SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
จังหวัด พัทลุง
                     ตราประจำจังหวัดพัทลุง ” รูปภูเขาอกทะลุ
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด ,[object Object]
ตราผ้าผูกคอลูกเสือ
แผนที่จังหวัดพัทลุง
หน่วยการปกครอง การปกครองแบ่งออกเป็น  11  อำเภอ   65  ตำบล   626  หมู่บ้าน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object], 
ดอกไม้ประจำจังหวัดชื่อ “ ดอกพะยอม”  
ประวัติความเป็นมาของจังหวัดพัทลุง   จังหวัดพัทลุง   มีประวัติความเป็นมายาวนาน ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ดังปรากฏหลักฐานจากการค้นพบขวานหินขัดในท้องที่ทั่วไปหลายอำเภอ ในสมัยศรีวิชัย ( พุทธศตวรรษที่   13 -14)  บริเวณเมืองพัทลุงเป็นแหล่งชุมนุมที่ได้รับวัฒนธรรมอินเดียในด้านพุทธศาสนาลัทธิมหายาน มีหลักฐานค้นพบ เช่น พระพิมพ์ดินดิบจำนวนมาก   เป็นรูปพระโพธิสัตว์รูปเทวดา โดยค้นพบบริเวณถ้ำคูหาสวรรค์ และถ้ำเขาอกทะลุ
ต่อมา   ในพุทธศตวรรษที่   19  เมืองพัทลุง ได้ตั้งขึ้นอย่างมั่นคง   ภายใต้การปกครองของกรุงศรีอยุธยามีฐานะเป็นเมืองชั้นตรี   ซึ่งนับว่าเป็นหัวเมืองหนึ่งของพระราชอาณาจักรทางใต้   ในสมัยนั้นเมืองพัทลุงมักจะประสบปัญหาการโจมตีจากกลุ่มโจรสลัดมาเลย์อยู่เสมอโดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มโจรสลัดอาแจะอารูและยุยงคตนะ   ได้โจมตีเผาทำลายสร้างความเสียหายแก่เมืองพัทลุง ถึงสองครั้ง   ปัญหาดังกล่าวนี้เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้มีการย้ายสถานที่ตั้งเมือง อยู่เสมอ  
ได้ยกขึ้นเป็นเมืองชั้นโทในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช   ในช่วงนี้เมืองพัทลุงมีผู้นำสำคัญในการสร้างความเจริญ   และความมั่นคงให้กับบ้านเมืองหลายท่าน อาทิเช่น พระยาพัทลุง  ( ขุนคางเหล็ก )   พระยาวิชิตเสนา ( ทองขาว )  พระยาอภัยบริรักษ์  ( จุ้ย จันทโรจนวงศ์ ) ได้ป้องกันเอกราชของชาติมาหลายครั้ง เช่น เมื่อสงครามเก้าทัพ  ( พ . ศ . 2328 - 2329) พระมหาช่วย วัดป่าลิไลย์ ได้นำชาวพัทลุงต่อสู้ป้องกันการรุกราน   ของพม่าจนได้รับความดีความชอบ โปรดเกล้าฯ ให้เป็นพระยาช่วยทุกขราษฎร์   ช่วยราชการเมืองพัทลุงนอกจากสงครามกับพม่าแล้ว   ชาวพัทลุงยังมีบทบาทสำคัญในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศชาติ   ในหัวเมืองภาคใต้
