SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 19
Baixar para ler offline
แผนการจัดการเรียนรูที่ 4
                            วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน รหัส ว 33101 ชั้น ม.3
                                         สาระที่ 5 พลังงาน
                                   หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่อง ไฟฟา
                                                                                จํานวนเวลา 20 คาบ

สาระการเรียนรู
       1. การคนพบและชนิดของไฟฟา
       2. เซลลไฟฟาเคมี
       3. เซลลสุริยะ
       4. เครื่องกําเนิดไฟฟา
       5. ความสัมพันธของความตางศักยไฟฟา กระแสไฟฟาและความตานทานไฟฟา
       6. วงจรไฟฟาในบาน
       7. เครื่องใชไฟฟาในบาน
       8. การใชพลังงานไฟฟาอยางประหยัดและคุมคา

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
       1. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธระหวางความตางศักยไฟฟา กระแสไฟฟาและความตานทาน
และคํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของ
       2. สืบคนขอมูลและคํานวณหาพลังงานไฟฟาของเครื่องใชไฟฟาและคาไฟฟา
        3. สืบคนขอมูล อภิปรายและเลือกใชเครื่องใช ไฟฟาที่ใชในชีวิตประจําวันอยางถูกตองประหยัด
และคุมคา
      4. สืบคนขอมูล อภิปราย และอธิบายหลักการตอวงจรไฟฟาในบาน และสรางแบบจําลองติดตั้ง
วงจรไฟฟาในบานอยางถูกตอง ปลอด ภัยและประหยัด

การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคตามหลักสูตรสถานศึกษา
   1. มีระเบียบวินัยในตนเอง
   2. มีความรับผิดชอบ
   3. มีความเมตตากรุณา
   4. มีความซื่อสัตย สุจริต
   5. มีมารยาท สมกับความเปนไทย
   6. ใชสิ่งของและทรัพยสินอยางประหยัด ทั้งของตนเองและสังคม
กระบวนการจัดการเรียนรู
    1. กระบวนการทดลอง
    2. การสืบคนขอมูล
    3. กระบวนการคิด

สาระสําคัญ
        นักวิทยาศาสตรชาวกรีกเปนผูคนพบไฟฟาโดยการนําเอาแทงอําพันถูกับผาขนสัตว แทงอําพันจะมี
อํานาจดูดสิ่งของตางๆที่เบาๆได เขาจึงใหชื่ออํานาจนี้วา ไฟฟา หรือ อิเล็คตรอน ทาลีสสรุปผลการทดลองวา
เกิดจากการถายเทอิเล็คตรอนของวัตถุจากชนิดหนึ่ง ไปสูวัตถุอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งเกี่ยวของกับประจุไฟฟา
โดยตรง นั่นคืออะตอมของธาตุแตละชนิดจะประกอบดวยโปรตอนทีเปนประจุไฟฟาบวก และอิเล็คตรอนที่
                                                                      ่
เปนประจุไฟฟาลบในจํานวนเทากันทําใหธาตุนั้นมีสภาพเปนกลาง แตถานําวัตถุมาเสียดสีกันจะเกิดการ
ถายเทประจุไฟฟาทําใหวัตถุแสดงอํานาจไฟฟาออกมาได
        นักวิทยาศาสตรชาวอิตาเลียนชื่อวอลตา ไดคนพบไฟฟาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีและเรียกวา เซลลวอล
เทอิก (Voltaic cell)

ชั่วโมงที่ 1-3 การคนพบและชนิดของไฟฟา
ขั้นนํา
          1. ครูสนทนาพูดคุยกับนักเรียน เพื่อกระตุนความคิดโดยถามนักเรียนวา ถาโลกนี้ไมมีไฟฟา จะเปน
อยางไร ครูเปดโอกาสใหนักเรียนพูดคุยแสดงความคิดเห็นอยางเต็มที่ หลังจากนั้น ครูถามตอไปวา นักเรียน
ทราบหรือไมวาไฟฟาที่เราใชกันทุกวันนี้ มาจากไหน เกิดขึ้นไดอยางไร
          2. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน
ขั้นสอน
          3. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 – 6 คน ที่มีความสามารถคละกันเกง ปานกลาง ออน และกําหนด
หนาที่ของสมาชิก
          4. นักเรียนแตละกลุมศึกษาใบความรูที่ 1 เรื่อง การคนพบไฟฟา และทํากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ 1
          5. นักเรียนแตละกลุมศึกษาใบความรูที่ 2 เรื่อง ชนิดของไฟฟา และทํากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ 2
          6. สุมตัวแทนกลุมออกมาอภิปรายผลการทํากิจกรร ม
ขั้นสรุป
          7. นักเรียนทุกคนสรุปความรูจากเรื่องที่เรียนมาทั้งหมดเปนแผนผังความคิด
          8. ขณะที่นักเรียนทํากิจกรรม ครูประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ดานการสังเกต
ทักษะการทดลอง ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล
          9. ขณะที่นักเรียนทํากิจกรรม ครูประเมิน เจตคติทางวิทยาศาสตรดานความซื่อสัตย และดานความ
รับผิดชอบ และเพียรพยายาม
10. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

สื่อการเรียนรู
         1. วัสดุอุปกรณตามใบกิจกรรมที่ 1
         2. วัสดุอุปกรณตามใบกิจกรรมที่ 2
         3. ใบความรูที่ 1 เรื่อง การคนพบไฟฟา
         4. ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง การเกิดกระแสไฟฟา
         5. ใบความรูที่ 2 เรื่อง ชนิดของไฟฟา
         6. ใบกิจกรรมที่ 2 การเขียนแผนผังความคิด
         7. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

ชั่วโมงที่ 4-6 เซลลไฟฟาเคมี
ขั้นนํา
          1. ใหนักเรียนสังเกตตัวอยางเซลลไฟฟาชนิดตาง ๆ จากแผนภาพ
          2. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาเกี่ยวกับเซลลไฟฟาชนิดตาง ๆ
          3. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบวาหลักจากเรียนเรื่องเซลลไฟฟาเคมีแลว นักเรียน
สามารถอธิบายหลักการทํางานของเซลลไฟฟาเคมี
ขั้นสอน
          4. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 – 6 คน ที่มีความสามารถคละกันเกง ปานกลาง ออน และกําหนด
หนาที่ของสมาชิก
          5. นักเรียนแตละกลุมศึกษาใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง เซลลไฟฟาเคมีพรอมอุปกรณการทดลอง และทํา
กิจกรรม พรอมกับบันทึกผลการทดลองในแบบบันทึกการทดลอง และอภิปรายในกลุม
          6. สุมตัวแทนกลุมออกมาอภิปรายผลการทดลอง
          7. กลุมที่เหลือ ตอบคําถามทายการทดลอง
          8. นักเรียนศึกษาใบความรูที่ 3 เรื่อง เซลลไฟฟาเคมีเพิ่มเติม
ขั้นสรุป
          9. นักเรียนและครูรวมกันสรุปหลักการทํางานของเซลลไฟฟาเคมี
          10. ขณะที่นักเรียนทํากิจกรรม ครูประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ดานการสังเกต ทักษะ
การทดลอง ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล
          11. ขณะที่นักเรียนทํากิจกรรม ครูประเมิน เจตคติทางวิทยาศาสตรดานความซื่อสัตย และดานความ
รับผิดชอบ และเพียรพยายาม
          12. นักเรียนทุกคนสรุปความรูเปนแผนผังความคิดลงในสมุดบันทึก และสงครู
13. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา



สื่อการเรียนรู
         1. วัสดุอุปกรณตามใบกิจกรรมที่ 3
         2. ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง เซลลไฟฟาเคมี
         3. ใบความรูที่ 3 เรื่อง เซลลไฟฟาเคมี
         4. แบบฝกที่ 1 เรื่อง เซลลไฟฟาเคมี
         5. แบบทดสอบ
         6. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

