SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
จอมพลพิบูลสงคราม
จัดทำโดย
นำงสำว ศิริรัตน์ โสภำอุทก ชั้นม.๕/๔ เลขที่ ๑๖
เสนอ
อำจำรย์ สฤษดิ์ศักดิ์ ชิ้นเขมจำรี
โรงเรียน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด
 จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอำกำศแปลก พิบูลสงครำม (14 กรกฎาคม พ.ศ.
2440 - 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป. พิบูล
สงครำม" หรือ "จอมพล ป." เป็น นายกรัฐมนตรี ที่มีเวลาดารงตาแหน่ง
รวมกันมากที่สุดของไทย คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย มีนโยบายที่
สาคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียม
นานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออก
ประกาศสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้
ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ
เช่น การราวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น
"ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ใน
ปัจจุบัน
 คาขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชำติพ้นภัย" หรือ
"ท่ำนผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้ำ" ในสายตานักวิชาการ
ประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็น
เผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับ
ความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยมและการปลุกระดมความคลั่งชาติใน
บางครั้ง
 ประวัติ
จอมพล ป. พิบูลสงคราม มีชื่อเดิมว่า "แปลก ขีตตะสังคะ" เกิดเมื่อวันที่ 14
กรกฎาคม พ.ศ. 2440 ที่จังหวัดนนทบุรี เป็นบุตรของนายขีด และนาง
สาอางค์ ขีตตะสังคะ บิดาและมารดามีอาชีพชาวสวน ภริยาคือ ท่านผู้หญิง
ละเอียด พิบูลสงคราม (เดิมนามสกุล "พันธุ์กระวี")
จอมพล แปลก พิบูลสงคราม เข้าศึกษาขั้นต้นที่ โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม
จังหวัดนนทบุรี จากนั้นได้เข้าเรียนในโรงเรียนนายร้อยทหารบก กระทั่ง
สาเร็จการศึกษา เมื่อ พ.ศ. 2459 ขณะอายุ 19 ปี โดยได้รับยศร้อยตรี และเข้า
ประจาการที่กองพลที่ 7 จังหวัดพิษณุโลก จากนั้นไม่นานได้สอบเข้า
โรงเรียนเสนาธิการได้เป็นที่ 1 และเดินทางไปศึกษาต่อที่โรงเรียนเสนาธิ
การทหารบก ประเทศฝรั่งเศสและโรงเรียนทหารขั้นสูง ประเทศอิตาลี จน
สาเร็จการศึกษา และกลับมารับราชการต่อไป กระทั่งได้ยศพันตรี มี
บรรดาศักดิ์และราชทินนาม ที่ "หลวงพิบูลสงครำม"
 เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 พันตรี หลวงพิบูลสงครามได้เข้าร่วมกับ
คณะราษฎร ในเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยได้เป็นกาลังสาคัญในสาย
ทหาร และเมื่อปี พ.ศ. 2477 ท่านได้เลื่อนยศเป็นพันเอก และดารงตาแหน่ง
รองผู้บัญชาการทหารบก ครั้นเมื่อ วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 ท่านได้เข้า
ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี ต่อจากพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา โดย
การลงมติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และในช่วงที่ดารงตาแหน่งก็ได้
เลื่อนยศเป็นพลตรี และเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 ภายหลังจากที่
กองทัพไทยมีชัยชนะต่ออินโดจีนฝรั่งเศส คณะผู้สาเร็จราชการแทน
พระองค์ ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ (พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
อานันทมหิดล) ได้ประกาศพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ พระราชทาน
ยศจอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แก่พลตรีหลวงพิบูลสงคราม[1] ใน
เวลาต่อมาเมื่อรัฐบาลจะยกเลิกบรรดาศักดิ์ไทย หลวงพิบูลสงครามในฐานะ
นายกรัฐมนตรีพร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีชุดที่ 9 จึงลาออกจากบรรดาศักดิ์
โดยหลวงพิบูลสงครามเลือกใช้ราชทินนามเป็นนามสกุล ใช้ว่า จอมพล
แปลก พิบูลสงคราม[2]
 ชีวิตและบทบำททำงกำรเมือง
จอมพล ป. พิบูลสงคราม มีชื่อจริงว่า "แปลก" เนื่องจากเมื่อแรกเกิดบิดามารดา
เห็นว่าหูทั้งสองข้างอยู่ต่ากว่านัยน์ตา ผิดไปจากบุคคลธรรมดา จึงให้ชื่อว่า
แปลก เมื่อขึ้นดารงตาแหน่งสาคัญ ได้ใช้ชื่อว่า ป. ซึ่งเป็นตัวอักษรย่อเฉก
เช่นชื่อของบุคคลสาคัญหลายคนทางประเทศแถบตะวันตกจอมพล ป. เป็น
หนึ่งในคณะนายทหารผู้ร่วมก่อการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี
พ.ศ. 2475 โดยเป็นนายทหารปืนใหญ่ รุ่นน้องของ พันเอกพระยาพหลพล
พยุหเสนา 2 ปี ที่โรงเรียนนายร้อยทหารบก และเป็นสมาชิกคณะราษฎรยุค
ก่อตั้งซึ่งมีทั้งหมด 7 คน ตั้งแต่ยังศึกษาอยู่ในประเทศฝรั่งเศส โดยถือเป็น
ผู้นาของคณะทหารบกยศชั้นผู้น้อย
ต่อมาหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว จอมพล ป. เริ่มมีบทบาทสาคัญ
มากขึ้นเรื่อย ๆ จากเป็นแกนนาในการรัฐประหาร 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476
และเป็นผู้บัญชาการกองกาลังผสม ในการปราบกบฏบวรเดช เมื่อปี พ.ศ.
2476 จนได้รับความไว้วางใจ ให้ดารงตาแหน่งรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงกลาโหม และนายกรัฐมนตรีในเวลาต่อมาซึ่งก่อนหน้านั้นระหว่าง
มีการประชุมกันครั้งแรกของคณะราษฎรที่ยาวนานติดต่อกัน 4 คืน 5 วัน ที่
ประเทศฝรั่งเศส เมื่อต้นปี พ.ศ. 2469 จอมพล ป. ได้เสนอว่าหลัง
เปลี่ยนแปลงการปกครองแล้วให้สาเร็จโทษพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์
แต่ทางนายปรีดี พนมยงค์ ผู้นาคณะราษฎรฝ่ายพลเรือน ได้คัดค้าน โดยยก
เหตุผลว่าหากกระทาเช่นนั้นแล้ว จะทาให้เกิดความวุ่นวายและความรุนแรง
ขึ้นทั่วประเทศเหมือนเช่นการปฏิวัติรัสเซีย[4]
อีกทั้งในการประชุมครั้งสุดท้ายในประเทศไทย ก่อนที่จะลงมือจริงไม่กี่วัน
พ.อ.พระยาทรงสุรเดช ซึ่งเป็นนายทหารบกชั้นผู้ใหญ่ ผู้วางแผนการปฏิวัติ
ทั้งหมด ได้เสนอแผนการออกมา ทางจอมพล ป. ซึ่งขณะนั้นมีบรรดาศักดิ์
เป็น หลวงพิบูลสงคราม ซึ่งถือเป็นนายทหารชั้นผู้น้อยกว่า ได้สอบถามว่า
หากแผนการดังกล่าวไม่สาเร็จ จะมีแผนสารองประการใดหรือไม่ แต่ทาง
ฝ่าย พ.อ.พระยาทรงสุรเดชไม่ตอบ แต่ได้ย้อนถามกลับไปว่า แล้วทางจอม
พล ป. มีแผนอะไร และไม่ยอมตอบว่าตนมีแผนสารองอะไร ซึ่งทั้งคู่ได้มี