จากอดีตถึงปัจจุบันเมืองพัทลุงได้มีการย้ายเมืองหลายครั้ง   สถานที่ที่เคยเป็นเมืองที่ตั้งเมืองพัทลุงได้แก่ 1.  โคกเมืองแก้ว ปัจจุบัน   หมู่ที่   4  ตำบลจองถนน อำเภอเขาชัยสน 2.  บ้านควนแร่ ปัจจุบัน   หมู่ที่   1  ตำบลควนมะพร้าว อำเภอเมืองพัทลุง 3. เขาชัยบุรี ( เขาเมืองฯ )   ปัจจุบัน คือตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง 4.  ท่าเสม็ด ปัจจุบัน   ตำบลท่าเสม็ด อำเภอชะอวด จ . นครศรีธรรมราช 5.  เมืองพระรถ ปัจจุบัน   หมู่ที่   1  ตำบลพญาขัน อำเภอเมืองพัทลุง 6.  บ้านควนมะพร้าว ปัจจุบัน   หมู่ที่   2  ตำบลพญาขัน อำเภอเมืองพัทลุง 7.  บ้านม่วง ปัจจุบัน หมู่ที่   6  ตำบลพญาขัน อำเภอเมืองพัทลุง 8.  บ้านโคกลุง ปัจจุบัน   หมู่ที่ 4  ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง
ชื่อเมืองพัทลุง              ในสมัยก่อนชื่อเมืองพัทลุง   ไม่ได้เขียนอย่างที่ปรากฏให้เห็น จากหลักฐานพบว่า บนเหรียญอีแปะพัทลุง พ . ศ .  2426  เขียนว่า พัททะลุง และพัตะลุง ในเอกสาร ของไทย ใช้ต่างกันมากมาย ได้แก่ พัตะลุง   พัดทลุง พัทธลุง พัฒลุง พัทลุง ในเอกสาร เบอร์นีของอังกฤษสมัยรัชกาลที่   3  เ ขียนว่า   Bondelun  และ   Merdelong  ของนายลามาร์ วิศวกรชาวฝรั่งเศส สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช   เขียนว่า   Bourdelun
ความหมายของชื่อเมือง                                  เมืองช้างหรือเมืองเกี่ยวเนื่องด้วยช้าง ซึ่งตรงกับข้อเท็จจริงหลายประการ คำว่า  “ พัด - ท - พัทธ ” ยังไม่อาจทราบได้ว่าคำเดิมเขียนอย่างไร คำไหน   ทราบเพียงว่าเป็นคำขึ้นต้น ส่วนคำพื้นเมืองที่เรียกว่า  “ ตะลุง ”  แปลว่าเสาล่ามช้าง   หรือไม้หลักผูกช้าง ชื่อบ้านนามเมืองของพัทลุงที่เกี่ยวกับช้างมีมาก   หรือจะเรียกว่าเป็น  “ เมืองช้าง ”  ก็ได้   โดยเฉพาะทางฝั่งตะวันตกของทะเลสาบสงขลาในแถบชะรัด ซึ่งอยู่ติดกับเทือกเขาบรรทัด   มีช้างป่าชุกชุม และในตำนานนางเลือดขาว ตำนานเมืองพัทลุงกล่าวว่า ตาสามโม ยายเพชร   เป็นหมอสดำ หมอเฒ่านายกองช้าง เลี้ยงช้างส่งเจ้าพระยากรุงทอง ทุกปี   ต่อมาพระกุมารกับนางเลือดขาวก็ได้รับมรดกเป็นนายกองเลี้ยงช้างส่งส่วย   ซึ่งในปัจจุบันชาวบ้านบางส่วนยังคงนับถือ  “ ตาหมอช้าง ” 
ที่ตั้งและอาณาเขต                               จังหวัดพัทลุง   ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของภาคใต้ของประเทศไทย ระหว่างละติจูดที่   7  องศา   6  ลิปดาเหนือ ถึง   7  องศา   53  ลิปดาเหนือ และลองติจูดที่   9 องศา   44  ลิปดาตะวันออก   ห่างจากกรุงเทพมหานครตามเส้นทาง สายเอเซีย  ( ทางหลวงหมายเลข   41 )  เป็นระยะทางประมาณ   858  กิโลเมตร และตามเส้นทางรถไฟระยะทาง ประมาณ   846  กิโลเมตร   ความยาวของจังหวัดจากทิศเหนือไปทิศใต้ประมาณ   78 กิโลเมตร   และความกว้างจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก ระยะทางประมาณ   53 กิโลเมตร   มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ   3,424.473  ตารางกิโลเมตร หรือ   2,140,296  ไร่  ( พื้นดิน   1,919,446  ไร่ พื้นน้ำ   220,850  ไร่ )