ชั่วโมงที่ 7-9 เซลลสุริยะ
ขั้นนํา
     1. ครูนําอภิปรายเกี่ยวกับพลังงานแสงอาทิตย การนํามาใชประโยชนและใชคําถามตามแนวคิดดังนี้
          1.1 เราสามารถนําแสงอาทิตยมาใชประโยชนอยางไรบาง
              (นักเรียนอาจตอบหลากหลาย เชน ใชถนอมอาหาร ใชตากผา ฯลฯ)
          1.2 มีอุปกรณที่ใดที่เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตยมาเปนพลังงานไฟฟา (เซลลสุริยะ)
ขั้นสอน
     2. นักเรียนแบงกลุม กลุมละประมาณ 5 – 6 คน ที่มีความสามารถคละกัน เกง ปานกลาง ออน และ
          กําหนดหนาที่ของสมาชิก
     3. นักเรียนแตละกลุมศึกษาใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง เซลลสุริยะ พรอมอุปกรณการทดลอง พรอมกับบันทึก
          ผลการทดลองลงในแบบบันทึกการทดลอง และอภิปรายภายในกลุม
     4. สุมตัวตัวแทนกลุมออกมาอภิปรายผลการทดลอง
     5. กลุมที่เหลือตอบคําถามทายการทดลอง
     6. นักเรียนศึกษาใบความรูท4 เรื่อง เซลลสุริยะ เพิ่มเติม
                                     ี่

ขั้นสรุป
     7. นักเรียน และครูรวมกันสรุป หลักการทํางาน ของเซลลสุริยะ
     8. ขณะที่นักเรียนทํากิจกรรม ครูประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรในดานการสังเกต ทักษะ
         การทดลอง และทักษะการลงความเห็นจากขอมูล
     9. ขณะที่นักเรียนทํากิจกรรม ครูประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตรดานความรับผิดชอบและเพียรพยายาม
         และความใจกวาง
     10. นักเรียนทําแบบฝกที่ 2 เรื่อง เซลลสุริยะ จํานวน 5 ขอ
11. นักเรียนแตละกลุมแลกเปลี่ยนกันตรวจ โดยครูคอยใหคําแนะนํา เพื่อพัฒนาความรูความเขาใจ
    12. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

สื่อการเรียนรู
     1. วัสดุอุปกรณตามใบกิจกรรมที่ 4
     2. ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง เซลลสุริยะ
     3. อุปกรณการทดลองเรื่องเซลลสุริยะ
     4. ใบความรูที่ 4 เรื่องเซลลสุริยะ
     5. แบบฝกที่ 2 เรื่อง เซลลสุริยะ
     6. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

ชั่วโมงที่ 10-12 เครื่องกําเนิดไฟฟา
ขั้นนํา
     1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับพลังงานไฟฟาที่ใชกันอยูในปจจุบัน เพื่อนําไปสูเครื่องกําเนิด
ไฟฟา
     2. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบวาหลังจากเรียนเรื่องเครื่องกําเนิดไฟฟาแลวนักเรียน
สามารถอธิบายหลักการทํางานของเครื่องกําเนิดไฟฟาได
ขั้นสอน
     3. นักเรียนแบงกลุม กลุมละประมาณ 5 –6 คน ที่มีความสามารถคละกัน เกง ปานกลาง ออน และ
กําหนดหนาที่ของสมาชิก
     4. นักเรียนแตละกลุมศึกษาใบกิจกรรมที่ 5 เรื่อง กระแสเหนี่ยวนําพรอมอุปกรณการทดลองเรื่องกระแส
เหนี่ยวนํา พรอมกับบันทึกผลการทดลองลงในแบบบันทึกการทดลอง และอภิปรายภายในกลุม
     5. สุมตัวแทนกลุมออกมาอภิปรายผลการทดลอง
     6. กลุมที่เหลือตอบคําถามทายการทดลอง
     7. นักเรียนศึกษาใบความรูที่ 5 เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟาเพิ่มเติม
     8. ตัวแทนกลุมรับใบกิจกรรมที่ 6 เรื่องเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับและกระแสตรง พรอมทั้งอุปกรณ
การทดลอง และทําการทดลองตามใบกิจกรรม
     9. ตัวแทนกลุมรับใบความรูที่ 6 เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ และกระแสตรง ศึกษาใบความรู
และสงตัวแทนออกมาอภิปรายหนาชั้นเรียน
ขั้นสรุป
    10. นักเรียนสรุปความรูเปนแผนผังความคิดในเรื่องเครื่องกําเนิดกระแสไฟฟา
    11. ขณะที่นักเรียนทํากิจกรรม ครูประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ในดานทักษะการสังเกต
การทดลองและการลงความเห็นจากขอมูล
   12. ขณะนักเรียนทํากิจกรรม ครูสังเกตเจตคติทางวิทยาศาสตรดาน ความซื่อสัตย และความมีเหตุผล
   13. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

สื่อการเรียนรู
     1. ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่อง กระแสเหนี่ยวนํา
     2. วัสดุอุปกรณตามใบกิจกรรมที่ 5
     3. ใบความรูที่ 5 เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟา
     4. ใบกิจกรรมที่ 6 เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ และกระแสตรง
     5. อุปกรณการทดลอง เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ และกระแสตรง
     6. ใบความรูที่ 6 เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ และกระแสตรง
     7. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

ชั่วโมงที่ 13-15 ความสัมพันธของความตางศักยไฟฟา กระแสไฟฟาและความตานทานไฟฟา
ขั้นนํา
          1. นักเรียนและครูทบทวนเรื่อง การผลิตกระแสไฟฟาและความตางศักยระหวางแหลงกําเนิดไฟฟา
กับเครื่องใชไฟฟา
ขั้นสอน
          2. ครูอธิบายเรื่องความตางศักยของกระแสไฟฟาและการวัดกระแสไฟฟา
          3. แบงนักเรียนออกเปน 8 กลุมใหและกลุมทดลองตามใบกิจกรรมที่ 7 เรื่อง การวัดกระแสไฟฟา
และบันทึกผลการทดลอง อภิปรายผลการทดลอง สรุปผลการทดลอง
          4. ครูอธิบายเพิ่มเติมเรื่อง การตอไฟฟาแบบอนุกรมและแบบขนาน การใชแอมมิเตอรและโวลต
มิเตอรในการวัดกระแสไฟฟา
          5. ครูอธิบายเรื่อง ความตางศักยของกระแสไฟฟาของเครื่องใชฟาในบาน
          6. ครูอธิบายเรื่อง กระแสไฟฟากับความตางศักย แลวอภิปรายตามประเด็นตอไปนี้
          - น้ําในถังทั้งสองใบ มีพลังงานศักยตางกันหรือไม อยางไร
          - ในเวลาเทากัน น้ําไหลผานทอเล็กหรือทอใหญ อยางใดจะมีปริมาณมากกวากัน ขนาดของทอมีผล
ตอการไหลของน้ําหรือไม อยางไร
          7. ครูอธิบายการคํานวณเกี่ยวกับความสัมพันธของกระแสไฟฟา ความตางศักยไฟฟา และความ
ตานทานไฟฟา
          8 ใหนักเรียนทําแบบฝกที่ 3 การคํานวณความสัมพันธของกระแสไฟฟา ความตางศักยไฟฟา และ
ความตานทานไฟฟา
          9. ครูอธิบายเพิ่มเติมในสวนที่ขาด
ขั้นสรุป
        10. นักเรียนและครูสรุปความรูตามประเด็นตอไปนี้
        - ความตางศักยของกระแสไฟฟา และการวัดกระแสไฟฟา
        - การตอไฟฟาแบบขนานและแบบอนุกรม
        - ขอปฏิบัติเกี่ยวกับการใชไฟฟาในบาน
        11. นักเรียนและครูรวมกันสรุปเปรียบเทียบการไหลของกระแสไฟฟาผานลวดตัวนํากับการไหล
ของน้ําจากที่สูงผานทอที่มีขนาดตางกัน
        12. นักเรียนแตละคนสรุปความรูที่เรียนมาทั้งหมด เปนแผนผังความคิด ลงในสมุดบันทึก
        13. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

สื่อการเรียนรู
     1. ใบกิจกรรมที่ 7 เรื่อง การวัดกระแสไฟฟา
     2. วัสดุอุปกรณตามใบกิจกรรมที่ 7
     3. แบบฝกที่ 3 การคํานวณความสัมพันธของกระแสไฟฟา ความตางศักยไฟฟา และความตานทานไฟฟา
     4. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