ปากเสียงกัน หลังจากการประชุมจบแล้ว จอมพล ป. ได้ปรารภกับนายทวี
บุณยเกตุ สมาชิกคณะราษฎรฝ่ายพลเรือนที่เข้าประชุมด้วยกันว่า ตนเองกับ
พ.อ.พระยาทรงสุรเดช ไม่อาจอยู่ร่วมโลกกันได้ ซึ่งในส่วนนี้ได้พัฒนากลาย
มาเป็นความขัดแย้งกันระหว่างจอมพล ป. พิบูลสงคราม กับพระยาทรงสุร
เดชในเวลาต่อมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรณีกบฏพระยาทรงสุรเดช ในปี พ.ศ.
2482
 กำรดำรงตำแหน่งนำยกรัฐมนตรีครั้งแรก
นับแต่จอมพล ป. ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีใน พ.ศ. 2481 ได้มีนโยบายใน
การสร้างชาติ ซึ่งมีแนวโน้มเป็นลัทธิชาตินิยม เช่น ออกกฎหมายคุ้มครอง
อุตสาหกรรมภายในประเทศ มีการสงวนอาชีพบางอย่างไว้เฉพาะคนไทย
และปลูกฝังให้ประชาชนนิยมใช้สินค้าไทย ด้วยคาขวัญว่า "ไทยทำ ไทยใช้
ไทยเจริญ" รัฐบาลจอมพล ป. ได้เปลี่ยนแปลงประเพณีและวัฒนธรรม
บางอย่าง เพื่อให้สอดคล้องกับการการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และให้เกิด
ความทันสมัย เช่น ประกาศให้ข้าราชการเลิกนุ่งผ้าม่วง เลิกสวมเสื้อราชปะ
แตน และให้นุ่งกางเกงขายาวแทน มีการยกเลิกบรรดาศักด์ และยศ
ข้าราชการพลเรือน มีการเปลี่ยนชื่อประเทศจาก "สยาม" เป็น "ไทย" ใน
วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 และเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่จากวันที่ 1 เมษายน
เป็นวันที่ 1 มกราคมของทุกปี เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสากล โดยเริ่ม
เปลี่ยนในปี พ.ศ. 2484 ทาให้ ปี พ.ศ. 2483 มีเพียง 9 เดือน
มีการสร้างชาติด้วยวัฒนธรรมใหม่ โดยจัดตั้งสภาวัฒนธรรมแห่งชาติขึ้นเมื่อ
พ.ศ. 2485 เพื่อจัดระเบียบการดาเนินชีวิตของคนไทยให้เป็นแบบ
อารยประเทศ โดยประกาศรัฐนิยมฉบับต่างๆ อาทิ สั่งห้ามประชาชนกิน
หมากโดยเด็ดขาด ให้ผู้หญิงเลิกนุ่งโจงกระเบน เปลี่ยนมานุ่งผ้าถุงแทน ให้
สวมหมวก สวมรองเท้า ไม่ส่งเสริมศิลปะและดนตรีไทยเดิมแต่ส่งเสริม
ดนตรีสากล ฯลฯ โดยมีคาขวัญในสมัยนั้นว่า "มำลำนำไทยสู่มหำอำนำจ"
หากผู้หญิงคนใดไม่ใส่หมวกจะถูกตารวจจับและปรับ และยังวางระเบียบ
การใช้คาแทนชื่อเป็นมาตรฐาน เช่น ฉัน, ท่าน, เรา มีคาสั่งให้ข้าราชการ
กล่าวคาว่า "สวัสดี" ในโอกาสแรกที่พบกัน และมีการตัดตัวอักษรที่ออก
เสียงซ้ากันจึงมีการเปลี่ยนแปลงการสะกดคามากมาย
ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง เกิดสงครามอินโดจีนระหว่างไทยกับฝรั่งเศส จาก
ปัญหาเรื่องการใช้แม่น้าโขงเป็นเส้นแบ่งพรมแดน ระหว่างไทยกับอินโดจีน
ซึ่งอยู่ในครอบครองฝรั่งเศสมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 โดยฝรั่งเศสไม่ยอมตก
ลงเรื่องการใช้ร่องน้าลึกเป็นเส้นเขตแดน ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2483
ฝรั่งเศสส่งเครื่องบินมาทิ้งระเบิดเมืองนครพนม การรบระหว่างฝรั่งเศสกับ
ไทยจึงเริ่มขึ้น ฝรั่งเศสโจมตีไทยทางอรัญประเทศ รัฐบาล จอมพล ป. ส่ง
ทหารไทยเข้าไปในอินโดจีนทางด้านเขมร แต่ในที่สุดญี่ปุ่นเสนอตัวเข้าไกล่
เกลี่ย จนมีการส่งผู้แทนไปลงนามอนุสัญญาโตเกียว เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม
พ.ศ. 2484
ในครั้งนั้นไทยได้ดินแดนฝั่งขวาแม่น้าโขงคืน รวมทั้งทางใต้ตรงข้ามปากเซ
คือ แขวงจัมปาศักดิ์ และดินแดนในเขมรที่เสียให้ฝรั่งเศสไปเมื่อปี พ.ศ.
2450 กลับคืนมาด้วย และในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2484 พลเอกพระยา
พหลพลพยุหเสนา ได้เป็นผู้วางศิลาฤกษ์ก่อสร้าง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เพื่อ
เป็นอนุสรณ์สถานระลึกถึงชัยชนะของไทยต่อฝรั่งเศส และ 1 ปีต่อมา จอม
พล ป.พิบูลสงคราม เป็นผู้กระทาพิธีเปิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2485
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง จอมพล ป. ในฐานะนายกรัฐมนตรีไทย ต้อง
ใช้ความพยายามอย่างมากในการประคับประคองประเทศชาติ ให้ผ่านพ้น
วิกฤตไปได้หลายประการ[6] ทั้งนี้มีการบอกเล่ากันว่า ท่านขอพระราชทาน
ยศจอมพลให้กับตนเองเพราะท่านต้องการทาสงครามจิตวิทยากับทาง
กองทัพญี่ปุ่น[6] หลังสงครามโลกสงบแล้ว ท่านต้องติดคุกระหว่างการถูกไต่
สวนในฐานะอาชญากรสงครามอยู่ระยะหนึ่ง ตาม พระราชบัญญัติ
อาชญากรรมสงคราม ที่รัฐบาลไทยประกาศใช้เป็นกฎหมายหลัง
สงครามโลก (มีผู้วิเคราะห์ว่า ส่วนหนึ่งเพื่อมิให้ต้องส่งตัวผู้นารัฐบาลและ
นายทหารไทยในยุค
นั้นไปให้ศาลอาชญากรรมสงครามระหว่างประเทศที่สัมพันธมิตรตั้งขึ้นที่
โตเกียวและเนือร์นแบร์กพิพากษาคดี แต่ให้ศาลไทยเป็นผู้พิพากษาแทน ซึ่ง
เป็นผลดีต่อชีวิตของอาชญากรรมสงครามเหล่านี้ที่เป็นคนไทยที่รอดพ้นจาก
โทษประหารชีวิตทั้งหมด) อย่างไรก็ดี ศาลไทยได้พิจารณาเห็นว่า กฎหมาย
ย่อมไม่มีผลย้อนหลัง จึงปล่อยตัวท่านเป็นอิสระ หลังจากนั้นท่านก็ได้
ประกาศยุติบทบาททางการเมืองทั้งหมด กลับไปใช้ชีวิตเรียบง่ายอยู่บ้านที่
อาเภอลาลูกกา จังหวัดปทุมธานี โดยปลูกผักต่าง ๆ เพื่อเลี้ยงชีพ
กำรดำรงตำแหน่งนำยกรัฐมนตรีในครั้งหลัง
แต่แล้วด้วยความผกผันทางการเมือง ในปี พ.ศ. 2491 ท่านก็ได้หวนกลับมาคืน
สู่ตาแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้งจากการทารัฐประหารของกลุ่มนายทหารที่
นับถือท่านอยู่ ที่นาโดย พลโทผิน ชุณหะวัณ คราวนี้ดารงตาแหน่งยาวนาน
ถึง 9 ปี ผ่านวิกฤตและเหตุการณ์กบฏจนเกือบจะเอาชีวิตไม่รอดหลายครั้ง
เช่น กบฏเสนาธิการ, กบฏวังหลวง, กบฏแมนฮัตตัน รวมทั้งยังเคยยึด
อานาจตัวเองด้วย จึงได้รับฉายาในช่วงที่ยังไม่หลุดจากอานาจว่า "นำยกฯ
ตลอดกำล"
 บทบำททำงสังคม
จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่ริเริ่มองค์กรและหน่วยงานสาคัญ ๆ
ของประเทศหลายองค์กร ที่พัฒนาและเจริญรุ่งเรืองมาจนปัจจุบัน ซึ่งล้วน
แต่เป็นหน่วยงานที่มีความเฉพาะของแต่ละวิชาชีพ เช่น รัฐวิสาหกิจ,
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหิดล
ในปัจจุบัน), มหาวิทยาลัยศิลปากร รวมทั้งเป็นผู้ที่ใช้อานาจยึดสถานที่ต่าง
ๆ ที่เคยเป็นที่ประทับของเชื้อพระวงศ์ และที่อยู่ของบุคคลสาคัญก่อนการ
เปลี่ยนแปลงการปกครองมาใช้เป็นสถานที่ราชการ เช่น วังบางขุนพรหม,
วังสวนกุหลาบ, บ้านมนังคศิลา, บ้านพิษณุโลก, บ้านนรสิงห์ เป็นต้น
จบแล้วคร้า