มีอาณาเขต  ดังนี้   -   ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอชะอวด   จังหวัดนครศรีธรรมราช และอำเภอระโนด จังหวัดสงขลา -   ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอควนเนียง   อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลาและอำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล -   ทิศตะวันออก   ติดต่อกับทะเลสาบสงขลา ซึ่งเป็นน่านน้ำติดต่อกับอำเภอระโนด อำเภอกระแสสินธุ์          อำเภอสทิงพระ และอำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา -    ทิศตะวันตก   ติดต่อกับเทือกเขาบรรทัด ซึ่งเป็นแนวติดต่อกับอำเภอห้วยยอด อำเภอเมือง อำเภอนาโยง        อำเภอย่านตาขาว และอำเภอ ปะเหลียน จังหวัดตรัง
ลักษณะภูมิประเทศ                 สภาพพื้นที่มีลักษณะเป็นภูเขาและที่ราบสูง ทางด้านตะวันตกอันประกอบด้วย   เทือกเขาบรรทัด มีระดับสูงจากน้ำทะเลปานกลาง ประมาณ   50 - 1,000 เมตร   ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้ เช่น สวนยางพารา สวนไม้ผลและไม้ยืนต้น   ถัดลงมาทางด้านตะวันออกเป็นที่ราบสลับที่ดอน มีความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางเฉลี่ย   0 - 15  เมตร บริเวณนี้ส่วนใหญ่ปลูกข้าว ยางพารา มะพร้าว พืชผัก และพืชไร่ชนิดต่างๆ   โดยมีอัตราความลาดชัน   1: 1,000  จากทิศตะวันตกมาสู่ทิศตะวันออกของจังหวัด
ลักษณะภูมิประเทศโดยภาพรวมลาดเทจากที่สูง   ด้าน ทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออกจนถึงทะเลสาบสงขลา โดยอาจแบ่งออกเป็น   4  ลักษณะ   คือ 1. พื้นที่ภูเขาสูงชันทางด้านตะวันตก มีเนื้อที่ประมาณ   4.3  แสนไร่ 2. พื้นที่ดอน  -  ลาดชันสูง   มีเนื้อที่ประมาณ   1.9 แสนไร่ 3. พื้นที่ดอน  -  ลาดชันน้อย   มีเนื้อที่ประมาณ   6.1  แสนไร่ 4. พื้นที่ต่ำ  -   ราบเรียบรวมทั้งพื้นที่ลุ่ม มีเนื้อที่ประมาณ   7.9  แสนไร่
ลักษณะภูมิอากาศ สภาพภูมิอากาศมี   2  ฤดูกาล คือ   ฤดูร้อน และฤดูฝนได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และมรสุมตะวันตกเฉียงใต้   ปริมาณน้ำฝนโดยเฉลี่ย   1,853.5  มิลลิเมตรต่อปี จำนวนวันฝนตกเฉลี่ย   154  วันต่อปี   อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย   29.3  องศาเซลเซียส ในเดือนเมษายน และอุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย   26.7  องศาเซลเซียส ในเดือนธันวาคม อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี   28.14  องศาเซลเซียส   ความชื้นสัมพัทธ์อยู่ระหว่าง   75 – 83  เปอร์เซ็นต์ โดยเฉลี่ย   78.7  เปอร์เซ็นต์   และความเร็วลมประมาณ   1 - 2  เมตรต่อวินาที ปริมาณการระเหยของน้ำ ประมาณ   3.3 - 5.5  มิลลิเมตรต่อวัน
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]