ชั่วโมงที่ 15-16 วงจรไฟฟาในบาน
ขั้นนําเขาสูบทเรียน
          1. ใหนักเรียนสังเกตหลอดไฟฟาและวิธีการตอหลอดไฟฟาในหองเรียนหรือบริเวณโรงเรียนวามี
วิธีการตออยางไร มีอุปกรณไฟฟาอะไรบาง รวมกันอภิปราย
ขั้นสอน
          2. ครูอธิบายเรื่อง การตอหลอดไฟฟาแบบขนานและแบบอนุกรม และความแตกตางของการตอ
หลอดไฟฟาแบบอนุกรมและแบบขนาน และการตอหลอดไฟฟาที่ใชในบาน
          3. แบงนักเรียนออกเปน 8 กลุม แตละกลุมทดลองตามใบ กิจกรรมที่ 8 เรื่อง หลอดไฟฟาในบานควร
ตออยางไร พรอมทั้งบันทึกผลการทดลอง อภิปรายผลการทดลอง และสรุปผลการทดลอง
          4. แตละกลุมนําเสนอผลการทดลองหนาชั้นเรียน
          5. ครูอธิบายเพิ่มเติมเรื่องการตอไฟฟาแบบอนุกรมและแบบขนาน และสาธิตการทดลองเพิ่มเติม
          6. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 – 6 คน ที่มีความสามารถ คละกัน เกง ปานกลาง ออน และกําหนด
หนาที่ของสมาชิก
          7. นักเรียนศึกษาจากผังวงจรไฟฟาจากภาพแลวทําแบบฝกที่ 4 เรื่องวงจรไฟฟา
          8. นักเรียนศึกษาใบความรู ที่ 8 เรื่องวงจรไฟฟาในบาน
          9. ครูกําหนดใหแบงกลุมออกมาสรุปความรูจากใบความรูที่ 8 หนาชั้นเรียนดังนี้
             กลุม 1 และ 5 สรุปความรูเรื่อง สายไฟ
กลุม 2 และ 6 สรุปความรูเรื่อง สะพานไฟ
           กลุม 3 และ 7 สรุปความรูเรื่อง ฟวส
           กลุม 4 และ 8 สรุปความรูเรื่อง เตารับเตาเสียบ
          โดยแตละกลุมจับคูกันสรุปความรูแลวใหสมาชิกในหองเปนผูตัดสินวากลุมใดสามารถสรุปได
เขาใจมากที่สุด
         10. ครูอธิบายเพิ่มเติมเรื่องการคํานวณหาคากระแสไฟฟาที่ใชในบาน เพื่อเลือกใชฟวสใหถูกตอง
ขั้นสรุป
         11. นักเรียนแตละคนสรุปความรู เปนแผนผังความคิด ลงในสมุดบันทึกของตนเอง สงครู
         12.นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

สื่อการเรียนรู
     1. วัสดุอุปกรณตามใบกิจกรรมที่ 8
     2.ใบกิจกรรมที่ 8 เรื่อง หลอดไฟฟาในบานควรตออยางไร
     3. แบบฝกที่ 4 เรื่องวงจรไฟฟา
     4. ใบกิจกรรมที่ 8 เรื่อง วงจรไฟฟาในบาน
     5. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

ชั่วโมงที่ 17 – 18 เครื่องใชไฟฟาในบาน
ขั้นนํา
          1. ครูถามนักเรียนวา ในบานนักเรียนมีเครื่องใชไฟฟาอะไรบาง ใหแตละคนเขียนเครื่องใชไฟฟาใน
บานของตนเองที่มีอยูทั้งหมด
          2. แตละกลุมชวยกันนําเสนอเครื่องใชในบานของตนเองภายในกลุม ครูแนะนําใหนักเรียนแตละกลุม
ชวยกันวิเคราะห แลวจําแนกเครื่องใชเหลานั้นออกเปนกลุมใหญ โดยครูไมกําหนดเกณฑในการจําแนก
          3. ใหแตละกลุมออกมาเสนอความคิดในการจําแนกเครืองใชไฟฟาของแตละกลุม โดยใหบอกเกณฑ
                                                                  ่
ในการจําแนกดวย
          4. ครูไมชี้วากลุมใดถูกหรือผิด
ขั้นสอน
          5. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 – 6 คน ที่มีความสามารถ คละกัน เกง ปานกลาง ออน และกําหนด
หนาที่ของสมาชิก
          6. แตละกลุมรับใบความรูที่ 9 เรื่องเครื่องใชไฟฟาในบาน ทุกกลุมศึกษาเครื่องใชไฟฟาทุกประเภท
          7. ครูทบทวนการแบงประเภทของเครื่องใชไฟฟาของแตละกลุมเมื่อตนคาบ และสอบถามวา กลุมใด
ที่แบงประเภทของเครื่องใชไฟฟาไดถูกตองบาง
ขั้นสรุป
8. นักเรียนแตละคนสรุปความรู เปนแผนผังความคิด ลงในสมุดบันทึกของตนเอง สงครู
         9. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

สื่อการเรียนรู
    1. ใบความรูที่ 9 เรื่องเครื่องใชไฟฟาในบาน
    2. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

ชั่วโมงที่ 17 – 18 เครื่องใชไฟฟาในบาน
ขั้นนํา
          1. ครูถามนักเรียนวา ในบานนักเรียนมีเครื่องใชไฟฟาอะไรบาง ใหแตละคนเขียนเครื่องใชไฟฟาใน
บานของตนเองที่มีอยูทั้งหมด
          2. แตละกลุมชวยกันนําเสนอเครื่องใชในบานของตนเองภายในกลุม ครูแนะนําใหนักเรียนแตละกลุม
ชวยกันวิเคราะห แลวจําแนกเครื่องใชเหลานั้นออกเปนกลุมใหญ โดยครูไมกําหนดเกณฑในการจําแนก
          3. ใหแตละกลุมออกมาเสนอความคิดในการจําแนกเครื่องใชไฟฟาของแตละกลุม โดยใหบอกเกณฑ
ในการจําแนกดวย
          4. ครูไมชี้วากลุมใดถูกหรือผิด
ขั้นสอน
          5. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 – 6 คน ที่มีความสามารถ คละกัน เกง ปานกลาง ออน และกําหนด
หนาที่ของสมาชิก
          6. แตละกลุมรับใบความรูที่ 9 เรื่องเครื่องใชไฟฟาในบาน ทุกกลุมศึกษาเครื่องใชไฟฟาทุกประเภท
          7. ครูทบทวนการแบงประเภทของเครื่องใชไฟฟาของแตละกลุมเมื่อตนคาบ และสอบถามวา กลุมใด
ที่แบงประเภทของเครื่องใชไฟฟาไดถูกตองบาง
ขั้นสรุป
          8. นักเรียนแตละคนสรุปความรู เปนแผนผังความคิด ลงในสมุดบันทึกของตนเอง สงครู
          9. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

สื่อการเรียนรู
    1. ใบความรูที่ 9 เรื่องเครืองใชไฟฟาในบาน
                                ่
    2. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา

ชั่วโมงที่ 19 - 20 การใชพลังงานไฟฟาอยางประหยัดและคุมคา
ขั้นนําเขาสูบทเรียน
1. ครูถามนักเรียนวา นักเรียนเห็นดวยหรือไมกับการประหยัดไฟฟา เพราะเหตุใดจึงเห็นดวย และ
นักเรียนมีแนวปฏิบัติอยางไรในการประหยัดไฟฟา
         2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนอภิปรายอยางอิสระ
ขั้นสอน
         3. ครูอธิบายวิธีการคิดคํานวณคาไฟ และใหนักเรียนทําแบบฝกที่ 6 การคํานวณคาไฟฟา
         4. ครูมอบหมายใหนักเรียนไปสืบคนขอมูลจากอินเตอรเน็ตเรื่อง108 วิธีประหยัดพลังงานไฟฟา
         5. จากขอมูลที่สืบคนได ใหแตละกลุมนําขอมูลมาสรุปเปนแผนผังความคิด พรองทั้งตกแตงให
สวยงามนาอาน และนํามาจัดบอรด
ขั้นสรุป
         8. นักเรียนแตละคนสรุปความรู เปนแผนผังความคิด ลงในสมุดบันทึกของตนเอง สงครู
         9. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา
         10. ทําแบบทดสอบหลังเรียน

