหมายได้ สิ่งสาคัญคือการ
วางตัวของไทย ที่จะไม่แสดงท่าทีเลือกข้างใดข้างหนึ่ง แต่ควรมีแนวทางในลักษณะที่คานึงถึงมนุษยธรรมและการ
ไม่เห็นด้วยต่อการใช้ความรุนแรงไม่ว่าจะมาจากฝ่ายใด
ประการถัดมา การขจัดสาเหตุรากเหง้าของปัญหาในส่วนของประเทศไทย คือ การปลดปมเงื่อนไขที่
คนไทยจะเข้าร่วมกับไอเอส ข้อนี้จะต้องเริ่มต้นจากการต่อสู้ทางความคิด บนฐานของการตระหนักเบื้องต้นว่า
ปฏิบัติการจิตวิทยาของไอเอสวางอยู่บนการ ‚สวมรอย‛ แบบวิธีของสะลาฟียฺ และ “…เอาความไม่จริงมาจากวจนะ
แห่งความจริง‛ ดังนั้น การเอาชนะทางความคิดเหนือไอเอสในประเด็นเกี่ยวกับศาสนา ก็จาจะต้องหักล้างฐาน
ความชอบธรรมของพวกเขาด้วย ‚วจนะแห่งความจริง” ตามอัลกุรอาน หะดีษ และแบบวัตรปฏิบัติของเศาะฮาบะฮฺ
และชาวสะลัฟ ศอและฮฺ (บรรพชนยุคแรก) โดยการส่งเสริมการเรียนรู้เรื่อง (1) ฟิกฮฺ ซึ่งนอกจากจะหมายถึง
รายละเอียดต่างๆ ในนิติศาสตร์อิสลามแล้ว ยังครอบคลุมถึงจิตสานึกและความเข้าใจ ต่อพระเจ้ากับสรรพสิ่งที่
พระองค์ทรงสร้าง และต่อสิ่งที่พระองค์ทรงวางบทบัญญัติเอาไว้อีกด้วย (2) อัลหะดีษ แม้บริบททางสังคมการเมือง
ที่กดทับและความ โกรธแค้นจากความไม่เป็นธรรมจะเป็นเงื่อนไขสาคัญของการเข้าร่วมกับกลุ่มไอเอส แต่เฉพาะใน
เชิงความคิด ปัญหาใหญ่อีกประการหนึ่งที่ทาให้มุสลิมจานวนมากตกเป็นเป้าหมายแห่งปฏิบัติการข่าวสารของไอ
เอส เกิดจากการหลงเชื่อในถ้อยแถลงของพวกเขาที่สร้างความชอบธรรมและดึงดูดโน้มน้าวใจคนด้วยวิธีการอ้างอิง
8สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
กลับไปยังอัลกุรอานและหะดีษอย่างบิดเบือนและตัดต่อ ซึ่งในแง่หนึ่งแล้ว อัลหะดีษ ก็คือ ระบบการเขียน
ประวัติศาสตร์ของอิสลามอันมีพื้นฐานอยู่บนหลักการอาศัย ‚หลักฐานที่มีสายรายงานถูกต้อง‛ ไม่ใช่ ‚การตีความ‛
หรือ การหยิบใช้เอาตามใจชอบจากตาราประวัติศาสตร์ซึ่ง ‚ถูกเรียบเรียงขึ้น‛ ภายหลัง (เพราะไม่มีใครเกิดทันยุค
เศาะฮาบะฮฺ) ตามที่สมาชิกของไอเอสนิยมกระทา ดังนั้น การตรวจสอบสายรายงานว่าหะดีษหนึ่งๆ มีต้นธารมาจาก
แหล่งใดเพื่อสาวความกลับไปถึงคนที่ใกล้กับเหตุการณ์คือใกล้ตัวท่านนบี ศ็อลฯ มากที่สุด จึงเป็นแบบวิธีที่จาเป็น
ในการคัดง้างถ้อยแถลงของไอเอสอย่างมีพลัง และ (3) มันฮัจญฺ (ครรลอง/ แบบวิธีทางปัญญา) แบบสะลาฟียฺ และ
การเน้นย้าในหลักอัล-วะสะฏียะฮฺ คือ การวางตนอยู่บนความเรียบง่าย บนหลักทางสายกลาง
ข้อเสนอสุดท้ายสาหรับการขจัดสาเหตุรากเหง้าที่คนไทยจะไปเข้าร่วมกับไอเอส หรือโอกาสเสี่ยงที่
ไอเอสจะแผ่อิทธิพลเข้ามายังไทย คือ การขจัดปมเงื่อนไขในจังหวัดชายแดนภาคใต้ การผลักดัน
กระบวนการพูดคุยเพื่อสันติสุขให้มีความรุดหน้า การเปิดพื้นที่ทางการเมืองและการสร้างหลักประกันความเป็น
ธรรมในมิติต่างๆ ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อขจัดปมเงื่อนไขอันจะนาไปสู่ความเป็นไปได้ที่จะมีคนหรือ
กลุ่มคนหันไปสนับสนุนแนวทางหรือเข้าร่วมกับไอเอส เพราะถึงแม้ไอเอสกับกลุ่มเคลื่อนไหวในพื้นที่ จชต. จะมี
เป้าหมายอุดมการณ์ และยุทธศาสตร์ที่ไม่ตอบสนองต่อกัน หาก ‚ปาร์ตี้ A และ B” ไม่สามารถยกระดับการพูดคุย
ให้ลงลึกมากกว่าเดิมได้ ยังคงปรากฏข้อแสดงถึงความอ่อนไหวในความจริงใจ และยังคงปรากฏกรณีความไม่เป็น
ธรรมอยู่เป็นระยะๆ รวมถึงหากมีการควบคุมหรือจากัดพื้นที่ของภาคประชาสังคมให้หดแคบลงไป หรือพูดอีกแบบ
คือ การไม่เปิดพื้นที่ทางการเมืองให้กับผู้คนในพื้นที่มากพอ มีความเป็นไปได้ไม่น้อยที่นักต่อสู้ระดับท้องถิ่นจานวน
หนึ่งอาจจะมองว่า ตัวแทน(?)จากฝั่งของเขากาลัง ‚ติดกับดักของวงพูดคุย‛ และอาจแตกตัวออกไปในแนวทาง
สุดโต่งมากขึ้น
9สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
10
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
ผู้วิจัย : อาจารย์อาทิตย์ ทองอินทร์
ผู้ถอดความ : นางสาวปลายฟ้ า บุนนาค
ปีที่พิมพ์: พฤษภาคม 2559
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์ 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต

Mais conteúdo relacionado

Mais de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Mais de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และไทย