More Related Content

Similar to จ.พัทลุง

แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาKanjana thong
 
จังหวัดนครศรีธรรมราช
 จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช
จังหวัดนครศรีธรรมราชSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 okเอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 okPatpong Lohapibool
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางorawan155
 

Similar to จ.พัทลุง (15)

แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
 
จังหวัดนครศรีธรรมราช
 จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช
จังหวัดนครศรีธรรมราช
 
จังหวัดพิจิตร
จังหวัดพิจิตรจังหวัดพิจิตร
จังหวัดพิจิตร
 
พระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยาพระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยา
 
เรื่องจังหวัดพิจิตร
เรื่องจังหวัดพิจิตรเรื่องจังหวัดพิจิตร
เรื่องจังหวัดพิจิตร
 
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 okเอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
 
จังหวัดนราธิวาส
จังหวัดนราธิวาสจังหวัดนราธิวาส
จังหวัดนราธิวาส
 
จังหวัดนราธิวาส501
จังหวัดนราธิวาส501จังหวัดนราธิวาส501
จังหวัดนราธิวาส501
 
สุราฎร์ธานี
สุราฎร์ธานีสุราฎร์ธานี
สุราฎร์ธานี
 
สุราฎร์ธานี
สุราฎร์ธานีสุราฎร์ธานี
สุราฎร์ธานี
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลาง
 
จังหวัดเพชรบุรี
จังหวัดเพชรบุรีจังหวัดเพชรบุรี
จังหวัดเพชรบุรี
 
จังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษจังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษ
 