More Related Content

Viewers also liked

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
เครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลี
เครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลีเครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลี
เครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลีSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรส
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรสสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรส
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรสSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Industrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI Alsace
Industrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI AlsaceIndustrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI Alsace
Industrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI AlsaceActency
 

Viewers also liked (14)

ประเทศชิลี
ประเทศชิลีประเทศชิลี
ประเทศชิลี
 
สมุทรสงคราม
สมุทรสงครามสมุทรสงคราม
สมุทรสงคราม
 
พระพุธทาสภิกขุ
พระพุธทาสภิกขุพระพุธทาสภิกขุ
พระพุธทาสภิกขุ
 
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ
 
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
 
พระพุทธทาสภิกขุ
พระพุทธทาสภิกขุพระพุทธทาสภิกขุ
พระพุทธทาสภิกขุ
 
สุนทรภู่
สุนทรภู่  สุนทรภู่
สุนทรภู่
 
เครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลี
เครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลีเครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลี
เครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลี
 
ก.ศ.ร กุหลาบ
ก.ศ.ร กุหลาบก.ศ.ร กุหลาบ
ก.ศ.ร กุหลาบ
 
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรส
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรสสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรส
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรส
 
จังหวัดสระแก้ว
จังหวัดสระแก้วจังหวัดสระแก้ว
จังหวัดสระแก้ว
 
หลวงประดิษ
หลวงประดิษหลวงประดิษ
หลวงประดิษ
 
ศรีลังกา
ศรีลังกาศรีลังกา
ศรีลังกา
 
Industrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI Alsace
Industrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI AlsaceIndustrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI Alsace
Industrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI Alsace
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