  • 1. ฉบับที่ 1 / 2559 Policy Brief วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และไทย ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State; IS) อาจารย์อาทิตย์ ทองอินทร์ อาจารย์ประจาภาควิชาสังคมศาสตร์ วิทยาลัยนวัตกรรมส้งคม มหาวิทยาลัยรังสิต ในโลกยุคปัจจุบัน กลุ่มก่อการร้ายกลายเป็นตัวแสดงที่มีบทบาทโดดเด่นขึ้นมาอย่างมากบนเวที การเมืองระหว่างประเทศ และโลกในช่วงราวๆ 5 ปีที่ผ่านมา (ค.ศ.2010-2015) กลุ่มก่อการร้ายที่อยู่ในความ กังวลสนใจอย่างมากต่อทั้งแวดวงวิชาการและสังคมสาธารณะโดยทั่วไป ก็เห็นจะได้แก่ (ขบวนการ) รัฐอิสลาม (Islamic State – IS) ( –‫الدولة‬‫اإلسالمية‬ al-Dawlah al-Islamiyah) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภายหลังจากที่พวก เขาสถาปนา ‚รัฐอิสลาม (?)‛ ขึ้นในดินแดนบางส่วนของซีเรียและอิรัก ปรากฏการณ์ของ ‚ขบวนการรัฐ อิสลาม‛ (Islamic State; IS) ได้เป็นกระแสที่แวดวงวิชาการทั่วโลกให้ความสนใจมากขึ้นอย่างเด่นชัด ผสม ความหวั่นเกรงของผู้คนในพื้นที่ต่างๆ ถึงการคุกคามแทรกซึมของขบวนการรัฐอิสลามเข้ามายังสังคมของตน ทั้งในเชิงกลุ่มองค์กร และในเชิงอิทธิพลทางความคิด เอกสาร Policy Brief ชิ้นนี้ จึงมุ่งนาเสนอภาพความเข้าใจ ที่รอบด้านเกี่ยวกับกลุ่มไอเอส โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น 4 ส่วนหลัก คือ (1) แนวคิดของกลุ่ม (2) การก่อตัวขึ้น ของกลุ่ม (3) นัยเกี่ยวพันกับโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และไทย และ (4) ข้อเสนอสาหรับประเทศไทยเพื่อ เตรียมพร้อมเผชิญภัยคุกคามจากไอเอส สรุปจาก ขบวนการรัฐอิสลามในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ: นัยต่อโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และไทย โดย อาจารย์อาทิตย์ ทองอินทร์ 1สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่มาภาพ : http://wallpaper.thaiware.com/upload/wallpaper/2008_08/4905_3162_080828223521_9T.jpg
  • 2. 1. การกาเนิดและขยายตัวของ (ขบวนการ) รัฐอิสลาม: มุมมองเชิงวิพากษ์ งานวิชาการกระแสหลักในโลกตะวันตกนิยมอธิบายการก่อตัวขึ้นของกลุ่มไอเอส โดยให้น้าหนักกับการ ฉายภาพพลวัตเชิงองค์กรหรือพัฒนาการของกลุ่มที่ตั้งต้นจากการนาเสนออัตชีวประวัติของอบู มุศอับ อัล-ซัร กอวี ชายชาวจอร์แดน ในฐานะผู้หมุนกงล้อของกลุ่มนับตั้งแต่การเข้าร่วมสงครามอัฟกานิสถานใน ค.ศ.1989 อย่างไรก็ตาม กลุ่มไอเอสก็เช่นเดียวกับกลุ่มก่อการร้ายอื่น คือ การกาเนิดและดารงอยู่ของพวกเขามิได้แยก ขาดจากบริบทแวดล้อมที่มีประวัติศาสตร์ ในกรณีของไอเอส สงครามอัฟกานิสถาน-โซเวียตใน ค.ศ.1979-1989 ถือเป็นบริบทต้นธารแห่งการหล่อหลอมรากแรกของไอเอสขึ้น เช่นเดียวกับที่มันเป็นเบ้าหลอมของกลุ่มก่อการ ร้ายชั้นนาในสมัยต่อมา นั่นคือ อัลกออิดะฮฺ(AQ) และญะมาอะฮฺ อิสลามียะฮฺ (JI) กล่าวอย่างวิพากษ์ก็คือ สงครามตัวแทน (proxy war) ระหว่างมหาอานาจตะวันตก คือ สหรัฐอเมริกากับโซเวียต ในช่วงสงครามเย็น ได้ กลายเป็นสนามเพาะสาคัญของกลุ่มก่อการร้ายที่กลับมาเป็นภัยคุกคามตะวันตกเสียเองในภายหลัง และยังเป็น ภัยคุกคามต่อประชาคมโลกในภาพรวมอีกด้วย ในช่วงต้นทศวรรษที่ 1990 บริบทสังคมการเมืองในตะวันออกกลางยังได้ส่งผลสาคัญต่อการก่อรูปรอย ของไอเอส กล่าวคือ ในจอร์แดน เศรษฐกิจที่ตกต่าและเหลื่อมล้า การดาเนินนโยบายต่างประเทศเอียงข้าง สหรัฐอเมริกา รวมทั้งจุดยืนที่สนับสนุนการเจรจาสันติภาพอาหรับกับอิสราเอล ส่งผลให้เกิดกระแสการลุกฮือไม่ พอใจจากมวลชน พวกเขาจานวนหนึ่งถ่ายเทความภักดีต่อรัฐและระบอบการเมืองทางโลกไปสู่ศาสนาและทาง นาตามอัลกุรอาน การกวาดล้างผู้คิดต่างอย่างเหวี่ยงแห โดยเฉพาะการต้อนจับเข้าเรือนจาพิเศษสะวาเกาะฮฺ ส่งผลบีบคั้นให้กลุ่มเคลื่อนไหวในแนวทางสันติกลายสภาพไปเป็นกลุ่มที่เชื่อในการใช้กาลัง บรรยากาศภายใน เรือนจาเหนี่ยวนาให้บุคคลแบบซัรกอวี ซึ่งเป็น ‘สายเหยี่ยว’ ก้าวขึ้นเป็นผู้นาได้มากกว่ามักดีซี ซึ่งเป็น ‘สาย พิราบ’ มาตรการของรัฐบาลจอร์แดนจึงมีส่วนช่วยสร้างกลุ่มก้อนผู้ติดตามให้กับซัรกอวีได้ไม่น้อย ส่วนในอิรัก รัฐบาลบะอัธของซัดดัม ฮุสเซนซึ่งยีนอยู่บนหลักคิดแนวทางการเมืองแบบโลกียวิสัย (Secularism) มาตลอด ได้เริ่มหันมาใช้ปัจจัยศาสนาเป็นเครื่องมือทางการเมืองอย่างเข้มข้นมากขึ้น ทั้งใน การเมืองภายใน และในการเมืองระดับภูมิภาค ส่งผลให้รัฐบาลซัดดัมสามารถบรรเทาบรรยากาศเผชิญหน้ากับ ขบวนการอิสลามการเมืองกลุ่มต่างๆ ได้มาก แต่ขณะเดียวกัน ก็ทาให้ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกับกลุ่มชน ชีอะฮฺขาดสะบั้นลง รวมทั้งเพิ่มความตึงเครียดระหว่างประชากรซุนนียฺกับชีอะฮฺ นอกจากนี้ การถูกคว่าบาตร จากนานาชาติหลังสงครามกับคูเวตทาให้รัฐบาลซัดดัมจาต้องวางระบบตลาดมืดและเครือข่ายขนถ่ายสินค้าข้าม เขตแดนแบบผิดกฎหมายขึ้นรองรับเศรษฐกิจของประเทศ อันมีกลุ่มระดับท้องถิ่นของเมืองต่างๆ โดยเฉพาะชน เผ่าทางฝั่งตะวันตกของประเทศเป็นกลไกขับเคลื่อนสาคัญ ซึ่งปัจจุบันพื้นที่และกลไกของระบบและเครือข่าย ดังกล่าวถูกควบคุมโดยไอเอส และกลายเป็นปัจจัยอุปสรรคสาคัญต่อการถอนรากกลุ่มขบวนการดังกล่าว ด้วย เหตุนี้ อิรักในวันที่อเมริกาบุกเข้ามา เมื่อ ค.