ราชบุรี
ราชบุรีราชบุรี
ราชบุรี
 
3
33
3
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

จ.พัทลุง

  • 3.
  • 6.
  • 8. ประวัติความเป็นมาของจังหวัดพัทลุง   จังหวัดพัทลุง   มีประวัติความเป็นมายาวนาน ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ดังปรากฏหลักฐานจากการค้นพบขวานหินขัดในท้องที่ทั่วไปหลายอำเภอ ในสมัยศรีวิชัย ( พุทธศตวรรษที่   13 -14)  บริเวณเมืองพัทลุงเป็นแหล่งชุมนุมที่ได้รับวัฒนธรรมอินเดียในด้านพุทธศาสนาลัทธิมหายาน มีหลักฐานค้นพบ เช่น พระพิมพ์ดินดิบจำนวนมาก   เป็นรูปพระโพธิสัตว์รูปเทวดา โดยค้นพบบริเวณถ้ำคูหาสวรรค์ และถ้ำเขาอกทะลุ
  • 9. ต่อมา   ในพุทธศตวรรษที่   19  เมืองพัทลุง ได้ตั้งขึ้นอย่างมั่นคง   ภายใต้การปกครองของกรุงศรีอยุธยามีฐานะเป็นเมืองชั้นตรี   ซึ่งนับว่าเป็นหัวเมืองหนึ่งของพระราชอาณาจักรทางใต้   ในสมัยนั้นเมืองพัทลุงมักจะประสบปัญหาการโจมตีจากกลุ่มโจรสลัดมาเลย์อยู่เสมอโดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มโจรสลัดอาแจะอารูและยุยงคตนะ   ได้โจมตีเผาทำลายสร้างความเสียหายแก่เมืองพัทลุง ถึงสองครั้ง   ปัญหาดังกล่าวนี้เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้มีการย้ายสถานที่ตั้งเมือง อยู่เสมอ  
  • 10. ได้ยกขึ้นเป็นเมืองชั้นโทในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช   ในช่วงนี้เมืองพัทลุงมีผู้นำสำคัญในการสร้างความเจริญ   และความมั่นคงให้กับบ้านเมืองหลายท่าน อาทิเช่น พระยาพัทลุง ( ขุนคางเหล็ก )   พระยาวิชิตเสนา ( ทองขาว ) พระยาอภัยบริรักษ์ ( จุ้ย จันทโรจนวงศ์ ) ได้ป้องกันเอกราชของชาติมาหลายครั้ง เช่น เมื่อสงครามเก้าทัพ ( พ . ศ . 2328 - 2329) พระมหาช่วย วัดป่าลิไลย์ ได้นำชาวพัทลุงต่อสู้ป้องกันการรุกราน   ของพม่าจนได้รับความดีความชอบ โปรดเกล้าฯ ให้เป็นพระยาช่วยทุกขราษฎร์   ช่วยราชการเมืองพัทลุงนอกจากสงครามกับพม่าแล้ว   ชาวพัทลุงยังมีบทบาทสำคัญในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศชาติ   ในหัวเมืองภาคใต้
  • 11. จากอดีตถึงปัจจุบันเมืองพัทลุงได้มีการย้ายเมืองหลายครั้ง   สถานที่ที่เคยเป็นเมืองที่ตั้งเมืองพัทลุงได้แก่ 1.  โคกเมืองแก้ว ปัจจุบัน   หมู่ที่   4  ตำบลจองถนน อำเภอเขาชัยสน 2.  บ้านควนแร่ ปัจจุบัน   หมู่ที่   1  ตำบลควนมะพร้าว อำเภอเมืองพัทลุง 3. เขาชัยบุรี ( เขาเมืองฯ )   ปัจจุบัน คือตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง 4.  ท่าเสม็ด ปัจจุบัน   ตำบลท่าเสม็ด อำเภอชะอวด จ . นครศรีธรรมราช 5.  เมืองพระรถ ปัจจุบัน   หมู่ที่   1  ตำบลพญาขัน อำเภอเมืองพัทลุง 6.  บ้านควนมะพร้าว ปัจจุบัน   หมู่ที่   2  ตำบลพญาขัน อำเภอเมืองพัทลุง 7.  บ้านม่วง ปัจจุบัน หมู่ที่   6  ตำบลพญาขัน อำเภอเมืองพัทลุง 8.  บ้านโคกลุง ปัจจุบัน   หมู่ที่ 4  ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง
  • 12. ชื่อเมืองพัทลุง              ในสมัยก่อนชื่อเมืองพัทลุง   ไม่ได้เขียนอย่างที่ปรากฏให้เห็น จากหลักฐานพบว่า บนเหรียญอีแปะพัทลุง พ . ศ .  2426  เขียนว่า พัททะลุง และพัตะลุง ในเอกสาร ของไทย ใช้ต่างกันมากมาย ได้แก่ พัตะลุง   พัดทลุง พัทธลุง พัฒลุง พัทลุง ในเอกสาร เบอร์นีของอังกฤษสมัยรัชกาลที่   3  เ ขียนว่า   Bondelun  และ   Merdelong  ของนายลามาร์ วิศวกรชาวฝรั่งเศส สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช   เขียนว่า   Bourdelun
  • 13. ความหมายของชื่อเมือง                                  เมืองช้างหรือเมืองเกี่ยวเนื่องด้วยช้าง ซึ่งตรงกับข้อเท็จจริงหลายประการ คำว่า  “ พัด - ท - พัทธ ” ยังไม่อาจทราบได้ว่าคำเดิมเขียนอย่างไร คำไหน   ทราบเพียงว่าเป็นคำขึ้นต้น ส่วนคำพื้นเมืองที่เรียกว่า  “ ตะลุง ”  แปลว่าเสาล่ามช้าง   หรือไม้หลักผูกช้าง ชื่อบ้านนามเมืองของพัทลุงที่เกี่ยวกับช้างมีมาก   หรือจะเรียกว่าเป็น  “ เมืองช้าง ”  ก็ได้   โดยเฉพาะทางฝั่งตะวันตกของทะเลสาบสงขลาในแถบชะรัด ซึ่งอยู่ติดกับเทือกเขาบรรทัด   มีช้างป่าชุกชุม และในตำนานนางเลือดขาว ตำนานเมืองพัทลุงกล่าวว่า ตาสามโม ยายเพชร   เป็นหมอสดำ หมอเฒ่านายกองช้าง เลี้ยงช้างส่งเจ้าพระยากรุงทอง ทุกปี   ต่อมาพระกุมารกับนางเลือดขาวก็ได้รับมรดกเป็นนายกองเลี้ยงช้างส่งส่วย   ซึ่งในปัจจุบันชาวบ้านบางส่วนยังคงนับถือ  “ ตาหมอช้าง ” 