กิจกรรมเพิ่มเติม
         1. ทําโครงการฟากกวานรวมใจประหยัดไฟเพื่อในหลวง โดยใหนักเรียนทุกคนนําบิลคาไฟฟามาสง
ครูทุกสิ้นเดือน หรือทุกครั้งที่จายคาไฟ โดยครูกําหนดใหนักเรียนพยามประหยัดพลังงานไฟฟาที่ใชในบาน
ถาหากคาไฟฟาแตละเดือนลดลง จะไดรับคะแนนเพิ่มเปนกรณีพิเศษ ทํากิจกรรมนี้จนกระทั่งสิ้นปการศึกษา
         2. ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจาก E – Library เรื่องไฟฟา และสรุปความรูสงครู เพื่อรับคะแนน
เพิ่มเติมพิเศษ

สื่อการเรียนรู
     1. แบบฝกที่ 6 การคํานวณคาไฟฟา
     2. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา
     3. ทําแบบทดสอบหลังเรียน

การวัดผลและประเมินผล
       1. วิธีการวัด
          1.1 ประเมินทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร
          1.2 ประเมินเจตคติ
          1.3 ตรวจแบบฝก
          1.4 ตรวจแบบบันทึกการทดลอง
          1.5 ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
2. เครื่องมือวัดผลและประเมินผล
   2.1 แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
   2.2 แบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร
   2.3 แบบฝก
   2.4 แบบบันทึกการทดลอง
   2.5 แบบทดสอบหลังเรียน
3. เกณฑในการวัดผลและประเมินผล
   3.1 เกณฑการประเมินจากแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
                คะแนน 4 – 5 ดี
                คะแนน 2 - 3 พอใช
                คะแนน 0 – 1 ปรับปรุง
   3.2 เกณฑการประเมินจากแบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร
                คะแนน 4 – 5 ดี
                คะแนน 2 - 3 พอใช
                คะแนน 0 – 1 ปรับปรุง
   3.3 เกณฑประเมินการตรวจแบบฝก
                คะแนน 4 – 5 ดี
                คะแนน 2 - 3 พอใช
                คะแนน 0 – 1 ปรับปรุง
   3.4 เกณฑประเมินการตรวจแบบบันทึกการทดลอง
                คะแนน 4 – 5 ดี
                คะแนน 2 - 3 พอใช
                คะแนน 0 – 1 ปรับปรุง
   3.5 เกณฑการประเมิน การตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
                คะแนน 4 – 5 ดี
                คะแนน 2 - 3 พอใช
                คะแนน 0 – 1 ปรับปรุง
แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร

                        กลุมที่ ……………. ชั้น ……………………..

รายชื่อสมาชิก
1. ……………………………. เลขที่ ………….. 4. ………………………………. เลขที่ ……………
2. .……………..……………. เลขที่ ………….. 5. ………………………………. เลขที่ ……………
3. .……………..……………. เลขที่ ………….. 6. ………………………………. เลขที่ ……………

ความหมายของคะแนน 3 = ดี , 2 = พอใช , 1 = ปรับปรุง

                                                        ระดับคะแนน
          ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
                                                 3          2        1
    1.   ทักษะการสังเกต
    2.   ทักษะการทดลอง
    3.   ทักษะการจําแนกประเภท
    4.   ทักษะการจัดกระทําขอมูล
    5.   ทักษะการแปลความหมายจากขอมูล
    6.   ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล
    7.   ทักษะการสรุป
                        รวม
แบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร

                         กลุมที่ ……………. ชั้น ……………………..

รายชื่อสมาชิก
1 ……………………………. เลขที่ ……….…….. 4. ………………………………. เลขที่ ………………
2 ..……………..……………. เลขที่ …………….. 5. ………………………………. เลขที่ ……………..
3 .……………..……………. เลขที่ ……….…….. 6. ………………………………. เลขที่ ………………

ความหมายของคะแนน 3 = ดี , 2 = พอใช , 1 = ปรับปรุง

                                                               ระดับคะแนน
                 เจตคติทางวิทยาศาสตร
                                                        3          2        1
    1. ความซื่อสัตย
       1.1 ไมเอาผลงานของผูอื่นมาเปนของตน
       1.2 ตั้งใจทํางานดวยตนเอง
    2. ความรับผิดชอบ และเพียรพยายาม
       2.1 ทํางานเต็มความสามารถ
       2.2 ทํางานครบถวน
                           รวม
แบบประเมินคุณลักษณะ

                          กลุมที่ ……………. ชัน ……………………..
                                            ้

รายชื่อสมาชิก
1 ……………………………. เลขที่ …….…….. 4. ………………………………. เลขที่ …………………
2 ..……………..……………. เลขที่ ………….. 5. ………………………………. เลขที่ …………………
3 .……………..……………. เลขที่ …………... 6. ………………………………. เลขที่ …………………

ความหมายของคะแนน 3 = ดี , 2 = พอใช , 1 = ปรับปรุง

                                                               ระดับคะแนน
                       คุณลักษณะ
                                                           3       2        1
    1. มีระเบียบวินัยในตนเอง
    2. มีความรับผิดชอบ
    3. มีความเมตตากรุณา
    4. มีความซื่อสัตย สุจริต
    5. มีมารยาท สมกับความเปนไทย
    6. ใชสิ่งของและทรัพยสินอยางประหยัด ทั้งของตนเอง
    และสังคม
                              รวม
เกณฑระดับคุณภาพดานความรูและทักษะ : การทําแผนผังความคิด ( mapping)

เกณฑการประเมิน
       1. ใจความหลักถูกตอง
       2. ใจความรองครอบคลุม มีตัวอยาง (รายละเอียด)
       3. เสนโยงสัมพันธถูกตอง
       4. สวยงาม นาสนใจ

 ระดับคะแนน                                       แปลความหมาย
       3        ใจความหลักถูกตอง มีคําสําคัญ ใจความรองสนับสนุนใจความหลัก มีตัวอยางมีเสน
      (ดี)      โยงสัมพันธถูกตอง สวยงาม มีความคิดสรางสรรค นาสนใจ
       2        ใจความหลักถูกตอง ไมมีคําสําคัญ มีใจความรองอยูบางและสนับสนุนใจความหลัก
   (พอใช)      มีเสนโยงสัมพันธ แตยังไมถูกตองทั้งหมด ออกแบบสวยแตไมแปลกใหม
       1        ใจความหลักไมถูกตอง ใจความรองไมสนับสนุนใจความหลัก เสนโยงสัมพันธไมถูก
  (ปรับปรุง)    การออกแบบธรรมดา

                               แบบประเมินการทําแผนผังความคิด

                          กลุมที่ ……………. ชั้น ……………………..
รายชื่อสมาชิก
1 ……………………………. เลขที่ ……….. 4. ………………………………. เลขที่ ……………
2 ..……………..……………. เลขที่ ……….. 5. ………………………………. เลขที่ ……………
3 .……………..……………. เลขที่ ……….. 6. ………………………………. เลขที่ ………….…
ความหมายของคะแนน 3 = ดี , 2 = พอใช , 1 = ปรับปรุง

                                                                ระดับคะแนน
                       คุณลักษณะ
                                                          3          2          1
    1. ใจความหลักถูกตอง
    2. ใจความรองครอบคลุม มีตัวอยาง (รายละเอียด)
    3. เสนโยงสัมพันธถูกตอง
    4. สวยงาม นาสนใจ
                            รวม
บันทึกทายแผนการสอน
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….

                      ลงชื่อ…………………………………..
                      (………………………………………)
ผูสอน
ความเห็นหรือขอเสนอแนะของหัวหนาหมวดวิชา
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….

                                             ลงชื่อ…………………………………..
                                             (………………………………………)
                                                     หัวหนาหมวดวิชา

ความเห็นของผูอํานวยการหรือผูชวยผูอํานวยการฝายวิชาการ หรือผูที่ไดรับมอบหมาย
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….