จอมพลแปลกพิบูลสงคราม

  • 2. จัดทำโดย นำงสำว ศิริรัตน์ โสภำอุทก ชั้นม.๕/๔ เลขที่ ๑๖ เสนอ อำจำรย์ สฤษดิ์ศักดิ์ ชิ้นเขมจำรี โรงเรียน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด
  • 3.  จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอำกำศแปลก พิบูลสงครำม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 - 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป. พิบูล สงครำม" หรือ "จอมพล ป." เป็น นายกรัฐมนตรี ที่มีเวลาดารงตาแหน่ง รวมกันมากที่สุดของไทย คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย มีนโยบายที่ สาคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียม นานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออก ประกาศสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การราวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ใน ปัจจุบัน
  • 4.  คาขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชำติพ้นภัย" หรือ "ท่ำนผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้ำ" ในสายตานักวิชาการ ประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็น เผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับ ความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยมและการปลุกระดมความคลั่งชาติใน บางครั้ง
  • 5.  ประวัติ จอมพล ป. พิบูลสงคราม มีชื่อเดิมว่า "แปลก ขีตตะสังคะ" เกิดเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 ที่จังหวัดนนทบุรี เป็นบุตรของนายขีด และนาง สาอางค์ ขีตตะสังคะ บิดาและมารดามีอาชีพชาวสวน ภริยาคือ ท่านผู้หญิง ละเอียด พิบูลสงคราม (เดิมนามสกุล "พันธุ์กระวี") จอมพล แปลก พิบูลสงคราม เข้าศึกษาขั้นต้นที่ โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม จังหวัดนนทบุรี จากนั้นได้เข้าเรียนในโรงเรียนนายร้อยทหารบก กระทั่ง สาเร็จการศึกษา เมื่อ พ.ศ. 2459 ขณะอายุ 19 ปี โดยได้รับยศร้อยตรี และเข้า ประจาการที่กองพลที่ 7 จังหวัดพิษณุโลก จากนั้นไม่นานได้สอบเข้า โรงเรียนเสนาธิการได้เป็นที่ 1 และเดินทางไปศึกษาต่อที่โรงเรียนเสนาธิ การทหารบก ประเทศฝรั่งเศสและโรงเรียนทหารขั้นสูง ประเทศอิตาลี จน สาเร็จการศึกษา และกลับมารับราชการต่อไป กระทั่งได้ยศพันตรี มี บรรดาศักดิ์และราชทินนาม ที่ "หลวงพิบูลสงครำม"
  • 6.  เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 พันตรี หลวงพิบูลสงครามได้เข้าร่วมกับ คณะราษฎร ในเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยได้เป็นกาลังสาคัญในสาย ทหาร และเมื่อปี พ.ศ. 2477 ท่านได้เลื่อนยศเป็นพันเอก และดารงตาแหน่ง รองผู้บัญชาการทหารบก ครั้นเมื่อ วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 ท่านได้เข้า ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี ต่อจากพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา โดย การลงมติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และในช่วงที่ดารงตาแหน่งก็ได้ เลื่อนยศเป็นพลตรี และเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 ภายหลังจากที่ กองทัพไทยมีชัยชนะต่ออินโดจีนฝรั่งเศส คณะผู้สาเร็จราชการแทน พระองค์ ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ (พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดล) ได้ประกาศพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ พระราชทาน ยศจอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แก่พลตรีหลวงพิบูลสงคราม[1] ใน เวลาต่อมาเมื่อรัฐบาลจะยกเลิกบรรดาศักดิ์ไทย หลวงพิบูลสงครามในฐานะ นายกรัฐมนตรีพร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีชุดที่ 9 จึงลาออกจากบรรดาศักดิ์ โดยหลวงพิบูลสงครามเลือกใช้ราชทินนามเป็นนามสกุล ใช้ว่า จอมพล แปลก พิบูลสงคราม[2]