ศ.2003 จึงเป็นอิรักที่ส่วนหนึ่งถูกขับเคลื่อนด้วยแรงผลักของกลุ่ม อิสลามนิยมสุดโต่งซึ่งก่อตัวและพัฒนาอย่างค่อยเป็นค่อยไปตั้งแต่ทศวรรษที่ 1990 จากยุทธศาสตร์ของรัฐบาล ซัดดัมที่หมายมุ่งหยิบยืมปัจจัยศาสนามาใช้ประโยชน์ทางการเมือง พร้อมกันนั้นก็อุดมไปด้วยเครือข่าย อาชญากรรมข้ามเขตแดน กลุ่มติดอาวุธของรัฐ และกลุ่มติดอาวุธชนเผ่า รวมทั้งคลังอาวุธจานวนมาก ซึ่งเป็นสิ่ง ที่ระบอบซัดดัมเคยใช้เพื่อรักษาความมั่นคงของระบอบ และทิ้งมรดกเอาไว้หลังระบอบถูกโค่นจากอานาจ ภายนอก มรดกดังกล่าวแตกกระจายดังผึ้งแตกรังกลายเป็นเซลล์ก่อความไม่สงบที่ไม่รวมศูนย์จานวนมาก ดังนั้น ไอเอสจึงมิได้ถูกสร้างขึ้นจากการโค่นล้มระบอบซัดดัมลงไป หากแต่เป็นพลวัตที่สืบเนื่องภายหลังความ ตายของระบอบเสียมากกว่า 2สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 3. จากที่กล่าวมานี้ จะเห็นได้ว่า กลุ่มไอเอสนั้นคือกลุ่มก้อนที่ก่อตัวและขยายขึ้นบนบริบทแห่งเกม การเมืองของรัฐ ทั้งภายในขอบอาณาเขตของตนเอง และการเมืองกับรัฐอื่น ซึ่งมหาอานาจตะวันตกก็มีส่วนไม่ น้อยในการก่อตัวขึ้นของไอเอส ดังที่เราจะเห็นสถานการณ์ไม่ต่างกันนักในกรณีสงครามกลางเมืองซีเรีย ที่ สหรัฐอเมริกาเข้ามาให้การสนับสนุนหลายกลุ่มติดอาวุธเพื่อโค่นล้มรัฐบาลอัสซาด และหนึ่งในกลุ่มเหล่านั้น คือ ส่วนงอกของขบวนการรัฐอิลามแห่งอิรัด (ISI) การสนับสนุนของอเมริกามีผลทาให้พวกเขายกระดับขีดอานาจ ขึ้นมาและแผ่อิทธิพลเข้ามายังพื้นที่ในซีเรียจนสามารถประกาศความเป็นรัฐอิสลามแห่งอิรักและซีเรีย (ISIS) และความเป็นรัฐอิสลามที่รื้อฟื้นการปกครองระบอบเคาะลีฟะฮฺขึ้นใหม่ (IS) ในท้ายที่สุด ซึ่งในปัจจุบัน สหรัฐอเมริกาก็กาลังสนับสนุนการติดอาวุธของกองกาลังชาวเคิร์ดในซีเรียเพื่อ ‘ยืมมือ’ ไปรบภาคพื้นดินกับไอ เอส นามาซึ่งการก่อตัวขึ้นของกลุ่ม YPG อันจะกลายเป็นตัวแสดงที่มีบทบาทอย่างแน่นอนในสถานการณ์ ตะวันออกกลางภายภาคหน้า การฉายภาพให้เห็นบริบทที่ขับเคลื่อนและบ่มเพาะไอเอสและกลุ่มก่อการร้ายอื่น ดังที่ว่ามานี้ จึงมิใช่นาเสนอเพื่อโยนความผิดบาปให้กับตะวันตก หากแต่เพื่อชี้ให้เห็นว่า หากตะวันตกรวมทั้ง ประชาคมโลกยังไม่ถอดบทเรียนเหล่านี้ โลกก็จะทาผิดพลาดซ้าแล้วซ้าเล่า และต้องเผชิญภัยคุกคามจากการก่อ การร้ายไปอย่างไม่มีวันสิ้นสุด 2. แนวคิดของ (ขบวนการ) รัฐอิสลาม งานวิชาการจานวนมากในโลกวิชาการตะวันตก มักมีข้อสรุปสอดคล้องกันว่า (ขบวนการ) รัฐอิสลาม หรือไอเอส มีฐานรากอุดมการณ์แบบ ‚สะลาฟียฺ‛ (Salafism) หรือ ‚สะลาฟียฺญิฮาด‛ (Salafi Jihadism) ซึ่งที่จริงแล้ว ชุด ความคิดและวิถีทางของไอเอสนั้นห่างไกลจากมันฮัจญฺ ( ‫المنهج‬หมายถึง วิถีทาง/ครรลอง/แบบวิธีทางปัญญา) ของสะลาฟียฺอย่างมาก รวมทั้งไม่อาจเรียกได้ว่าสิ่งที่พวกเขาทานั้นคือการ ‚ญิฮาด‛ ( ‫جهاد‬) ) เสียด้วยซ้า กล่าวคือ ‚สะลาฟียฺ‛ คือ มันฮัจญฺหรือวิถีทาง/ครรลองของการดาเนินชีวิตและแนวทางในการเข้าใจศาสนาอย่าง ถูกต้อง โดยยึดตามแบบอย่างความเข้าใจของชาว สะลัฟ (กลุ่มชนมุสลิมีนสามศตวรรษแรกจากประชาชาติ อิสลามของท่าน นบีมุฮัมหมัด ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะ ซัลลัม) อันนับว่าเป็นชนรุ่นที่ประเสริฐที่สุดของ ประชาชาติมุสลิม ซึ่งวางอยู่บนความเรียบง่าย ทุ่มเทความสนใจให้กับการบ่มเพาะอีมาน (ศรัทธา) ที่ถูกต้อง มั่นคง และปฏิเสธการเปิดช่องสาหรับใช้ตรรกศาสตร์ตีความหรือการเอาชนะกันทางวาทโวหาร ในขณะที่ ‚ญิฮาด‛ มีความหมายพื้นฐานว่า การดิ้นรนต่อสู้ในหนทางแห่งพระเจ้า ซึ่งครอบคลุมทุก การปฏิบัติ และทุกภารกิจของมุสลิมที่ต้องใช้ความอุตสาหะ ความพยายาม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเชิดชูศาสนา ของอัลเลาะฮฺ คาว่าญิฮาดจึงมีความหมายกว้างกว่าสงคราม ญิฮาดไม่จาเป็นจะต้องเป็นสงครามเสมอไป และทุก สงครามก็ไม่จาเป็นจะต้องเป็นญิฮาด เพราะสงครามในอิสลามต้องอยู่ภายใต้จุดประสงค์ กฎเกณฑ์ เงื่อนไข และ จรรยาบรรณอันสูงส่ง รวมทั้งมีหลักการกาหนดเช่นเดียวกับกรอบคิดสงครามอันเป็นธรรม (Just War) ที่ก็ พัฒนาขึ้นจากการทาสงครามของพวก ‚คริสเตียน‛ เช่นเดียวกัน กฎเกณฑ์การทาสงครามที่จะนับว่าเป็น สงครามศักดิ์สิทธิ์ตามหลักญิฮาดนั้น อุดมไปด้วยข้อห้าม และข้ออนุมัติมากมาย รวมทั้งมีรายละเอียดยิบย่อย หลายประการ อาทิ ต้อง ‚มีความพร้อม‛ ที่จะทาสงคราม และประกาศโดยผู้นาสูงสุด (อิมาม) ห้ามทาสงคราม เพื่อบังคับให้เปลี่ยนศาสนา ห้ามจู่โจมโดยไม่แจ้งล่วงหน้า ห้ามฆ่าผู้ทรงศีล ห้ามฆ่า เด็ก สตรี คนชรา และผู้ป่วย ห้ามทาลายต้นไม้และพืชผล ห้ามบ่อนทาลายและทาร้ายปศุสัตว์ของศัตรู ฯลฯ ด้วยรายละเอียดมากมายเหล่านี้ 3สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 