                                          ลงชื่อ…………………………………..
                                               (………………………………………)
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓Wijitta DevilTeacher
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03jirupi
 
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงคู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05jirupi
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2Wijitta DevilTeacher
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมkrupornpana55
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01krukrajeab
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์nang_phy29
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01jirupi
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 
02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงานWijitta DevilTeacher
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์Boonlert Aroonpiboon
 
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์krupornpana55
 

Mais procurados (20)

แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
 
ป.5
ป.5ป.5
ป.5
 
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงคู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
 
SAR 2560
SAR 2560SAR 2560
SAR 2560
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
 
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
 

Semelhante a แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า

กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียkrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]Aon Narinchoti
 
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upอบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรทับทิม เจริญตา
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9tum17082519
 

Semelhante a แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า (20)

กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
5.ตอนที่ 3
5.ตอนที่ 35.ตอนที่ 3
5.ตอนที่ 3
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Upอบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
อบรมครูแกนนำ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ Up
 
Biology
BiologyBiology
Biology
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 

Mais de Jiraporn

Best practice2013
Best practice2013Best practice2013
Best practice2013Jiraporn
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์Jiraporn
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
profile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom schoolprofile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom schoolJiraporn
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงานJiraporn
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมJiraporn
 
แบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพแบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพJiraporn
 
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ Jiraporn
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305Jiraporn
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้าJiraporn
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์Jiraporn
 
Attachment
AttachmentAttachment
AttachmentJiraporn
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsJiraporn
 
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพJiraporn
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อJiraporn
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards Jiraporn
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54Jiraporn
 

Mais de Jiraporn (20)

Best practice2013
Best practice2013Best practice2013
Best practice2013
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
profile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom schoolprofile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom school
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงาน
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
แบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพแบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพ
 
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
M3 91c
M3 91cM3 91c
M3 91c
 
M3 91d
M3 91dM3 91d
M3 91d
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์
 
Eco1
Eco1Eco1
Eco1
 
Attachment
AttachmentAttachment
Attachment
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
 