  • 7.  ชีวิตและบทบำททำงกำรเมือง จอมพล ป. พิบูลสงคราม มีชื่อจริงว่า "แปลก" เนื่องจากเมื่อแรกเกิดบิดามารดา เห็นว่าหูทั้งสองข้างอยู่ต่ากว่านัยน์ตา ผิดไปจากบุคคลธรรมดา จึงให้ชื่อว่า แปลก เมื่อขึ้นดารงตาแหน่งสาคัญ ได้ใช้ชื่อว่า ป. ซึ่งเป็นตัวอักษรย่อเฉก เช่นชื่อของบุคคลสาคัญหลายคนทางประเทศแถบตะวันตกจอมพล ป. เป็น หนึ่งในคณะนายทหารผู้ร่วมก่อการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 โดยเป็นนายทหารปืนใหญ่ รุ่นน้องของ พันเอกพระยาพหลพล พยุหเสนา 2 ปี ที่โรงเรียนนายร้อยทหารบก และเป็นสมาชิกคณะราษฎรยุค ก่อตั้งซึ่งมีทั้งหมด 7 คน ตั้งแต่ยังศึกษาอยู่ในประเทศฝรั่งเศส โดยถือเป็น ผู้นาของคณะทหารบกยศชั้นผู้น้อย
  • 8. ต่อมาหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว จอมพล ป. เริ่มมีบทบาทสาคัญ มากขึ้นเรื่อย ๆ จากเป็นแกนนาในการรัฐประหาร 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 และเป็นผู้บัญชาการกองกาลังผสม ในการปราบกบฏบวรเดช เมื่อปี พ.ศ. 2476 จนได้รับความไว้วางใจ ให้ดารงตาแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม และนายกรัฐมนตรีในเวลาต่อมาซึ่งก่อนหน้านั้นระหว่าง มีการประชุมกันครั้งแรกของคณะราษฎรที่ยาวนานติดต่อกัน 4 คืน 5 วัน ที่ ประเทศฝรั่งเศส เมื่อต้นปี พ.ศ. 2469 จอมพล ป. ได้เสนอว่าหลัง เปลี่ยนแปลงการปกครองแล้วให้สาเร็จโทษพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ แต่ทางนายปรีดี พนมยงค์ ผู้นาคณะราษฎรฝ่ายพลเรือน ได้คัดค้าน โดยยก เหตุผลว่าหากกระทาเช่นนั้นแล้ว จะทาให้เกิดความวุ่นวายและความรุนแรง ขึ้นทั่วประเทศเหมือนเช่นการปฏิวัติรัสเซีย[4]
  • 9. อีกทั้งในการประชุมครั้งสุดท้ายในประเทศไทย ก่อนที่จะลงมือจริงไม่กี่วัน พ.อ.พระยาทรงสุรเดช ซึ่งเป็นนายทหารบกชั้นผู้ใหญ่ ผู้วางแผนการปฏิวัติ ทั้งหมด ได้เสนอแผนการออกมา ทางจอมพล ป. ซึ่งขณะนั้นมีบรรดาศักดิ์ เป็น หลวงพิบูลสงคราม ซึ่งถือเป็นนายทหารชั้นผู้น้อยกว่า ได้สอบถามว่า หากแผนการดังกล่าวไม่สาเร็จ จะมีแผนสารองประการใดหรือไม่ แต่ทาง ฝ่าย พ.อ.พระยาทรงสุรเดชไม่ตอบ แต่ได้ย้อนถามกลับไปว่า แล้วทางจอม พล ป. มีแผนอะไร และไม่ยอมตอบว่าตนมีแผนสารองอะไร ซึ่งทั้งคู่ได้มี ปากเสียงกัน หลังจากการประชุมจบแล้ว จอมพล ป. ได้ปรารภกับนายทวี บุณยเกตุ สมาชิกคณะราษฎรฝ่ายพลเรือนที่เข้าประชุมด้วยกันว่า ตนเองกับ พ.อ.พระยาทรงสุรเดช ไม่อาจอยู่ร่วมโลกกันได้ ซึ่งในส่วนนี้ได้พัฒนากลาย มาเป็นความขัดแย้งกันระหว่างจอมพล ป. พิบูลสงคราม กับพระยาทรงสุร เดชในเวลาต่อมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรณีกบฏพระยาทรงสุรเดช ในปี พ.ศ. 2482
  • 10.  กำรดำรงตำแหน่งนำยกรัฐมนตรีครั้งแรก นับแต่จอมพล ป. ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีใน พ.ศ. 2481 ได้มีนโยบายใน การสร้างชาติ ซึ่งมีแนวโน้มเป็นลัทธิชาตินิยม เช่น ออกกฎหมายคุ้มครอง อุตสาหกรรมภายในประเทศ มีการสงวนอาชีพบางอย่างไว้เฉพาะคนไทย และปลูกฝังให้ประชาชนนิยมใช้สินค้าไทย ด้วยคาขวัญว่า "ไทยทำ ไทยใช้ ไทยเจริญ" รัฐบาลจอมพล ป. ได้เปลี่ยนแปลงประเพณีและวัฒนธรรม บางอย่าง เพื่อให้สอดคล้องกับการการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และให้เกิด ความทันสมัย เช่น ประกาศให้ข้าราชการเลิกนุ่งผ้าม่วง เลิกสวมเสื้อราชปะ แตน และให้นุ่งกางเกงขายาวแทน มีการยกเลิกบรรดาศักด์ และยศ ข้าราชการพลเรือน มีการเปลี่ยนชื่อประเทศจาก "สยาม" เป็น "ไทย" ใน วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 และเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่จากวันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 1 มกราคมของทุกปี เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสากล โดยเริ่ม เปลี่ยนในปี พ.ศ. 2484 ทาให้ ปี พ.ศ. 2483 มีเพียง 9 เดือน
  • 11. มีการสร้างชาติด้วยวัฒนธรรมใหม่ โดยจัดตั้งสภาวัฒนธรรมแห่งชาติขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2485 เพื่อจัดระเบียบการดาเนินชีวิตของคนไทยให้เป็นแบบ อารยประเทศ โดยประกาศรัฐนิยมฉบับต่างๆ อาทิ สั่งห้ามประชาชนกิน หมากโดยเด็ดขาด ให้ผู้หญิงเลิกนุ่งโจงกระเบน เปลี่ยนมานุ่งผ้าถุงแทน ให้ สวมหมวก สวมรองเท้า ไม่ส่งเสริมศิลปะและดนตรีไทยเดิมแต่ส่งเสริม ดนตรีสากล ฯลฯ โดยมีคาขวัญในสมัยนั้นว่า "มำลำนำไทยสู่มหำอำนำจ" หากผู้หญิงคนใดไม่ใส่หมวกจะถูกตารวจจับและปรับ และยังวางระเบียบ การใช้คาแทนชื่อเป็นมาตรฐาน เช่น ฉัน, ท่าน, เรา มีคาสั่งให้ข้าราชการ กล่าวคาว่า "สวัสดี" ในโอกาสแรกที่พบกัน และมีการตัดตัวอักษรที่ออก เสียงซ้ากันจึงมีการเปลี่ยนแปลงการสะกดคามากมาย