4. จึงมีผู้กล่าวไปถึงขั้นว่า ‚สาหรับมุสลิมนั้นการทาสงครามที่เป็นญิฮาด หรือทาสงครามอย่างถูกต้องตามศาสนา นั้นเป็นเรื่องอันยุ่งยากเสียจนยอมตายยังง่ายกว่า‛ จากที่กล่าวมาข้างต้นจะพบว่า แนวทางและหลักคิดของไอเอสนั้น ไม่เข้าร่องรอยของสะลาฟียฺและญิ ฮาดเลยแม้แต่น้อย อุดมการณ์ของพวกเขาวางอยู่บนเทคนิคการหยิบฉวยแบบวิธีทางปัญญาของสะลาฟียฺและ หยิบยกตัวบทอัล-กุรอาน หะดีษ ตลอดจนประวัติศาสตร์อิสลามมาใช้ แต่เลือกหยิบมาเพียงบางส่วนเพื่อรับใช้ เป้าหมายของกลุ่มผ่านกระบวนการตัดแต่งบิดเบือน ทั้งยังขับเคลื่อนด้วยความลุ่มหลง อารมณ์ และบิดอะฮฺ (อุตริกรรม) ไอเอสมีทรรศนะต่อโลกในแบบที่ ‚อิสลามเผชิญหน้ากับส่วนที่เหลือทั้งหมด‛ (Islam versus the Rest) ซึ่งเป็นโลกทัศน์แบบแบ่งแยกสองด้านตรงข้ามอย่างชัดเจน (binary worldview) นอกจากนี้ ไอเอสยังมีแนวคิดสุดโต่งด้านตักฟีร (การกล่าวหามุสลิมด้วยกันว่าตกศาสนาหรือเป็นผู้ ปฏิเสธศรัทธา) ใช้คาพูดที่รุนแรงต่อมุสลิมด้วยกัน โดยมองว่ามุสลิมที่แท้จริงในสายตาพวกเขา ได้แก่มุสลิมที่เข้า ร่วมกับพวกเขาเท่านั้น ส่วนมุสลิมที่ไม่มาเป็นส่วนใดส่วนหนึ่งในขบวนเคลื่อนไหวของไอเอสจะถูกจาแนก ออกเป็น 5 จาพวก คือ (1) คนมุรตัด ( ผู้ตกศาสนา) (2) ผู้ปฏิเสธศรัทธา (3) พวกเคารพบูชารูปปั้นหรือ ฏอฆูต (4) ชนชีอะฮฺ ซึ่งไอเอส เรียกว่า รอฟิเฎาะฮฺ ( การไม่ยอมรับ/ การปฏิเสธ) อันมีความหมายอย่างง่ายคือ กลุ่มชน ที่ยึดในแนวทางเบี่ยงเบนในเรื่องเกี่ยวกับอะกีดะฮฺ และปฏิเสธไม่ยอมรับการเป็นเคาะลีฟะฮฺของท่านอบูบักรฺ ท่านอุมัร และท่านอุษมาน และ (5) บรรดามุชริกีน หรือผู้ตั้งภาคีต่อพระเจ้า ซึ่งทั้งหมดนี้ได้รับการสนับสนุนไม่ ทางใดก็ทางหนึ่งจากบรรดาผู้รุกรานตะวันตก (crusaders) ยิว และคนนอกศาสนา ดังนั้น กล่าวโดยสรุปแล้ว แนวคิดของไอเอสจึงมีลักษณะของการกาหนดเป้ าหมายอุดมคติ โดยใช้แนวทางเคลื่อนไหวแบบปฏิวัติ บนฐานคิดสาคัญ คือ ตักฟีร (the Revolutionary Idealism mainly based on Takfir measure) 3. ผลกระทบต่อโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และไทย การขยายบทบาทของ (ขบวนการ) รัฐอิสลามไปสัมผัสปริมณฑลนอกเหนือพื้นที่อิรักและซีเรีย สามารถ จาแนกได้เป็น 3 รูปแบบปฏิบัติการด้วยกัน ประการแรก งานปฏิบัติการทางข่าวสาร (Information Opera- tion; IO) ซึ่งถือเป็นหนึ่งในเสาหลักยุทธศาสตร์การต่อสู้ของไอเอสที่มีความสาคัญยิ่งยวด พวกเขาวางโครงสร้าง กลไกการสื่อสารอย่างสลับซับซ้อนแบ่งได้ 3 ระดับ: (1) หน่วยสื่อสารกลาง ได้แก่ สภาการสื่อสารมวลชน (2) สานักสื่อสารระดับภูมิภาคในแต่ละเขตปกครอง ( –‫والية‬ Wilayah) และ (3) การสื่อสารส่วนตัวของสมาชิก นัก ต่อสู้ รวมถึงผู้สนับสนุนไอเอสทั่วโลก นอกจากนี้ ยังมีสื่อกลางในรูปของนิตยสารออนไลน์ที่ได้รับการกล่าวถึง อย่างกว้างขวาง คือ ดาบิคแม็กกาซีน ส่วนเนื้อหาหลักๆ ที่ถูกถ่ายทอดเผยแพร่บ่อยครั้ง คือ การฉายภาพตอก ย้าความเป็น ‘รัฐ’ ของพวกเขา ผ่านการนาเสนอกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นภารกิจของรัฐ อาทิ การเปิดโรงเรียน การ สร้างถนน การซ่อมแซมสาธารณูปโภคให้กับคนในพื้นที่ที่ยึดครองได้ ทั้งนี้ก็เพื่อมุ่งหมายโดยตรงที่จะสะท้อนให้ เห็นว่าพวกเขาเข้ามาทาหน้าที่แทนรัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ และบางครั้งก็อาจมีประสิทธิภาพสูงกว่าด้วยซ้า สาหรับประชาชนบางกลุ่มที่ไม่เคยได้รับการเหลียวแล หรือกลุ่มที่ได้รับการปฏิบัติในมาตรฐานที่ต่ากว่าโดยรัฐ ของเขาในช่วงที่ผ่านมา อันเป็นวิธีการสาคัญในการรองรับความชอบธรรมในเขตอิทธิพลของไอเอส ขณะเดียวกัน การเผยแพร่ภาพกราฟิกที่เต็มไปด้วยความรุนแรง โหดเหี้ยมของพวกเขาเป็นอีกส่วนหนึ่งของ 4สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 5. ปฏิบัติการข่าวสาร แต่เป็นไปในแบบแผนของสงครามจิตวิทยา (psychological warfare) มุ่งฝังรากความหวาดกลัว ไปในภาพจาของบรรดาศัตรู นอกจากนี้ การสถาปนาระบอบเคาะลีฟะฮฺโดยจงใจประกาศในวันเข้าสู่เดือนรอมฎอน รวมทั้งพิถีพิถันที่จะ นาเสนอภาพของผู้นากลุ่มอย่างอบู บักรฺ อัล-บักฮฺดาดี เปิดตัวต่อสาธารณะชนทั่วโลก ด้วยการเทศนาธรรม ณ มัสยิดกลางแห่งโมซุล ในวันละหมาดญุมุอะฮฺ ศุกร์แรกหลังการสถาปนารัฐอิสลาม (4 กรกฎาคม ค.