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 

แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า

  • 1. แผนการจัดการเรียนรูที่ 4 วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน รหัส ว 33101 ชั้น ม.3 สาระที่ 5 พลังงาน หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่อง ไฟฟา จํานวนเวลา 20 คาบ สาระการเรียนรู 1. การคนพบและชนิดของไฟฟา 2. เซลลไฟฟาเคมี 3. เซลลสุริยะ 4. เครื่องกําเนิดไฟฟา 5. ความสัมพันธของความตางศักยไฟฟา กระแสไฟฟาและความตานทานไฟฟา 6. วงจรไฟฟาในบาน 7. เครื่องใชไฟฟาในบาน 8. การใชพลังงานไฟฟาอยางประหยัดและคุมคา ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธระหวางความตางศักยไฟฟา กระแสไฟฟาและความตานทาน และคํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของ 2. สืบคนขอมูลและคํานวณหาพลังงานไฟฟาของเครื่องใชไฟฟาและคาไฟฟา 3. สืบคนขอมูล อภิปรายและเลือกใชเครื่องใช ไฟฟาที่ใชในชีวิตประจําวันอยางถูกตองประหยัด และคุมคา 4. สืบคนขอมูล อภิปราย และอธิบายหลักการตอวงจรไฟฟาในบาน และสรางแบบจําลองติดตั้ง วงจรไฟฟาในบานอยางถูกตอง ปลอด ภัยและประหยัด การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคตามหลักสูตรสถานศึกษา 1. มีระเบียบวินัยในตนเอง 2. มีความรับผิดชอบ 3. มีความเมตตากรุณา 4. มีความซื่อสัตย สุจริต 5. มีมารยาท สมกับความเปนไทย 6. ใชสิ่งของและทรัพยสินอยางประหยัด ทั้งของตนเองและสังคม
  • 2. กระบวนการจัดการเรียนรู 1. กระบวนการทดลอง 2. การสืบคนขอมูล 3. กระบวนการคิด สาระสําคัญ นักวิทยาศาสตรชาวกรีกเปนผูคนพบไฟฟาโดยการนําเอาแทงอําพันถูกับผาขนสัตว แทงอําพันจะมี อํานาจดูดสิ่งของตางๆที่เบาๆได เขาจึงใหชื่ออํานาจนี้วา ไฟฟา หรือ อิเล็คตรอน ทาลีสสรุปผลการทดลองวา เกิดจากการถายเทอิเล็คตรอนของวัตถุจากชนิดหนึ่ง ไปสูวัตถุอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งเกี่ยวของกับประจุไฟฟา โดยตรง นั่นคืออะตอมของธาตุแตละชนิดจะประกอบดวยโปรตอนทีเปนประจุไฟฟาบวก และอิเล็คตรอนที่ ่ เปนประจุไฟฟาลบในจํานวนเทากันทําใหธาตุนั้นมีสภาพเปนกลาง แตถานําวัตถุมาเสียดสีกันจะเกิดการ ถายเทประจุไฟฟาทําใหวัตถุแสดงอํานาจไฟฟาออกมาได นักวิทยาศาสตรชาวอิตาเลียนชื่อวอลตา ไดคนพบไฟฟาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีและเรียกวา เซลลวอล เทอิก (Voltaic cell) ชั่วโมงที่ 1-3 การคนพบและชนิดของไฟฟา ขั้นนํา 1. ครูสนทนาพูดคุยกับนักเรียน เพื่อกระตุนความคิดโดยถามนักเรียนวา ถาโลกนี้ไมมีไฟฟา จะเปน อยางไร ครูเปดโอกาสใหนักเรียนพูดคุยแสดงความคิดเห็นอยางเต็มที่ หลังจากนั้น ครูถามตอไปวา นักเรียน ทราบหรือไมวาไฟฟาที่เราใชกันทุกวันนี้ มาจากไหน เกิดขึ้นไดอยางไร 2. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน ขั้นสอน 3. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 – 6 คน ที่มีความสามารถคละกันเกง ปานกลาง ออน และกําหนด หนาที่ของสมาชิก 4. นักเรียนแตละกลุมศึกษาใบความรูที่ 1 เรื่อง การคนพบไฟฟา และทํากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ 1 5. นักเรียนแตละกลุมศึกษาใบความรูที่ 2 เรื่อง ชนิดของไฟฟา และทํากิจกรรมตามใบกิจกรรมที่ 2 6. สุมตัวแทนกลุมออกมาอภิปรายผลการทํากิจกรร ม ขั้นสรุป 7. นักเรียนทุกคนสรุปความรูจากเรื่องที่เรียนมาทั้งหมดเปนแผนผังความคิด 8. ขณะที่นักเรียนทํากิจกรรม ครูประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ดานการสังเกต ทักษะการทดลอง ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล 9. ขณะที่นักเรียนทํากิจกรรม ครูประเมิน เจตคติทางวิทยาศาสตรดานความซื่อสัตย และดานความ รับผิดชอบ และเพียรพยายาม
  • 3. 10. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา สื่อการเรียนรู 1. วัสดุอุปกรณตามใบกิจกรรมที่ 1 2. วัสดุอุปกรณตามใบกิจกรรมที่ 2 3. ใบความรูที่ 1 เรื่อง การคนพบไฟฟา 4. ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง การเกิดกระแสไฟฟา 5. ใบความรูที่ 2 เรื่อง ชนิดของไฟฟา 6. ใบกิจกรรมที่ 2 การเขียนแผนผังความคิด 7. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา ชั่วโมงที่ 4-6 เซลลไฟฟาเคมี ขั้นนํา 1. ใหนักเรียนสังเกตตัวอยางเซลลไฟฟาชนิดตาง ๆ จากแผนภาพ 2. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาเกี่ยวกับเซลลไฟฟาชนิดตาง ๆ 3. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบวาหลักจากเรียนเรื่องเซลลไฟฟาเคมีแลว นักเรียน สามารถอธิบายหลักการทํางานของเซลลไฟฟาเคมี ขั้นสอน 4. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 – 6 คน ที่มีความสามารถคละกันเกง ปานกลาง ออน และกําหนด หนาที่ของสมาชิก 5. นักเรียนแตละกลุมศึกษาใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง เซลลไฟฟาเคมีพรอมอุปกรณการทดลอง และทํา กิจกรรม พรอมกับบันทึกผลการทดลองในแบบบันทึกการทดลอง และอภิปรายในกลุม 6. สุมตัวแทนกลุมออกมาอภิปรายผลการทดลอง 7. กลุมที่เหลือ ตอบคําถามทายการทดลอง 8. นักเรียนศึกษาใบความรูที่ 3 เรื่อง เซลลไฟฟาเคมีเพิ่มเติม ขั้นสรุป 9. นักเรียนและครูรวมกันสรุปหลักการทํางานของเซลลไฟฟาเคมี 10. ขณะที่นักเรียนทํากิจกรรม ครูประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ดานการสังเกต ทักษะ การทดลอง ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล 11. ขณะที่นักเรียนทํากิจกรรม ครูประเมิน เจตคติทางวิทยาศาสตรดานความซื่อสัตย และดานความ รับผิดชอบ และเพียรพยายาม 12. นักเรียนทุกคนสรุปความรูเปนแผนผังความคิดลงในสมุดบันทึก และสงครู
  • 4. 13. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา สื่อการเรียนรู 1. วัสดุอุปกรณตามใบกิจกรรมที่ 3 2. ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง เซลลไฟฟาเคมี 3. ใบความรูที่ 3 เรื่อง เซลลไฟฟาเคมี 4. แบบฝกที่ 1 เรื่อง เซลลไฟฟาเคมี 5. แบบทดสอบ 6. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา ชั่วโมงที่ 7-9 เซลลสุริยะ ขั้นนํา 1. ครูนําอภิปรายเกี่ยวกับพลังงานแสงอาทิตย การนํามาใชประโยชนและใชคําถามตามแนวคิดดังนี้ 1.1 เราสามารถนําแสงอาทิตยมาใชประโยชนอยางไรบาง (นักเรียนอาจตอบหลากหลาย เชน ใชถนอมอาหาร ใชตากผา ฯลฯ) 1.2 มีอุปกรณที่ใดที่เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตยมาเปนพลังงานไฟฟา (เซลลสุริยะ) ขั้นสอน 2. นักเรียนแบงกลุม กลุมละประมาณ 5 – 6 คน ที่มีความสามารถคละกัน เกง ปานกลาง ออน และ กําหนดหนาที่ของสมาชิก 3. นักเรียนแตละกลุมศึกษาใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง เซลลสุริยะ พรอมอุปกรณการทดลอง พรอมกับบันทึก ผลการทดลองลงในแบบบันทึกการทดลอง และอภิปรายภายในกลุม 4. สุมตัวตัวแทนกลุมออกมาอภิปรายผลการทดลอง 5. กลุมที่เหลือตอบคําถามทายการทดลอง 6. นักเรียนศึกษาใบความรูท4 เรื่อง เซลลสุริยะ เพิ่มเติม ี่ ขั้นสรุป 7. นักเรียน และครูรวมกันสรุป หลักการทํางาน ของเซลลสุริยะ 8. ขณะที่นักเรียนทํากิจกรรม ครูประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรในดานการสังเกต ทักษะ การทดลอง และทักษะการลงความเห็นจากขอมูล 9. ขณะที่นักเรียนทํากิจกรรม ครูประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตรดานความรับผิดชอบและเพียรพยายาม และความใจกวาง 10. นักเรียนทําแบบฝกที่ 2 เรื่อง เซลลสุริยะ จํานวน 5 ขอ
  • 5. 11. นักเรียนแตละกลุมแลกเปลี่ยนกันตรวจ โดยครูคอยใหคําแนะนํา เพื่อพัฒนาความรูความเขาใจ 12. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา สื่อการเรียนรู 1. วัสดุอุปกรณตามใบกิจกรรมที่ 4 2. ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง เซลลสุริยะ 3. อุปกรณการทดลองเรื่องเซลลสุริยะ 4. ใบความรูที่ 4 เรื่องเซลลสุริยะ 5. แบบฝกที่ 2 เรื่อง เซลลสุริยะ 6. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา ชั่วโมงที่ 10-12 เครื่องกําเนิดไฟฟา ขั้นนํา 1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับพลังงานไฟฟาที่ใชกันอยูในปจจุบัน เพื่อนําไปสูเครื่องกําเนิด ไฟฟา 2. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบวาหลังจากเรียนเรื่องเครื่องกําเนิดไฟฟาแลวนักเรียน สามารถอธิบายหลักการทํางานของเครื่องกําเนิดไฟฟาได ขั้นสอน 3. นักเรียนแบงกลุม กลุมละประมาณ 5 –6 คน ที่มีความสามารถคละกัน เกง ปานกลาง ออน และ กําหนดหนาที่ของสมาชิก 4. นักเรียนแตละกลุมศึกษาใบกิจกรรมที่ 5 เรื่อง กระแสเหนี่ยวนําพรอมอุปกรณการทดลองเรื่องกระแส เหนี่ยวนํา พรอมกับบันทึกผลการทดลองลงในแบบบันทึกการทดลอง และอภิปรายภายในกลุม 5. สุมตัวแทนกลุมออกมาอภิปรายผลการทดลอง 6. กลุมที่เหลือตอบคําถามทายการทดลอง 7. นักเรียนศึกษาใบความรูที่ 5 เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟาเพิ่มเติม 8. ตัวแทนกลุมรับใบกิจกรรมที่ 6 เรื่องเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับและกระแสตรง พรอมทั้งอุปกรณ การทดลอง และทําการทดลองตามใบกิจกรรม 9. ตัวแทนกลุมรับใบความรูที่ 6 เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ และกระแสตรง ศึกษาใบความรู และสงตัวแทนออกมาอภิปรายหนาชั้นเรียน ขั้นสรุป 10. นักเรียนสรุปความรูเปนแผนผังความคิดในเรื่องเครื่องกําเนิดกระแสไฟฟา 11. ขณะที่นักเรียนทํากิจกรรม ครูประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ในดานทักษะการสังเกต
  • 6. การทดลองและการลงความเห็นจากขอมูล 12. ขณะนักเรียนทํากิจกรรม ครูสังเกตเจตคติทางวิทยาศาสตรดาน ความซื่อสัตย และความมีเหตุผล 13. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา สื่อการเรียนรู 1. ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่อง กระแสเหนี่ยวนํา 2. วัสดุอุปกรณตามใบกิจกรรมที่ 5 3. ใบความรูที่ 5 เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟา 4. ใบกิจกรรมที่ 6 เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ และกระแสตรง 5. อุปกรณการทดลอง เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ และกระแสตรง 6. ใบความรูที่ 6 เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ และกระแสตรง 7. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา ชั่วโมงที่ 13-15 ความสัมพันธของความตางศักยไฟฟา กระแสไฟฟาและความตานทานไฟฟา ขั้นนํา 1. นักเรียนและครูทบทวนเรื่อง การผลิตกระแสไฟฟาและความตางศักยระหวางแหลงกําเนิดไฟฟา กับเครื่องใชไฟฟา ขั้นสอน 2. ครูอธิบายเรื่องความตางศักยของกระแสไฟฟาและการวัดกระแสไฟฟา 3. แบงนักเรียนออกเปน 8 กลุมใหและกลุมทดลองตามใบกิจกรรมที่ 7 เรื่อง การวัดกระแสไฟฟา และบันทึกผลการทดลอง อภิปรายผลการทดลอง สรุปผลการทดลอง 4. ครูอธิบายเพิ่มเติมเรื่อง การตอไฟฟาแบบอนุกรมและแบบขนาน การใชแอมมิเตอรและโวลต มิเตอรในการวัดกระแสไฟฟา 5. ครูอธิบายเรื่อง ความตางศักยของกระแสไฟฟาของเครื่องใชฟาในบาน 6. ครูอธิบายเรื่อง กระแสไฟฟากับความตางศักย แลวอภิปรายตามประเด็นตอไปนี้ - น้ําในถังทั้งสองใบ มีพลังงานศักยตางกันหรือไม อยางไร - ในเวลาเทากัน น้ําไหลผานทอเล็กหรือทอใหญ อยางใดจะมีปริมาณมากกวากัน ขนาดของทอมีผล ตอการไหลของน้ําหรือไม อยางไร 7. ครูอธิบายการคํานวณเกี่ยวกับความสัมพันธของกระแสไฟฟา ความตางศักยไฟฟา และความ ตานทานไฟฟา 8 ใหนักเรียนทําแบบฝกที่ 3 การคํานวณความสัมพันธของกระแสไฟฟา ความตางศักยไฟฟา และ ความตานทานไฟฟา 9. ครูอธิบายเพิ่มเติมในสวนที่ขาด
  • 7. ขั้นสรุป 10. นักเรียนและครูสรุปความรูตามประเด็นตอไปนี้ - ความตางศักยของกระแสไฟฟา และการวัดกระแสไฟฟา - การตอไฟฟาแบบขนานและแบบอนุกรม - ขอปฏิบัติเกี่ยวกับการใชไฟฟาในบาน 11. นักเรียนและครูรวมกันสรุปเปรียบเทียบการไหลของกระแสไฟฟาผานลวดตัวนํากับการไหล ของน้ําจากที่สูงผานทอที่มีขนาดตางกัน 12. นักเรียนแตละคนสรุปความรูที่เรียนมาทั้งหมด เปนแผนผังความคิด ลงในสมุดบันทึก 13. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา สื่อการเรียนรู 1. ใบกิจกรรมที่ 7 เรื่อง การวัดกระแสไฟฟา 2. วัสดุอุปกรณตามใบกิจกรรมที่ 7 3. แบบฝกที่ 3 การคํานวณความสัมพันธของกระแสไฟฟา ความตางศักยไฟฟา และความตานทานไฟฟา 4. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา ชั่วโมงที่ 15-16 วงจรไฟฟาในบาน ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ใหนักเรียนสังเกตหลอดไฟฟาและวิธีการตอหลอดไฟฟาในหองเรียนหรือบริเวณโรงเรียนวามี วิธีการตออยางไร มีอุปกรณไฟฟาอะไรบาง รวมกันอภิปราย ขั้นสอน 2. ครูอธิบายเรื่อง การตอหลอดไฟฟาแบบขนานและแบบอนุกรม และความแตกตางของการตอ หลอดไฟฟาแบบอนุกรมและแบบขนาน และการตอหลอดไฟฟาที่ใชในบาน 3. แบงนักเรียนออกเปน 8 กลุม แตละกลุมทดลองตามใบ กิจกรรมที่ 8 เรื่อง หลอดไฟฟาในบานควร ตออยางไร พรอมทั้งบันทึกผลการทดลอง อภิปรายผลการทดลอง และสรุปผลการทดลอง 4. แตละกลุมนําเสนอผลการทดลองหนาชั้นเรียน 5. ครูอธิบายเพิ่มเติมเรื่องการตอไฟฟาแบบอนุกรมและแบบขนาน และสาธิตการทดลองเพิ่มเติม 6. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 – 6 คน ที่มีความสามารถ คละกัน เกง ปานกลาง ออน และกําหนด หนาที่ของสมาชิก 7. นักเรียนศึกษาจากผังวงจรไฟฟาจากภาพแลวทําแบบฝกที่ 4 เรื่องวงจรไฟฟา 8. นักเรียนศึกษาใบความรู ที่ 8 เรื่องวงจรไฟฟาในบาน 9. ครูกําหนดใหแบงกลุมออกมาสรุปความรูจากใบความรูที่ 8 หนาชั้นเรียนดังนี้ กลุม 1 และ 5 สรุปความรูเรื่อง สายไฟ
  • 8. กลุม 2 และ 6 สรุปความรูเรื่อง สะพานไฟ กลุม 3 และ 7 สรุปความรูเรื่อง ฟวส กลุม 4 และ 8 สรุปความรูเรื่อง เตารับเตาเสียบ โดยแตละกลุมจับคูกันสรุปความรูแลวใหสมาชิกในหองเปนผูตัดสินวากลุมใดสามารถสรุปได เขาใจมากที่สุด 10. ครูอธิบายเพิ่มเติมเรื่องการคํานวณหาคากระแสไฟฟาที่ใชในบาน เพื่อเลือกใชฟวสใหถูกตอง ขั้นสรุป 11. นักเรียนแตละคนสรุปความรู เปนแผนผังความคิด ลงในสมุดบันทึกของตนเอง สงครู 12.นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา สื่อการเรียนรู 1. วัสดุอุปกรณตามใบกิจกรรมที่ 8 2.ใบกิจกรรมที่ 8 เรื่อง หลอดไฟฟาในบานควรตออยางไร 3. แบบฝกที่ 4 เรื่องวงจรไฟฟา 4. ใบกิจกรรมที่ 8 เรื่อง วงจรไฟฟาในบาน 5. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา ชั่วโมงที่ 17 – 18 เครื่องใชไฟฟาในบาน ขั้นนํา 1. ครูถามนักเรียนวา ในบานนักเรียนมีเครื่องใชไฟฟาอะไรบาง ใหแตละคนเขียนเครื่องใชไฟฟาใน บานของตนเองที่มีอยูทั้งหมด 2. แตละกลุมชวยกันนําเสนอเครื่องใชในบานของตนเองภายในกลุม ครูแนะนําใหนักเรียนแตละกลุม ชวยกันวิเคราะห แลวจําแนกเครื่องใชเหลานั้นออกเปนกลุมใหญ โดยครูไมกําหนดเกณฑในการจําแนก 3. ใหแตละกลุมออกมาเสนอความคิดในการจําแนกเครืองใชไฟฟาของแตละกลุม โดยใหบอกเกณฑ ่ ในการจําแนกดวย 4. ครูไมชี้วากลุมใดถูกหรือผิด ขั้นสอน 5. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 – 6 คน ที่มีความสามารถ คละกัน เกง ปานกลาง ออน และกําหนด หนาที่ของสมาชิก 6. แตละกลุมรับใบความรูที่ 9 เรื่องเครื่องใชไฟฟาในบาน ทุกกลุมศึกษาเครื่องใชไฟฟาทุกประเภท 7. ครูทบทวนการแบงประเภทของเครื่องใชไฟฟาของแตละกลุมเมื่อตนคาบ และสอบถามวา กลุมใด ที่แบงประเภทของเครื่องใชไฟฟาไดถูกตองบาง ขั้นสรุป