  • 14. ที่ตั้งและอาณาเขต                              จังหวัดพัทลุง   ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของภาคใต้ของประเทศไทย ระหว่างละติจูดที่   7  องศา   6  ลิปดาเหนือ ถึง   7  องศา   53  ลิปดาเหนือ และลองติจูดที่   9 องศา   44  ลิปดาตะวันออก   ห่างจากกรุงเทพมหานครตามเส้นทาง สายเอเซีย ( ทางหลวงหมายเลข   41 )  เป็นระยะทางประมาณ   858  กิโลเมตร และตามเส้นทางรถไฟระยะทาง ประมาณ   846  กิโลเมตร   ความยาวของจังหวัดจากทิศเหนือไปทิศใต้ประมาณ   78 กิโลเมตร   และความกว้างจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก ระยะทางประมาณ   53 กิโลเมตร   มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ   3,424.473  ตารางกิโลเมตร หรือ   2,140,296  ไร่ ( พื้นดิน   1,919,446  ไร่ พื้นน้ำ   220,850  ไร่ )
  • 15. มีอาณาเขต ดังนี้   -   ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอชะอวด   จังหวัดนครศรีธรรมราช และอำเภอระโนด จังหวัดสงขลา -   ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอควนเนียง   อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลาและอำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล -   ทิศตะวันออก   ติดต่อกับทะเลสาบสงขลา ซึ่งเป็นน่านน้ำติดต่อกับอำเภอระโนด อำเภอกระแสสินธุ์          อำเภอสทิงพระ และอำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา -    ทิศตะวันตก   ติดต่อกับเทือกเขาบรรทัด ซึ่งเป็นแนวติดต่อกับอำเภอห้วยยอด อำเภอเมือง อำเภอนาโยง        อำเภอย่านตาขาว และอำเภอ ปะเหลียน จังหวัดตรัง
  • 16. ลักษณะภูมิประเทศ                 สภาพพื้นที่มีลักษณะเป็นภูเขาและที่ราบสูง ทางด้านตะวันตกอันประกอบด้วย   เทือกเขาบรรทัด มีระดับสูงจากน้ำทะเลปานกลาง ประมาณ   50 - 1,000 เมตร   ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้ เช่น สวนยางพารา สวนไม้ผลและไม้ยืนต้น   ถัดลงมาทางด้านตะวันออกเป็นที่ราบสลับที่ดอน มีความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางเฉลี่ย   0 - 15  เมตร บริเวณนี้ส่วนใหญ่ปลูกข้าว ยางพารา มะพร้าว พืชผัก และพืชไร่ชนิดต่างๆ   โดยมีอัตราความลาดชัน   1: 1,000  จากทิศตะวันตกมาสู่ทิศตะวันออกของจังหวัด
  • 17. ลักษณะภูมิประเทศโดยภาพรวมลาดเทจากที่สูง   ด้าน ทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออกจนถึงทะเลสาบสงขลา โดยอาจแบ่งออกเป็น   4  ลักษณะ   คือ 1. พื้นที่ภูเขาสูงชันทางด้านตะวันตก มีเนื้อที่ประมาณ   4.3  แสนไร่ 2. พื้นที่ดอน - ลาดชันสูง   มีเนื้อที่ประมาณ   1.9 แสนไร่ 3. พื้นที่ดอน - ลาดชันน้อย   มีเนื้อที่ประมาณ   6.1  แสนไร่ 4. พื้นที่ต่ำ -   ราบเรียบรวมทั้งพื้นที่ลุ่ม มีเนื้อที่ประมาณ   7.9  แสนไร่
  • 18. ลักษณะภูมิอากาศ สภาพภูมิอากาศมี   2  ฤดูกาล คือ   ฤดูร้อน และฤดูฝนได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และมรสุมตะวันตกเฉียงใต้   ปริมาณน้ำฝนโดยเฉลี่ย   1,853.5  มิลลิเมตรต่อปี จำนวนวันฝนตกเฉลี่ย   154  วันต่อปี   อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย   29.3  องศาเซลเซียส ในเดือนเมษายน และอุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย   26.7  องศาเซลเซียส ในเดือนธันวาคม อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี   28.14  องศาเซลเซียส   ความชื้นสัมพัทธ์อยู่ระหว่าง   75 – 83  เปอร์เซ็นต์ โดยเฉลี่ย   78.7  เปอร์เซ็นต์   และความเร็วลมประมาณ   1 - 2  เมตรต่อวินาที ปริมาณการระเหยของน้ำ ประมาณ   3.3 - 5.5  มิลลิเมตรต่อวัน
  • 19.