  • 12. ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง เกิดสงครามอินโดจีนระหว่างไทยกับฝรั่งเศส จาก ปัญหาเรื่องการใช้แม่น้าโขงเป็นเส้นแบ่งพรมแดน ระหว่างไทยกับอินโดจีน ซึ่งอยู่ในครอบครองฝรั่งเศสมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 โดยฝรั่งเศสไม่ยอมตก ลงเรื่องการใช้ร่องน้าลึกเป็นเส้นเขตแดน ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2483 ฝรั่งเศสส่งเครื่องบินมาทิ้งระเบิดเมืองนครพนม การรบระหว่างฝรั่งเศสกับ ไทยจึงเริ่มขึ้น ฝรั่งเศสโจมตีไทยทางอรัญประเทศ รัฐบาล จอมพล ป. ส่ง ทหารไทยเข้าไปในอินโดจีนทางด้านเขมร แต่ในที่สุดญี่ปุ่นเสนอตัวเข้าไกล่ เกลี่ย จนมีการส่งผู้แทนไปลงนามอนุสัญญาโตเกียว เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2484
  • 13. ในครั้งนั้นไทยได้ดินแดนฝั่งขวาแม่น้าโขงคืน รวมทั้งทางใต้ตรงข้ามปากเซ คือ แขวงจัมปาศักดิ์ และดินแดนในเขมรที่เสียให้ฝรั่งเศสไปเมื่อปี พ.ศ. 2450 กลับคืนมาด้วย และในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2484 พลเอกพระยา พหลพลพยุหเสนา ได้เป็นผู้วางศิลาฤกษ์ก่อสร้าง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เพื่อ เป็นอนุสรณ์สถานระลึกถึงชัยชนะของไทยต่อฝรั่งเศส และ 1 ปีต่อมา จอม พล ป.พิบูลสงคราม เป็นผู้กระทาพิธีเปิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2485 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง จอมพล ป. ในฐานะนายกรัฐมนตรีไทย ต้อง ใช้ความพยายามอย่างมากในการประคับประคองประเทศชาติ ให้ผ่านพ้น วิกฤตไปได้หลายประการ[6] ทั้งนี้มีการบอกเล่ากันว่า ท่านขอพระราชทาน ยศจอมพลให้กับตนเองเพราะท่านต้องการทาสงครามจิตวิทยากับทาง กองทัพญี่ปุ่น[6] หลังสงครามโลกสงบแล้ว ท่านต้องติดคุกระหว่างการถูกไต่ สวนในฐานะอาชญากรสงครามอยู่ระยะหนึ่ง ตาม พระราชบัญญัติ อาชญากรรมสงคราม ที่รัฐบาลไทยประกาศใช้เป็นกฎหมายหลัง สงครามโลก (มีผู้วิเคราะห์ว่า ส่วนหนึ่งเพื่อมิให้ต้องส่งตัวผู้นารัฐบาลและ นายทหารไทยในยุค
  • 14. นั้นไปให้ศาลอาชญากรรมสงครามระหว่างประเทศที่สัมพันธมิตรตั้งขึ้นที่ โตเกียวและเนือร์นแบร์กพิพากษาคดี แต่ให้ศาลไทยเป็นผู้พิพากษาแทน ซึ่ง เป็นผลดีต่อชีวิตของอาชญากรรมสงครามเหล่านี้ที่เป็นคนไทยที่รอดพ้นจาก โทษประหารชีวิตทั้งหมด) อย่างไรก็ดี ศาลไทยได้พิจารณาเห็นว่า กฎหมาย ย่อมไม่มีผลย้อนหลัง จึงปล่อยตัวท่านเป็นอิสระ หลังจากนั้นท่านก็ได้ ประกาศยุติบทบาททางการเมืองทั้งหมด กลับไปใช้ชีวิตเรียบง่ายอยู่บ้านที่ อาเภอลาลูกกา จังหวัดปทุมธานี โดยปลูกผักต่าง ๆ เพื่อเลี้ยงชีพ
  • 15. กำรดำรงตำแหน่งนำยกรัฐมนตรีในครั้งหลัง แต่แล้วด้วยความผกผันทางการเมือง ในปี พ.ศ. 2491 ท่านก็ได้หวนกลับมาคืน สู่ตาแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้งจากการทารัฐประหารของกลุ่มนายทหารที่ นับถือท่านอยู่ ที่นาโดย พลโทผิน ชุณหะวัณ คราวนี้ดารงตาแหน่งยาวนาน ถึง 9 ปี ผ่านวิกฤตและเหตุการณ์กบฏจนเกือบจะเอาชีวิตไม่รอดหลายครั้ง เช่น กบฏเสนาธิการ, กบฏวังหลวง, กบฏแมนฮัตตัน รวมทั้งยังเคยยึด อานาจตัวเองด้วย จึงได้รับฉายาในช่วงที่ยังไม่หลุดจากอานาจว่า "นำยกฯ ตลอดกำล"
  • 16.  บทบำททำงสังคม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่ริเริ่มองค์กรและหน่วยงานสาคัญ ๆ ของประเทศหลายองค์กร ที่พัฒนาและเจริญรุ่งเรืองมาจนปัจจุบัน ซึ่งล้วน แต่เป็นหน่วยงานที่มีความเฉพาะของแต่ละวิชาชีพ เช่น รัฐวิสาหกิจ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหิดล ในปัจจุบัน), มหาวิทยาลัยศิลปากร รวมทั้งเป็นผู้ที่ใช้อานาจยึดสถานที่ต่าง ๆ ที่เคยเป็นที่ประทับของเชื้อพระวงศ์ และที่อยู่ของบุคคลสาคัญก่อนการ เปลี่ยนแปลงการปกครองมาใช้เป็นสถานที่ราชการ เช่น วังบางขุนพรหม, วังสวนกุหลาบ, บ้านมนังคศิลา, บ้านพิษณุโลก, บ้านนรสิงห์ เป็นต้น