  • 9. 8. นักเรียนแตละคนสรุปความรู เปนแผนผังความคิด ลงในสมุดบันทึกของตนเอง สงครู 9. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา สื่อการเรียนรู 1. ใบความรูที่ 9 เรื่องเครื่องใชไฟฟาในบาน 2. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา ชั่วโมงที่ 17 – 18 เครื่องใชไฟฟาในบาน ขั้นนํา 1. ครูถามนักเรียนวา ในบานนักเรียนมีเครื่องใชไฟฟาอะไรบาง ใหแตละคนเขียนเครื่องใชไฟฟาใน บานของตนเองที่มีอยูทั้งหมด 2. แตละกลุมชวยกันนําเสนอเครื่องใชในบานของตนเองภายในกลุม ครูแนะนําใหนักเรียนแตละกลุม ชวยกันวิเคราะห แลวจําแนกเครื่องใชเหลานั้นออกเปนกลุมใหญ โดยครูไมกําหนดเกณฑในการจําแนก 3. ใหแตละกลุมออกมาเสนอความคิดในการจําแนกเครื่องใชไฟฟาของแตละกลุม โดยใหบอกเกณฑ ในการจําแนกดวย 4. ครูไมชี้วากลุมใดถูกหรือผิด ขั้นสอน 5. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 – 6 คน ที่มีความสามารถ คละกัน เกง ปานกลาง ออน และกําหนด หนาที่ของสมาชิก 6. แตละกลุมรับใบความรูที่ 9 เรื่องเครื่องใชไฟฟาในบาน ทุกกลุมศึกษาเครื่องใชไฟฟาทุกประเภท 7. ครูทบทวนการแบงประเภทของเครื่องใชไฟฟาของแตละกลุมเมื่อตนคาบ และสอบถามวา กลุมใด ที่แบงประเภทของเครื่องใชไฟฟาไดถูกตองบาง ขั้นสรุป 8. นักเรียนแตละคนสรุปความรู เปนแผนผังความคิด ลงในสมุดบันทึกของตนเอง สงครู 9. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา สื่อการเรียนรู 1. ใบความรูที่ 9 เรื่องเครืองใชไฟฟาในบาน ่ 2. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา ชั่วโมงที่ 19 - 20 การใชพลังงานไฟฟาอยางประหยัดและคุมคา ขั้นนําเขาสูบทเรียน
  • 10. 1. ครูถามนักเรียนวา นักเรียนเห็นดวยหรือไมกับการประหยัดไฟฟา เพราะเหตุใดจึงเห็นดวย และ นักเรียนมีแนวปฏิบัติอยางไรในการประหยัดไฟฟา 2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนอภิปรายอยางอิสระ ขั้นสอน 3. ครูอธิบายวิธีการคิดคํานวณคาไฟ และใหนักเรียนทําแบบฝกที่ 6 การคํานวณคาไฟฟา 4. ครูมอบหมายใหนักเรียนไปสืบคนขอมูลจากอินเตอรเน็ตเรื่อง108 วิธีประหยัดพลังงานไฟฟา 5. จากขอมูลที่สืบคนได ใหแตละกลุมนําขอมูลมาสรุปเปนแผนผังความคิด พรองทั้งตกแตงให สวยงามนาอาน และนํามาจัดบอรด ขั้นสรุป 8. นักเรียนแตละคนสรุปความรู เปนแผนผังความคิด ลงในสมุดบันทึกของตนเอง สงครู 9. นักเรียนทําแบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา 10. ทําแบบทดสอบหลังเรียน กิจกรรมเพิ่มเติม 1. ทําโครงการฟากกวานรวมใจประหยัดไฟเพื่อในหลวง โดยใหนักเรียนทุกคนนําบิลคาไฟฟามาสง ครูทุกสิ้นเดือน หรือทุกครั้งที่จายคาไฟ โดยครูกําหนดใหนักเรียนพยามประหยัดพลังงานไฟฟาที่ใชในบาน ถาหากคาไฟฟาแตละเดือนลดลง จะไดรับคะแนนเพิ่มเปนกรณีพิเศษ ทํากิจกรรมนี้จนกระทั่งสิ้นปการศึกษา 2. ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจาก E – Library เรื่องไฟฟา และสรุปความรูสงครู เพื่อรับคะแนน เพิ่มเติมพิเศษ สื่อการเรียนรู 1. แบบฝกที่ 6 การคํานวณคาไฟฟา 2. แบบฝกเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรูของสํานักพิมพนิยมวิทยา 3. ทําแบบทดสอบหลังเรียน การวัดผลและประเมินผล 1. วิธีการวัด 1.1 ประเมินทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร 1.2 ประเมินเจตคติ 1.3 ตรวจแบบฝก 1.4 ตรวจแบบบันทึกการทดลอง 1.5 ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
  • 11. 2. เครื่องมือวัดผลและประเมินผล 2.1 แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร 2.2 แบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร 2.3 แบบฝก 2.4 แบบบันทึกการทดลอง 2.5 แบบทดสอบหลังเรียน 3. เกณฑในการวัดผลและประเมินผล 3.1 เกณฑการประเมินจากแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร คะแนน 4 – 5 ดี คะแนน 2 - 3 พอใช คะแนน 0 – 1 ปรับปรุง 3.2 เกณฑการประเมินจากแบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร คะแนน 4 – 5 ดี คะแนน 2 - 3 พอใช คะแนน 0 – 1 ปรับปรุง 3.3 เกณฑประเมินการตรวจแบบฝก คะแนน 4 – 5 ดี คะแนน 2 - 3 พอใช คะแนน 0 – 1 ปรับปรุง 3.4 เกณฑประเมินการตรวจแบบบันทึกการทดลอง คะแนน 4 – 5 ดี คะแนน 2 - 3 พอใช คะแนน 0 – 1 ปรับปรุง 3.5 เกณฑการประเมิน การตรวจแบบทดสอบหลังเรียน คะแนน 4 – 5 ดี คะแนน 2 - 3 พอใช คะแนน 0 – 1 ปรับปรุง
  • 12. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร กลุมที่ ……………. ชั้น …………………….. รายชื่อสมาชิก 1. ……………………………. เลขที่ ………….. 4. ………………………………. เลขที่ …………… 2. .……………..……………. เลขที่ ………….. 5. ………………………………. เลขที่ …………… 3. .……………..……………. เลขที่ ………….. 6. ………………………………. เลขที่ …………… ความหมายของคะแนน 3 = ดี , 2 = พอใช , 1 = ปรับปรุง ระดับคะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร 3 2 1 1. ทักษะการสังเกต 2. ทักษะการทดลอง 3. ทักษะการจําแนกประเภท 4. ทักษะการจัดกระทําขอมูล 5. ทักษะการแปลความหมายจากขอมูล 6. ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล 7. ทักษะการสรุป รวม
  • 13. แบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร กลุมที่ ……………. ชั้น …………………….. รายชื่อสมาชิก 1 ……………………………. เลขที่ ……….…….. 4. ………………………………. เลขที่ ……………… 2 ..……………..……………. เลขที่ …………….. 5. ………………………………. เลขที่ …………….. 3 .……………..……………. เลขที่ ……….…….. 6. ………………………………. เลขที่ ……………… ความหมายของคะแนน 3 = ดี , 2 = พอใช , 1 = ปรับปรุง ระดับคะแนน เจตคติทางวิทยาศาสตร 3 2 1 1. ความซื่อสัตย 1.1 ไมเอาผลงานของผูอื่นมาเปนของตน 1.2 ตั้งใจทํางานดวยตนเอง 2. ความรับผิดชอบ และเพียรพยายาม 2.1 ทํางานเต็มความสามารถ 2.2 ทํางานครบถวน รวม
  • 14. แบบประเมินคุณลักษณะ กลุมที่ ……………. ชัน …………………….. ้ รายชื่อสมาชิก 1 ……………………………. เลขที่ …….…….. 4. ………………………………. เลขที่ ………………… 2 ..……………..……………. เลขที่ ………….. 5. ………………………………. เลขที่ ………………… 3 .……………..……………. เลขที่ …………... 6. ………………………………. เลขที่ ………………… ความหมายของคะแนน 3 = ดี , 2 = พอใช , 1 = ปรับปรุง ระดับคะแนน คุณลักษณะ 3 2 1 1. มีระเบียบวินัยในตนเอง 2. มีความรับผิดชอบ 3. มีความเมตตากรุณา 4. มีความซื่อสัตย สุจริต 5. มีมารยาท สมกับความเปนไทย 6. ใชสิ่งของและทรัพยสินอยางประหยัด ทั้งของตนเอง และสังคม รวม
  • 15. เกณฑระดับคุณภาพดานความรูและทักษะ : การทําแผนผังความคิด ( mapping) เกณฑการประเมิน 1. ใจความหลักถูกตอง 2. ใจความรองครอบคลุม มีตัวอยาง (รายละเอียด) 3. เสนโยงสัมพันธถูกตอง 4. สวยงาม นาสนใจ ระดับคะแนน แปลความหมาย 3 ใจความหลักถูกตอง มีคําสําคัญ ใจความรองสนับสนุนใจความหลัก มีตัวอยางมีเสน (ดี) โยงสัมพันธถูกตอง สวยงาม มีความคิดสรางสรรค นาสนใจ 2 ใจความหลักถูกตอง ไมมีคําสําคัญ มีใจความรองอยูบางและสนับสนุนใจความหลัก (พอใช) มีเสนโยงสัมพันธ แตยังไมถูกตองทั้งหมด ออกแบบสวยแตไมแปลกใหม 1 ใจความหลักไมถูกตอง ใจความรองไมสนับสนุนใจความหลัก เสนโยงสัมพันธไมถูก (ปรับปรุง) การออกแบบธรรมดา แบบประเมินการทําแผนผังความคิด กลุมที่ ……………. ชั้น …………………….. รายชื่อสมาชิก 1 ……………………………. เลขที่ ……….. 4. ………………………………. เลขที่ …………… 2 ..……………..……………. เลขที่ ……….. 5. ………………………………. เลขที่ …………… 3 .……………..……………. เลขที่ ……….. 6. ………………………………. เลขที่ ………….… ความหมายของคะแนน 3 = ดี , 2 = พอใช , 1 = ปรับปรุง ระดับคะแนน คุณลักษณะ 3 2 1 1. ใจความหลักถูกตอง 2. ใจความรองครอบคลุม มีตัวอยาง (รายละเอียด) 3. เสนโยงสัมพันธถูกตอง 4. สวยงาม นาสนใจ รวม
  • 16. บันทึกทายแผนการสอน ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ………………………………….. (………………………………………)
  • 17. ผูสอน ความเห็นหรือขอเสนอแนะของหัวหนาหมวดวิชา ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ………………………………….. (………………………………………) หัวหนาหมวดวิชา ความเห็นของผูอํานวยการหรือผูชวยผูอํานวยการฝายวิชาการ หรือผูที่ไดรับมอบหมาย ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ………………………………….. (………………………………………)