ศ.2014) ใน ฐานะ ‚กาหลิป อิบรอฮีม‛ และบันทึกคลิปวีดีโอเผยแพร่ไปทั่วโลกทางสื่อออนไลน์ ตลอดจนการหยิบใช้ "คา" และ "ภาษา" ของอิสลามอย่างบ่อยครั้ง โดยนามาตีความ ‘หามุมบิด’ เรียบเรียง ออกแบบสื่อ และถ่ายทอดออกมาอย่าง ละเอียดลงตัว ในหลายช่องทาง หลากภาษา ด้วยรูปแบบสื่อที่มีคุณภาพสูง และทันควันต่อสถานการณ์ ของเหล่านี้ ก็สะท้อนว่าไอเอสไม่ใช่แค่เพียงกลุ่มคนที่คลุ้มคลั่งไร้เหตุผล หากแต่เป็นกลุ่มผู้หยิบฉวยพลังของศาสนา "อย่างจงใจ และมีสติ" มาใช้ปฏิบัติการข่าวสารอย่างละเมียดละไม เพื่อตอบสนองเป้าประสงค์ทางการเมือง และเป้าสาคัญคือ การ 'recruit' คนทั่วโลก ด้วยโวหารอันทรงพลังของศาสนา ดังนั้นแล้ว ยิ่งคนทั่วไปติดหล่มอคติตนเองโจมตีไปที่ ศาสนาอิสลามอย่างเข้าใจผิด ถ้อยวลีของไอเอสก็จะยิ่งทรงพลังและตอบโจทย์ผู้คน และความแปลกแยกระหว่าง ศาสนายิ่งปรากฏชัด การแบ่งขั้ว (radicalize) ในสังคมและความรุนแรงก็ยิ่งหลีกเลี่ยงได้ยากขึ้น ประการที่สอง ปฏิบัติการทางการเมือง เป้าหมายแห่งการตั้งรัฐอิสลามของกลุ่มไอเอส ไม่ใช่เพียงการ สถาปนาอานาจปกครองเหนือพื้นที่ที่ยึดครองได้ในซีเรียและอิรักเท่านั้น หากแต่เป้าหมายคือ ‚Global Caliphate/ Worldwide Caliphate” อันหมายถึง การนาระบอบเคาะลีฟะฮฺมาใช้ทั่วทั้งโลก (ซึ่งแน่นอนว่าอาจจะเป็นเพียงโวหาร ชวนเชื่อหรือเป็นเป้ายุทธศาสตร์จริงก็ได้) โดยนับตั้งแต่มิถุนายน 2014 ถึงปัจจุบัน (เมษายน 2016) มีการประกาศ ‚วิลายะฮฺ‛ (ความเป็นเขตปกครอง/ส่วนหนึ่งของรัฐอิสลาม) ภายนอกที่ซีเรีย-อิรักแล้ว 8 พื้นที่ คือบางส่วนของ (1) ลิเบีย (2)คาบสมุทรซีนายของอียิปต์ (3)อัลจีเรีย (4) พรมแดนอัฟกานิสถาน-ปากีสถาน (5) เยเมน (6) แอฟริกา ตะวันตก (7) แถบคอเคซัสตอนเหนือ และ (8) เกาะบาซิลัน ตอนใต้ของฟิลิปปินส์ ทั้งนี้ แบบแผนการขยายอิทธิพล ทางการเมืองของไอเอสในรูปการตั้งวิลายะฮฺนอกพื้นที่ซีเรียและอิรักมีอยู่ 2 ประการหลัก คือ (1) พื้นที่ทั้งหมดที่ กล่าวมาล้วนมีสภาพสุญญากาศเชิงอานาจ สงครามกลางเมือง หรืออย่างน้อยที่สุดคือเป็นพื้นที่ที่อานาจรัฐชาติที่ ตั้งอยู่ไม่สามารถเข้าไปสถาปนาอานาจนาและคุมระเบียบ (order) เหนือบริเวณนั้นได้ กับ (2) พื้นที่เหล่านั้นมีเซลล์ ก่อการร้ายระดับท้องถิ่นปฏิบัติการอยู่เดิมแล้วเซลล์เดิมเหล่านี้ล้วนมีศัตรู และเป้าหมายทางการเมืองในระดับ ท้องถิ่นที่แตกต่างกันไป พวกเขาต่างให้น้าหนักไปที่การต่อสู้ในท้องถิ่นตนเองต่อระบอบที่เป็นอานาจนิยม กดขี่ พวกเขา ไม่เป็นธรรม และที่สาคัญคือเป็นระบอบที่พวกเขามักมองว่าสร้างสรรพปัญหาขึ้นมาก็เพราะ ‘ขัดกับหลัก อิสลาม’ การประกาศสวามิภักดิ์ต่อไอเอส (หรือสาหรับบางกลุ่ม ก็มีการสวามิภักดิ์ต่ออัลกออิดะฮฺในช่วงก่อนหน้า) ทาให้กลุ่มก่อการร้ายระดับท้องถิ่นเหล่านั้นยกระดับจากกลุ่มที่มีชื่อเสียงไม่มากไปเป็นที่รับรู้ในวงกว้างอันมีผล อย่างสาคัญต่อการดึงดูดมวลชนเข้าร่วมและสนับสนุน ดังที่ซาเมอร์ ชีฮาต้า (Samer Shehata) ผู้เชี่ยวชาญด้าน การเมืองตะวันออกกลาง แห่งมหาวิทยาลัยโอกลาโฮม่า กล่าวว่า ‚"ISIS is a brand name. … It has widespread recognition, and in the eyes of many adherents, it's successful.” ขณะเดียวกัน การเข้าร่วมกับไอเอสยังทาให้ กลุ่มเหล่านี้เข้าถึงทรัพยากรอื่นๆ ที่สนับสนุนการต่อสู้ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นได้มาก เช่น เงินทุน และองค์ความรู้ ในด้านอาวุธ 5สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 6. ประการที่สาม ปฏิบัติการทางการทหาร นับตั้งแต่การประการสถาปนาระบอบเคาะลีฟะฮฺ (มิถุนายน 2014) มาจนถึงปัจจุบัน (เมษายน 2016) การโจมตีครั้งใหญ่ๆ ของไอเอสต่อพื้นที่ภายนอกซีเรียและอิรักปรากฏ ออกมาทั้งสิ้น 72 ครั้ง ทั้งนี้ แบบแผนการโจมตีดังกล่าวเป็นไป 2 ลักษณะหลักคือ (1) การก่อเหตุโดยเซลล์ก่อการ ร้ายระดับท้องถิ่นที่เป็นพันธมิตร เครือข่าย หรือสวามิภักดิ์ต่อไอเอส กับ (2) การก่อเหตุโดยปัจเจกหรือกลุ่มบุคคลที่ สนับสนุนและเห็นด้วยกับแนวคิดของไอเอส ทั้งนี้ กลุ่มที่ปฏิบัติการในทั้งสองลักษณะมีทั้งที่เป็นกลุ่มองค์กรอันมี โครงสร้างบังคับบัญชาชัดเจน กลุ่มเซลล์เล็กๆ ที่รวมตัวกันหลวมๆ ไปจนถึงการลงมือโดยคนเดียวหรือไม่กี่คนที่ เรียกว่า ‚ Lone Wolf ” แต่อาจกล่าวโดยรวมได้ว่า บรรดาเหตุการณ์ส่วนใหญ่นั้นเกิดจากฝีมือของกลุ่มก่อการร้ายที่ เกิดขึ้นภายในประเทศ หรือที่เรียกว่า ‚Homegrown Terrorist” มากกว่าจะเป็นฝีมือของเครือข่ายก่อการร้ายข้าม ชาติ ในขณะที่เป้าหมายการโจมตีนั้นมี 2 ส่วนใหญ่เช่นกัน คือ (1) ประเทศศัตรูของไอเอส อันหมายถึงบรรดา พันธมิตรตะวันตกที่เข้าร่วมปฏิบัติการโจมตีทางอากาศ กับ (2) ศัตรูในพื้นที่ปฏิบัติการของบรรดาเซลล์ระดับ ท้องถิ่นที่เข้าสวามิภักดิ์ไอเอสเอง ซึ่งแม้ไอเอสจะได้รับประโยชน์จากการอ้างผลงาน/ความรับผิดชอบเหล่านั้น แต่ เป้าหมายการถูกโจมตีจะมีลักษณะแตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ เช่น บางกลุ่มพุ่งโจมตีเป้าหมายที่เป็นสัญลักษณ์ ของตะวันตก ส่วนบางกลุ่มพุ่งโจมตีเป้าหมายที่เป็นระบอบ/ชนชั้นนาของประเทศซึ่งเป็นมุสลิมด้วยกัน หรือบาง กลุ่ม/บางปัจเจกบุคคลมีแนวโน้มก่อเหตุต่อพื้นที่สาธารณะเขตเมืองซึ่งมีคนมาก เพื่อระบาย/แสดงออกซึ่งความ โกรธเกรี้ยวต่อรัฐและสังคมนั้นๆ สาหรับนัยเกี่ยวพันกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีนักรบจากแถบนี้ไปร่วมกับไอเอสอยู่ที่ตัวเลขระหว่าง 200-800 คน มาจากประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ (ยังไม่พบว่ามีคนไทย) พวกเขารวมกลุ่ม กันที่ซีเรียในชื่อว่า ‚คอติบะฮฺ นูซันตารา ลิด อิสลามิก เดาละฮฺ‛ (Katibah Nusantara Lid Islamic Dawlah) อัน ห ม า ย ถึ ง ก อ ง ก า ลั ง ที่ มี เ ป้ า ห ม า ย ส ร้ า ง รั ฐ อิ ส ล า ม ใ น โ ล ก ม า เ ล ย์ (ซึ่งปัจจุบันหมายถึงพื้นที่มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ และสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของ ประเทศไทย) สาเหตุที่คนแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปเข้าร่วมกับไอเอสที่ซีเรียนั้น งานของ Joseph Chinyong Liow วิเคราะห์ว่าเป็นผลมาจากปัจจัยที่ 3 ประการ คือ (1) มุสลิมจานวนหนึ่งในภูมิภาคนี้เห็นการกาเนิดของไอ เอสสอดคล้องกับปรากฏการณ์ที่ศาสนาได้อธิบายไว้ล่วงหน้าอันเกี่ยวเนื่องกับสัญญาณวันสิ้นโลก (2) ประเด็นเรื่อง ความขัดแย้งซุนนียฺ-ชีอะฮฺ ที่ทาให้มุสลิมจานวหนึ่งมองว่า การไปต่อสู้โค่นล้มรัฐบาลชีอะฮฺที่โหดเหี้ยม (ซีเรีย) และ รัฐบาลชีอะฮฺที่ผูกขาดอานาจเป็นหุ่นเชิดของอเมริกา (อิรัก) เป็นสิ่งที่ชอบธรรมและควรจะต้องทา และ (3) วิกฤติ ด้านมนุษยธรรมในซีเรียเป็นเรื่องสาคัญอันหนึ่งที่ไม่ควรมองข้าม ซึ่งเป็นเรื่องที่มุสลิมในภูมิภาคนี้ต่างมีความเห็น อกเห็นใจ จนเกิดเป็นเครือข่ายของการช่วยเหลือพี่น้องมุสลิมผู้ทุกข์ยาก หลายกลุ่มเสี่ยงอันตรายเข้าไปให้ความ ช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมถึงสมรภูมิรบในซีเรีย แต่บางคนเมื่อไปถึงดินแดนภายใต้การควบคุมของไอเอส ก็อาจ หลงเคลิ้มไปกับแนวทางการต่อสู้และอุดมการณ์ของไอเอส จนถึงขั้นเข้าร่วมการต่อสู้ นอกจากการเดินทางไปร่วมรบแล้ว ยังพบว่า กลุ่มก่อการร้ายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จานวนมากทยอย กันประกาศสวามิภักดิ์ต่อเคาะลีฟะฮฺงอบู บักรฺ อัล-บักฮฺดาดีมาอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ปลาย ค.ศ.2014 เป็นต้นมา ซึ่งรวมไปถึงกลุ่มใหญ่อย่างเจไอ และอาบูไซยาฟด้วย ทาให้เกิดความหวาดวิตกกันว่า ไอเอสจะขยายฐานมาตั้งมั่น ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และขอบเขตความเป็นรัฐอิสลามที่ทาลายหลักการอิสลามแทบทุกข้อนี้จะแผ่ขยายออกไป อย่างไรก็ตามแม้หลายกลุ่มจะประกาศสวามิภักดิ์ต่อไอเอส แต่พวกเขาขาดแคลนผู้นาที่ทุกกลุ่มให้การยอมรับอย่าง สอดคล้องกัน ทาให้ไม่สามารถสร้างความเป็นเอกภาพระหว่างกันขึ้นมาได้ ไม่ต่างอะไรกับประชาคมอาเซียนที่รัฐ สมาชิกก็มิได้มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ่ง 6สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 7. ข้อนี้นับว่าอาจจะเป็นธรรมชาติการรวมกลุ่มของผู้คนแถบเอเชียอุษาคเนย์ก็ว่าได้ อันทาให้เป้าหมายของการสร้าง รัฐอิสลามทั้งภูมิภาคนั้นค่อนข้างห่างไกลจากความเป็นจริงมากพอสมควร กระนั้นก็ดี แม้ว่าวินาศกรรมขนาดใหญ่ที่ ต้องอาศัยการระดมทรัพยากรระหว่างกลุ่มต่างๆ จะมีโอกาสเกิดขึ้นได้ยาก แต่คาดว่า ‘ความพยายาม’ ก่อเหตุขนาด เล็กจะมีอยู่บ่อยครั้งจากการที่กลุ่มต่างๆ แข่งขันกันแสดงศักยภาพนา ในส่วนของผลกระทบต่อประเทศไทย ยังไม่มีข้อมูลระบุว่ามีคนไทยเข้าร่วมรบกับไอเอสที่ซีเรียแต่อย่างใด ส่วนขบวนการต่อสู้ที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (จชต.) นั้น มีอุดมการณ์และยุทธศาสตร์ต่อสู้ที่แตกต่างและไม่ลงใน ร่องแนวทางเดียวกับไอเอสแต่อย่างใด กล่าวคือ ในขณะที่ไอเอสเป็นกลุ่มก่อการร้ายศาสนานิยมที่มุ่งสร้างรัฐศาสนา ขบวนการต่อสู้ที่ จชต. กลับมีลักษณะเป็นกลุ่มก่อการร้ายชาตินิยมที่มีเป้าหมายคือ เอกราชและการสร้างรัฐชาติ ของชาวมลายูปาตานี ซึ่งเป้าหมายนี้ขบวนการต่อสู้ที่ จชต. ใช้ยุทธศาสตร์หลักคือ การยึดโยงอยู่กับหลักการ กาหนดใจตนเอง (self-determination) ที่สหประชาชาติให้การรับรองตามกฎหมายระหว่างประเทศ โดยใช้ ปฏิบัติการข่าวสารในสถานการณ์ต่างๆ ที่รัฐไทยทาการละเมิดสิทธิมนุษยชน กระทาการใดใดที่ไร้มนุษยธรรม และ การละเมิดกรอบพันธสัญญาระหว่างประเทศในส่วนที่ให้ความคุ้มครองสิทธิความเป็นมนุษย์และสิทธิพลเมืองอย่าง เป็นสากล ดังนั้น ถ้าพวกเขาตัดสินใจร่วมกับไอเอส แทนที่สหประชาชาติและตะวันตกอาจเป็นตัวแปรช่วยแยก ประเทศได้ ตัวแสดงเหล่านี้จะหัน 360 องศากลับมาเป็นตัวแปรรองรับความชอบธรรมต่อ ‚ปฏิบัติการใดใดก็ได้‛ ของรัฐไทยในการบดขยี้เครือข่ายของภัยคุกคามตัวร้ายที่สุดของตะวันตกแทน อย่างไรก็ดี ในระดับพื้นที่ก็อาจ ปรากฏการใช้การต่อสู้ของไอเอสกระตุ้นปลุกเร้าสร้างแรงบันดาลใจให้กับการต่อสู้ของกลุ่มระดับปฏิบัติการใน ท้องถิ่นบ้างพอสมควร แต่คาดว่าเป็นเพียงการใช้ไอเอสเป็นตัวอย่างให้คนท้องถิ่นต่อสู้เพื่อเป้าหมายระดับท้องถิ่น ไม่ใช่การปลุกกระตุ้นให้ไปร่วมกับไอเอสแต่อย่างใด สาหรับความเสี่ยงที่ไทยจะเป็นเป้าถูกโจมตีนั้น ที่ผ่านมา ไทยตกเป็นพื้นที่ก่อเหตุโดยกลุ่มก่อการร้ายข้าม ชาติต่างๆ มาแล้วทั้งสิ้น 12 ครั้ง (เท่าที่ปรากฏข่าวในทางเปิด) ลักษณะการเกิดเหตุก่อการร้ายข้ามชาติในไทยส่วน ใหญ่ มิได้มีเป้าหมายโจมตีประเทศไทยโดยตรง แต่มุ่งทาลายผลประโยชน์ของศัตรูที่ดารงอยู่ในพื้นที่ของประเทศ ไทย เช่น สถานทูต บุคคลสาคัญ บริษัท ของชาตินั้นๆ เป็นต้น เหตุลักษณะนี้จะเกิดขึ้นเนื่องจากสาเหตุสาคัญคือ ระบบรักษาความปลอดภัยของไทยอ่อนแอกว่าระบบของชาติเป้าหมายของการก่อเหตุ หรือที่เรียกอีกอย่างว่าเป็น ‚Soft Target” ขณะเดียวกัน ประเทศไทยยังเป็นพื้นที่ดึงดูดการเข้ามาเคลื่อนไหว และก่อเหตุโจมตีด้วยเหตุผลอีก 6 ข้อ คือ (1) การมีขบวนการลักลอบพาคนเข้าเมือง และมีช่องทางลักลอบเข้าเมืองไทยตามบริเวณชายแดนอยู่หลาย จุด (2) การตรวจคนเข้าเมืองของไทยไม่เข้มงวดเท่าที่ควร ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยว (3) การมีแหล่งปลอมแปลงเอกสารชั้นเยี่ยมอยู่หลายแห่ง (4) ประเทศไทยเป็นแหล่งที่อาจจัดหาเงินทุนที่ใช้ในการ ก่อการร้ายได้ มีการค้าขายสินค้าและบริการอยู่ตลอด 24 ชั่วโมง และมีการแพร่กระจายยาเสพติดอยู่มาก (5) การ เป็นศูนย์กลางการคมนาคมในภูมิภาค และ (6) การสามารถจัดหาอาวุธยุทโธปกรณ์ที่จะใช้ในการก่อการร้ายได้ง่าย ในส่วนของความเสี่ยงจากการโจมตีของกลุ่มไอเอส พบว่า เมื่อปลายปี 2015 หน่วยต่อต้านข่าวกรองของ รัสเซียประสานผ่านสภาความมั่นคงแห่งชาติแจ้งเตือนความเป็นไปได้ในการก่อเหตุร้ายของกลุ่มไอเอส ต่อ ผลประโยชน์ของรัสเซียในประเทศไทย โดยระบุว่า มีชาวซีเรีย 10 รายที่เกี่ยวข้องกับไอเอส เดินทางเข้าไทยแล้ว ระหว่างวันที่ 15-31 ตุลาคม ค.ศ.2015 ก่อนแยกกลุ่มเดินทางไปพัทยา 4 ราย ภูเก็ต 2 ราย กทม. 2 ราย ส่วนอีก 2 ราย ไม่ทราบว่าอยู่ที่ใด และยังไม่ทราบชื่อทั้งหมด ซึ่งทางการไทยให้การปฏิเสธว่าไม่มีอยู่จริง และหลังเหตุการณ์ ก่อการร้ายจาการ์ตาเมื่อมกราคม 2016 Tito Karnavian ผู้กากับการตารวจของจาการ์ตา (Inspector General of Police; ตาแหน่งในขณะนั้น) ได้แถลงกับสื่อหลังเกิดเหตุการณ์ส่วนหนึ่งระบุว่า เซลล์ (ของไอเอส) ได้เข้ามาฝังตัว 7สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 8. ในประเทศไทยเรียบร้อยแล้ว และช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์ 2016 สหรัฐอเมริกาก็แจ้งเตือนไทยว่า กลุ่มไอเอสมี เป้าหมายโจมตีผลประโยชน์ของอเมริกาในไทย ซึ่งก็ไม่ปรากฏเหตุก่อการร้ายขึ้น และยังไม่เคยมีการแจ้งข่าว เกี่ยวกับโอกาสเสี่ยงที่ไอเอสจะโจมตีไทยจากรัฐบาลไทยเองแต่อย่างใด 4. ข้อเสนอเชิงนโยบายต่อรัฐบาลไทย การเผชิญภัยคุกคามจากการก่อการร้ายตลอดจนรับมือกับอิทธิพลของ (ขบวนการ) รัฐอิสลาม จาเป็นต้อง ดาเนินการทั้งในส่วนของการยับยั้งเสรีปฏิบัติ/การเคลื่อนไหว และการขจัดรากเหง้าปัญหา กล่าวคือ การยับยั้งเสรี ปฏิบัติเป็นเรื่องของการป้ องกันประเทศจากการถูกโจมตี แบบแผนการก่อเหตุของกลุ่มไอเอสคือเมืองใหญ่ แทบจะทั่วทั้งโลก โดยมุ่งโจมตีจุดอันเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญยิ่ง (Critical Infrastructure; CI) ของเมือง ดังนั้น การป้องกันรับมือก็ต้องยืนอยู่บนหลักคิดเรื่องความมั่นคงเมือง (Urban Security) ซึ่งใช้ชุมชนท้องถิ่นเป็นกลไก ศูนย์กลางในการรักษาความปลอดภัยด้วยมาตรการต่างๆ พร้อมกันนั้นก็ต้องมีการวางระบบควบคุมการผ่านเข้า- ออกประเทศที่รัดกุมมากขึ้น โดยใช้เครื่องมือที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงและเชื่อมโยงข้อมูลเป็นเครือข่ายทั่วประเทศ อาทิ การตรวจม่านตาหรือ DNA และแม้ปัจจุบันท่าอากาศยานจะมีระบบ Advanced personnel processing อันทา หน้าที่ตรวจสอบผู้โดยสารจากต้นทางแล้ว ยังต้องให้น้าหนักมากขึ้นกับการเชื่อมข้อมูลเข้ากับฐานข้อมูลรวมของ ตารวจสากลอย่างบูรณาการ ตลอดจนการควบคุมวัตถุดิบของการก่อเหตุ ซึ่งไม่เพียงเกี่ยวเนื่องในชั้นของศุลกากร เท่านั้น หากแต่ยังต้องยกระดับให้เข้มข้นขึ้นเช่น ในอนาคตอาจใช้ระบบสัญญาณวิทยุควบคุมสินค้า (ที่สามารถ นาไปผลิตอาวุธ) ที่ไหลเข้าออกแต่ละจังหวัดและบริษัท ห้าง ร้าน ต่างๆ ตลอดจนการสนับสนุนให้ใช้เงินเป็นการ์ด ยกเลิกการใช้เงินกระดาษ อันจะช่วยให้สามารถติดตามการทาธุรกรรมทุกชนิดในประเทศได้ ขณะเดียวกัน แม้การขจัดศักยภาพของไอเอสในการก่อเหตุข้ามชาติ จาเป็นต้องวางอยู่บนกรอบความ ร่วมมืออย่างแข็งขันกับประชาคมระหว่างประเทศในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารบนฐานข้อมูลเดียวกัน และการ ตัดเส้นทางทางการเงิน อาวุธ และบุคคลที่เกี่ยวข้อง แต่ก็ต้องคานึงว่า ประเทศไทยเองแม้มีความเสี่ยงถูกโจมตี แต่ เราไม่ใช่ศัตรูและเป้าหมายโดยตรง ดังนั้น สิ่งที่ต้องระวังคือการถูกกดดันจากประเทศมหาอานาจตะวันตก ที่จะบีบ ให้ไทยจะต้องเลือกข้าง หากเราร่วมมืออย่างแข็งขัน ก็จะทาให้เรากลายเป็นประเทศเป้าหมายได้ สิ่งสาคัญคือการ วางตัวของไทย ที่จะไม่แสดงท่าทีเลือกข้างใดข้างหนึ่ง แต่ควรมีแนวทางในลักษณะที่คานึงถึงมนุษยธรรมและการ ไม่เห็นด้วยต่อการใช้ความรุนแรงไม่ว่าจะมาจากฝ่ายใด ประการถัดมา การขจัดสาเหตุรากเหง้าของปัญหาในส่วนของประเทศไทย คือ การปลดปมเงื่อนไขที่ คนไทยจะเข้าร่วมกับไอเอส ข้อนี้จะต้องเริ่มต้นจากการต่อสู้ทางความคิด บนฐานของการตระหนักเบื้องต้นว่า ปฏิบัติการจิตวิทยาของไอเอสวางอยู่บนการ ‚สวมรอย‛ แบบวิธีของสะลาฟียฺ และ “…เอาความไม่จริงมาจากวจนะ แห่งความจริง‛ ดังนั้น การเอาชนะทางความคิดเหนือไอเอสในประเด็นเกี่ยวกับศาสนา ก็จาจะต้องหักล้างฐาน ความชอบธรรมของพวกเขาด้วย ‚วจนะแห่งความจริง” ตามอัลกุรอาน หะดีษ และแบบวัตรปฏิบัติของเศาะฮาบะฮฺ และชาวสะลัฟ ศอและฮฺ (บรรพชนยุคแรก) โดยการส่งเสริมการเรียนรู้เรื่อง (1) ฟิกฮฺ ซึ่งนอกจากจะหมายถึง รายละเอียดต่างๆ ในนิติศาสตร์อิสลามแล้ว ยังครอบคลุมถึงจิตสานึกและความเข้าใจ ต่อพระเจ้ากับสรรพสิ่งที่ พระองค์ทรงสร้าง และต่อสิ่งที่พระองค์ทรงวางบทบัญญัติเอาไว้อีกด้วย (2) อัลหะดีษ แม้บริบททางสังคมการเมือง ที่กดทับและความ โกรธแค้นจากความไม่เป็นธรรมจะเป็นเงื่อนไขสาคัญของการเข้าร่วมกับกลุ่มไอเอส แต่เฉพาะใน เชิงความคิด ปัญหาใหญ่อีกประการหนึ่งที่ทาให้มุสลิมจานวนมากตกเป็นเป้าหมายแห่งปฏิบัติการข่าวสารของไอ เอส เกิดจากการหลงเชื่อในถ้อยแถลงของพวกเขาที่สร้างความชอบธรรมและดึงดูดโน้มน้าวใจคนด้วยวิธีการอ้างอิง 8สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 9. กลับไปยังอัลกุรอานและหะดีษอย่างบิดเบือนและตัดต่อ ซึ่งในแง่หนึ่งแล้ว อัลหะดีษ ก็คือ ระบบการเขียน ประวัติศาสตร์ของอิสลามอันมีพื้นฐานอยู่บนหลักการอาศัย ‚หลักฐานที่มีสายรายงานถูกต้อง‛ ไม่ใช่ ‚การตีความ‛ หรือ การหยิบใช้เอาตามใจชอบจากตาราประวัติศาสตร์ซึ่ง ‚ถูกเรียบเรียงขึ้น‛ ภายหลัง (เพราะไม่มีใครเกิดทันยุค เศาะฮาบะฮฺ) ตามที่สมาชิกของไอเอสนิยมกระทา ดังนั้น การตรวจสอบสายรายงานว่าหะดีษหนึ่งๆ มีต้นธารมาจาก แหล่งใดเพื่อสาวความกลับไปถึงคนที่ใกล้กับเหตุการณ์คือใกล้ตัวท่านนบี ศ็อลฯ มากที่สุด จึงเป็นแบบวิธีที่จาเป็น ในการคัดง้างถ้อยแถลงของไอเอสอย่างมีพลัง และ (3) มันฮัจญฺ (ครรลอง/ แบบวิธีทางปัญญา) แบบสะลาฟียฺ และ การเน้นย้าในหลักอัล-วะสะฏียะฮฺ คือ การวางตนอยู่บนความเรียบง่าย บนหลักทางสายกลาง ข้อเสนอสุดท้ายสาหรับการขจัดสาเหตุรากเหง้าที่คนไทยจะไปเข้าร่วมกับไอเอส หรือโอกาสเสี่ยงที่ ไอเอสจะแผ่อิทธิพลเข้ามายังไทย คือ การขจัดปมเงื่อนไขในจังหวัดชายแดนภาคใต้ การผลักดัน กระบวนการพูดคุยเพื่อสันติสุขให้มีความรุดหน้า การเปิดพื้นที่ทางการเมืองและการสร้างหลักประกันความเป็น ธรรมในมิติต่างๆ ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อขจัดปมเงื่อนไขอันจะนาไปสู่ความเป็นไปได้ที่จะมีคนหรือ กลุ่มคนหันไปสนับสนุนแนวทางหรือเข้าร่วมกับไอเอส เพราะถึงแม้ไอเอสกับกลุ่มเคลื่อนไหวในพื้นที่ จชต. จะมี เป้าหมายอุดมการณ์ และยุทธศาสตร์ที่ไม่ตอบสนองต่อกัน หาก ‚ปาร์ตี้ A และ B” ไม่สามารถยกระดับการพูดคุย ให้ลงลึกมากกว่าเดิมได้ ยังคงปรากฏข้อแสดงถึงความอ่อนไหวในความจริงใจ และยังคงปรากฏกรณีความไม่เป็น ธรรมอยู่เป็นระยะๆ รวมถึงหากมีการควบคุมหรือจากัดพื้นที่ของภาคประชาสังคมให้หดแคบลงไป หรือพูดอีกแบบ คือ การไม่เปิดพื้นที่ทางการเมืองให้กับผู้คนในพื้นที่มากพอ มีความเป็นไปได้ไม่น้อยที่นักต่อสู้ระดับท้องถิ่นจานวน หนึ่งอาจจะมองว่า ตัวแทน(?)จากฝั่งของเขากาลัง ‚ติดกับดักของวงพูดคุย‛ และอาจแตกตัวออกไปในแนวทาง สุดโต่งมากขึ้น 9สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 10. 10 ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้วิจัย : อาจารย์อาทิตย์ ทองอินทร์ ผู้ถอดความ : นางสาวปลายฟ้ า บุนนาค ปีที่พิมพ์: พฤษภาคม 2559 สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ติดต่อ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์ 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต