SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
อารยธรรมอินเดีย
              จัดทาโดย
นางสาวสุชาดา หม่องคาหมื่น เลขที่ 38
นางสาวอาชิตา ประทุมชัย     เลขที่29
นางสาวณิชการณ์ จาปาบุรี เลขที่34
นายวัฒนกูล วิเศษนันทน์ เลขที่13

        ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/2
อินเดียเป็ นแหล่งอารยธรรมที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของโลก บางทีเรียกว่า
แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ าสินธุ
      อาจแบ่งยุคสมัยทางประวัตศาสตร์ของอินเดียได้ ดงนี้
                                ิ                     ั
สมัยก่อนประวัติศาสตร์
       พบหลักฐานเป็ นซากเมืองโบราณ 2 แห่งในบริเวณลุ่มแม่นาสินธุ คือ
                                                               ้
                 เมืองโมเฮนโจดาโร ทางตอนใต้ ของประเทศปากีสถาน
                 เมืองฮารับปา ในแคว้ นปั นจาป ประเทศปากีสถานในปัจจุบัน
สมัยประวัติศาสตร์
เริ่มเมื่อมีการประดิษฐ์ตวอักษรขึ้นใช้ โดยชนเผ่าอินโด-อารยัน ซึ่งตั้งถิ่นฐานบริเวณแม่นาคงคา แบ่ง
                         ั                                                           ้
ได้ 3 ยุค
ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ
เริ่มตั้งแต่กาเนิดตัวอักษร บรามิ ลิปิ สิ้นสุดสมัยราชวงศ์ คุปตะ เป็ นยุคที่ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู และ
พุทธศาสนา ได้ ถือกาเนิดแล้ ว
ประวัติศาสตร์สมัยกลาง
 เริ่มตั้งแต่ราชวงศ์คุปตะสิ้นสุดลง จนถึง ราชวงศ์โมกุลเข้ าปกครองอินเดีย
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
 เริ่มตั้งแต่ราชวงศ์โมกุลจนถึงการได้ รับเอกราชจากอังกฤษ
   อารยธรรมอินเดีย
   อารยธรรมลุ่มแม่น้ าสินธุ
     เป็ นอารยธรรมของชนพื้นเมืองเผ่าดราวิเดียน
     ศูนย์กลางอยู่ท่เมือง โมเฮนโจดาโร และเมืองฮารับปา
                     ี
   สมัยพระเวท
     เป็ นอารยธรรมชนเผ่าอารยัน ที่เข้ ายึดครองดราวิเดียนหรือชาวทราวิฑที่ถูกขับไล่ให้ ถอยร่นลงทางใต้
     ชาวอารยันให้ กาเนิดศาสนาพราหมณ์ และ ระบบวรรณะ 4
     วรรณกรรมสาคัญในยุคนี้ ได้ แก่
         คัมภีร์พระเวท เป็ นบทสวดของพวกพราหมณ์ ใช้ วิธทองจาต่อๆกันมา ประกอบด้ วย 4 คัมภีร์คือ
                                                          ี ่
           ฤคเวท ยชุรเวท ไตรเวท และ อาถรรพเวท
         มหากาพย์รามายณะ สันนิษฐานว่าแสดงถึงการต่อสู้ระหว่างชาวอารยัน (พระราม) กับชาวทราวิฑ (ทศ
           กัณฑ์) แต่งโดยฤษีวาลมิกิ
         มหากาพย์มหาภารตยุทธ ว่าด้ วยการต่อสู้ของพี่น้องสองตระกูล (ปานฑพ-เการพ)
         คัมภีร์ธรรมศาสตร์ ซึ่งเป็ นทั้งกฎหมาย ศาสนบัญญัติ จารีตประเพณี หลักศีลธรรม
   สมัยพุทธกาล
       เกิดศาสนาพุทธ และมีการใช้ ภาษาบาลี (มคธ)
       เกิดศาสนาเชน ผู้ก่อตั้งคือ วรรธกมาน มหาวีระ
   สมัยราชวงศ์เมารยะ
       พระเจ้ าจันทรคุปต์ ได้ รวบรวมแว่นแคว้ นในดินแดนชมพูทวีปให้ เป็ นปึ กแผ่น
       เริ่มการปกครองโดยรวบอานาจไว้ ท่กษัตริย์และเมืองหลวง
                                         ี
       พระเจ้ าอโศกมหาราช ส่งสมทูตไปเผยแผ่พุทธศาสนาในแว่นแคว้ นต่างๆ
       หลังราชวงศ์เมารยะล่มสลาย เกิดการแตกแยกเป็ นแว่นแคว้ น
   สมัยราชวงศ์กุษาณะ
       พวกกุษาณะเป็ นชนต่างชาติท่เข้ ามารุกราน และตั้งอาณาจักรปกครองอินเดียทางตอนเหนือ
                                  ี
       ด้ านการแพทย์เจริญมากในสมัยพระเจ้ ากนิษกะ
       ส่งสมทูตไปเผยแผ่พุทธศาสนานิกายมหายานที่จีนและธิเบต
   สมัยราชวงศ์กุษาณะ
       พวกกุษาณะเป็ นชนต่างชาติท่เข้ ามารุกราน และตั้งอาณาจักรปกครองอินเดียทางตอนเหนือ
                                  ี
       ด้ านการแพทย์เจริญมากในสมัยพระเจ้ ากนิษกะ
       ส่งสมทูตไปเผยแผ่พุทธศาสนานิกายมหายานที่จีนและธิเบต
   สมัยราชวงศ์คุปตะ
       พระเจ้ าจันทรคุปต์ท่ ี 1 ทรงรวบรวมอินเดียให้ เป็ นจักรวรรดิอกครั้งหนึ่ง
                                                                    ี
       เป็ นยุคทองของอินเดียทั้งด้ านศิลปวัฒนธรรม การเมือง ปรัชญา ศาสนา
   สมัยจักรวรรดิโมกุล
       พระเจ้ าบาบู ร ์ ผู้ก่อตั้งราชวงศ์โมกุล นับถือศาสนาอิสลาม
       เป็ นราชวงศ์สดท้ ายของอินเดีย
                      ุ
       พระเจ้ าอักบาร์มหาราช ทรงทะนุบารุงอินเดียให้ มีความเจริญรุ่งเรืองทุกด้ าน และทรงให้ เสรีภาพ
        ในการนับถือศาสนา สร้ างสามัคคีให้ เกิดขึ้นในชาติ
       พระเจ้ าซาร์ เจฮัน ทรงเป็ นมุสลิมที่เคร่งครัดและศรัทธาในศาสนาอิสลาม เป็ นผู้สร้ าง ทัชมาฮาล
        ที่มีความงดงามยิ่ง
   สมัยอาณานิคมอังกฤษ
     ปลายสมัยอาณาจักรโมกุล กษัตริย์ทรงใช้ จ่ายฟุ่ มเฟื อย ต้ องเพิ่มภาษีและเพิ่มการเกณฑ์
      แรงงานทาให้ ราษฎรอดอยาก และยังกดขี่ทาลายล้ างศาสนาฮินดูและชาวฮินดูอย่าง
      รุนแรง
     เกิดความแตกแยกภายในชาติ เป็ นเหตุให้ องกฤษค่อยๆเข้ าแทรกแซงและครอบครอง
                                              ั
      อินเดียทีละเล็กละน้ อย
     ในที่สดอังกฤษล้ มราชวงศ์โมกุลและครอบครองอินเดียในฐานะอาณานิคมอังกฤษ
                ุ
     สิ่งที่องกฤษวางไว้ ให้ กบอินเดียคือ
              ั               ั
         รากฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตย แบบรัฐสภา
         การศาล การศึกษา
         ยกเลิกประเพณีบางอย่าง เช่น พิธสตี (การเผาตัวตายของหญิงฮินดูท่สามีตาย)
                                        ี                              ี
   สมัยเอกราช
       หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ขบวนการชาตินิยมอินเดียนาโดย มหาตมะ คานธี และ เยา
        วราลห์ เนห์รู เป็ นผู้นาเรียกร้ องเอกราช
       มหาตมะ คานธี ใช้ หลักอหิงสา (ความไม่เบียดเบียน ความสงบ) ในการเรียกร้ องเอกราช
        จนประสบความสาเร็จ
       หลังจากได้ รับเอกราชอินเดียปกครองด้ วยระบอบประชาธิปไตย
       แต่จากความแตกแยกทางเชื้อชาติและศาสนาทาให้ อนเดียต้ องแตกแยกเป็ นอีก 2
                                                      ิ
        ประเทศคือ ปากีสถาน(เดิมคือปากีสถานตะวันตก)และบังคลาเทศ (ปากีสถาน
        ตะวันออก)
   ศิลปกรรมอินเดีย มักเกี่ยวข้ องกับความเชื่อทางศาสนา
   ด้านสถาปั ตยกรรม
     ซากเมืองฮารับปาและโมเฮนโจดาโร ทาให้ เห็นว่ามีการวางผังเมืองอย่างดี มีสาธารณูประ
      โภคอานวยความสะดวกหลายอย่าง เช่น ถนน บ่อนา ประปา ซึ่งเน้ นประโยชน์ใช้ สอย
                                                     ้
      มากกว่าความสวยงาม
     ซากพระราชวังที่เมืองปาฏลีบุตรและตักศิลา สถูปและเสาแปดเหลี่ยม ที่สาคัญคือ สถูป
      เมืองสาญจี (สมัยราชวงศ์โมริยะ)
     สุสานทัชมาฮาล สร้ างด้ วยหินอ่อน เป็ นการผสมระหว่างศิลปะอินเดียและเปอร์เชีย
   ด้านประติมากรรม เกี่ยวข้ องกับศาสนา
     พระพุทธรูปแบบคันธาระ
     พระพุทธรูปแบบมถุรา
     พระพุทธรูปแบบอมราวดี
     ภาพสลักนูนที่มหาพลิปุลัม ได้ รับการยกย่องว่ามหัศจรรย์
   จิ ตรกรรม
       สมัยคุปตะ และหลังสมัยคุปตะ เป็ นสมัยที่ร่งเรืองที่สดของอินเดียพบงานจิตรกรรมที่
                                                 ุ         ุ
        ผนังถ้ าอชันตะ เป็ นภาพเขียนในพระพุทธศาสนาแสดงถึงชาดกต่างๆ ที่งดงามมาก
        ความสามารถในการวาดเส้นและการอาศัยเงามืดบริเวณขอบภาพ ทาให้ ภาพแลดู
        เคลื่อนไหว ให้ ความรู้สกสมจริง
                               ึ
   นาฏศิลป์
       เกี่ยวกับการฟ้ อนรา เป็ นส่วนหนึ่งของพิธกรรมเพื่อบูชาเทพเจ้ าตามคัมภีร์พระเวท
                                                ี
   สังคีตศิลป์
       ทสวดสรรเสริญเทพเจ้ าทั้งหลาย ถือเป็ นแบบแผนการร้ องที่เก่าแก่ท่สดใน สังคีตศิลป์
                                                                       ีุ
        ของอินเดีย แบ่งเป็ นดนตรีศาสนา ดนตรีในราชสานักและดนตรีท้องถิ่นเครื่องดนตรี
        สาคัญ คือ วีณา หรือพิณ ใช้ สาหรับดีด เวณุ หรือขลุ่ย และกลอง
   การแพร่ขยายและการถ่ายทอดอารยธรรมอินเดีย

   อารยธรรมอินเดีย แพร่ขยายออกไปสู่ภมภาคต่างๆทั่วทวีปเอเชีย โดยผ่านทาง
                                        ู ิ
    การค้ า ศาสนา การเมือง การทหาร และได้ ผสมผสานเข้ ากับอารยธรรมของแต่
    ละประเทศจนกลายเป็ นส่วนหนึ่งของอารยธรรมสังคมนั้นๆ
        ในเอเชียตะวันออก พระพุทธศาสนามหายานของอินเดียมีอทธิพลอย่าง
                                                            ิ
    ลึกซึ้งต่อชาวจีนทั้งในฐานะศาสนาสาคัญ และในฐานะที่มอทธิพลต่อการ
                                                      ี ิ
    สร้ างสรรค์ศิลปะของจีน
        ภูมภาคเอเชียกลาง อารยธรรมอินเดียที่ถ่ายทอดให้ เริ่มตั้งแต่คริสต์ศตวรรษ
            ิ
    ที่ 7 เมื่อพวกมุสลิมอาหรับ ซึ่งมีอานาจในตะวันออกกลางนาวิทยาการหลาย
    อย่างของอินเดียไปใช้ ได้ แก่ การแพทย์ คณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ เป็ นต้ น
    ขณะเดียวกันอินเดียก็รับอารยธรรมบางอย่างทั้งของเปอร์เชียและกรีก
    โดยเฉพาะด้ านศิลปกรรม ประติมากรรม เช่น พระพุทธรูปศิลปะคันธาระซึ่ง
    เป็ นอิทธิพลจากกรีก ส่วนอิทธิพลของเปอร์เชีย ปรากฏในรูปการปกครอง
    สถาปัตยกรรม เช่น พระราชวัง การเจาะภูเขาเป็ นถาเพื่อสร้ างศาสนสถาน
                                                   ้
    ภูมภาคที่ปรากฏอิทธิพลของอารยธรรมอินเดียมากที่สดคือ เอเชียตะวันออก
        ิ                                               ุ
    เฉียงใต้ พ่อค้ า พราหมณ์ และภิกษุสงฆ์ชาวอินเดียเดินทางมาและนาอารยธรรม
    มาเผยแพร่ อารยธรรมที่ปรากฏอยู่มแทบทุกด้ าน โดยเฉพาะในด้ านศาสนา
                                      ี
    ความเชื่อ การปกครอง ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู และพุทธ ได้ หล่อหลอมจน
    กลายเป็ นรากฐานสาคัญที่สดของประเทศต่างๆในภูมภาคนี้
                              ุ                       ิ
   http://202.143.144.83/~skb/computor/ganjan
    a/east_india_data.htm
จบการนาเสนอ

More Related Content

What's hot

อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย Gain Gpk
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34Kittisak Chumnumset
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับniralai
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22pnmn2122
 
วรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีวรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีkingkarn somchit
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Nomjeab Nook
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์Padvee Academy
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยYim Wiphawan
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 Noo Suthina
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 sudchaleom
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย Kran Sirikran
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตPadvee Academy
 

What's hot (20)

อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
 
วรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีวรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดี
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
 
ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 

Similar to งานนำเสนอ1

การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นsumanan vanict
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1wanpenrd
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1wanpenrd
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 
อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์NisachonKhaoprom
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยbabyoam
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 

Similar to งานนำเสนอ1 (20)

พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
Art
ArtArt
Art
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
Indus1
Indus1Indus1
Indus1
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
อารยธรรมอินคา
อารยธรรมอินคาอารยธรรมอินคา
อารยธรรมอินคา
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

งานนำเสนอ1

  • 1. อารยธรรมอินเดีย จัดทาโดย นางสาวสุชาดา หม่องคาหมื่น เลขที่ 38 นางสาวอาชิตา ประทุมชัย เลขที่29 นางสาวณิชการณ์ จาปาบุรี เลขที่34 นายวัฒนกูล วิเศษนันทน์ เลขที่13 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/2
  • 2. อินเดียเป็ นแหล่งอารยธรรมที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของโลก บางทีเรียกว่า แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ าสินธุ อาจแบ่งยุคสมัยทางประวัตศาสตร์ของอินเดียได้ ดงนี้ ิ ั สมัยก่อนประวัติศาสตร์ พบหลักฐานเป็ นซากเมืองโบราณ 2 แห่งในบริเวณลุ่มแม่นาสินธุ คือ ้ เมืองโมเฮนโจดาโร ทางตอนใต้ ของประเทศปากีสถาน เมืองฮารับปา ในแคว้ นปั นจาป ประเทศปากีสถานในปัจจุบัน สมัยประวัติศาสตร์ เริ่มเมื่อมีการประดิษฐ์ตวอักษรขึ้นใช้ โดยชนเผ่าอินโด-อารยัน ซึ่งตั้งถิ่นฐานบริเวณแม่นาคงคา แบ่ง ั ้ ได้ 3 ยุค ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ เริ่มตั้งแต่กาเนิดตัวอักษร บรามิ ลิปิ สิ้นสุดสมัยราชวงศ์ คุปตะ เป็ นยุคที่ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู และ พุทธศาสนา ได้ ถือกาเนิดแล้ ว ประวัติศาสตร์สมัยกลาง เริ่มตั้งแต่ราชวงศ์คุปตะสิ้นสุดลง จนถึง ราชวงศ์โมกุลเข้ าปกครองอินเดีย ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ เริ่มตั้งแต่ราชวงศ์โมกุลจนถึงการได้ รับเอกราชจากอังกฤษ
  • 3. อารยธรรมอินเดีย  อารยธรรมลุ่มแม่น้ าสินธุ  เป็ นอารยธรรมของชนพื้นเมืองเผ่าดราวิเดียน  ศูนย์กลางอยู่ท่เมือง โมเฮนโจดาโร และเมืองฮารับปา ี  สมัยพระเวท  เป็ นอารยธรรมชนเผ่าอารยัน ที่เข้ ายึดครองดราวิเดียนหรือชาวทราวิฑที่ถูกขับไล่ให้ ถอยร่นลงทางใต้  ชาวอารยันให้ กาเนิดศาสนาพราหมณ์ และ ระบบวรรณะ 4  วรรณกรรมสาคัญในยุคนี้ ได้ แก่  คัมภีร์พระเวท เป็ นบทสวดของพวกพราหมณ์ ใช้ วิธทองจาต่อๆกันมา ประกอบด้ วย 4 คัมภีร์คือ ี ่ ฤคเวท ยชุรเวท ไตรเวท และ อาถรรพเวท  มหากาพย์รามายณะ สันนิษฐานว่าแสดงถึงการต่อสู้ระหว่างชาวอารยัน (พระราม) กับชาวทราวิฑ (ทศ กัณฑ์) แต่งโดยฤษีวาลมิกิ  มหากาพย์มหาภารตยุทธ ว่าด้ วยการต่อสู้ของพี่น้องสองตระกูล (ปานฑพ-เการพ)  คัมภีร์ธรรมศาสตร์ ซึ่งเป็ นทั้งกฎหมาย ศาสนบัญญัติ จารีตประเพณี หลักศีลธรรม
  • 4. สมัยพุทธกาล  เกิดศาสนาพุทธ และมีการใช้ ภาษาบาลี (มคธ)  เกิดศาสนาเชน ผู้ก่อตั้งคือ วรรธกมาน มหาวีระ  สมัยราชวงศ์เมารยะ  พระเจ้ าจันทรคุปต์ ได้ รวบรวมแว่นแคว้ นในดินแดนชมพูทวีปให้ เป็ นปึ กแผ่น  เริ่มการปกครองโดยรวบอานาจไว้ ท่กษัตริย์และเมืองหลวง ี  พระเจ้ าอโศกมหาราช ส่งสมทูตไปเผยแผ่พุทธศาสนาในแว่นแคว้ นต่างๆ  หลังราชวงศ์เมารยะล่มสลาย เกิดการแตกแยกเป็ นแว่นแคว้ น  สมัยราชวงศ์กุษาณะ  พวกกุษาณะเป็ นชนต่างชาติท่เข้ ามารุกราน และตั้งอาณาจักรปกครองอินเดียทางตอนเหนือ ี  ด้ านการแพทย์เจริญมากในสมัยพระเจ้ ากนิษกะ  ส่งสมทูตไปเผยแผ่พุทธศาสนานิกายมหายานที่จีนและธิเบต
  • 5. สมัยราชวงศ์กุษาณะ  พวกกุษาณะเป็ นชนต่างชาติท่เข้ ามารุกราน และตั้งอาณาจักรปกครองอินเดียทางตอนเหนือ ี  ด้ านการแพทย์เจริญมากในสมัยพระเจ้ ากนิษกะ  ส่งสมทูตไปเผยแผ่พุทธศาสนานิกายมหายานที่จีนและธิเบต  สมัยราชวงศ์คุปตะ  พระเจ้ าจันทรคุปต์ท่ ี 1 ทรงรวบรวมอินเดียให้ เป็ นจักรวรรดิอกครั้งหนึ่ง ี  เป็ นยุคทองของอินเดียทั้งด้ านศิลปวัฒนธรรม การเมือง ปรัชญา ศาสนา  สมัยจักรวรรดิโมกุล  พระเจ้ าบาบู ร ์ ผู้ก่อตั้งราชวงศ์โมกุล นับถือศาสนาอิสลาม  เป็ นราชวงศ์สดท้ ายของอินเดีย ุ  พระเจ้ าอักบาร์มหาราช ทรงทะนุบารุงอินเดียให้ มีความเจริญรุ่งเรืองทุกด้ าน และทรงให้ เสรีภาพ ในการนับถือศาสนา สร้ างสามัคคีให้ เกิดขึ้นในชาติ  พระเจ้ าซาร์ เจฮัน ทรงเป็ นมุสลิมที่เคร่งครัดและศรัทธาในศาสนาอิสลาม เป็ นผู้สร้ าง ทัชมาฮาล ที่มีความงดงามยิ่ง
  • 6. สมัยอาณานิคมอังกฤษ  ปลายสมัยอาณาจักรโมกุล กษัตริย์ทรงใช้ จ่ายฟุ่ มเฟื อย ต้ องเพิ่มภาษีและเพิ่มการเกณฑ์ แรงงานทาให้ ราษฎรอดอยาก และยังกดขี่ทาลายล้ างศาสนาฮินดูและชาวฮินดูอย่าง รุนแรง  เกิดความแตกแยกภายในชาติ เป็ นเหตุให้ องกฤษค่อยๆเข้ าแทรกแซงและครอบครอง ั อินเดียทีละเล็กละน้ อย  ในที่สดอังกฤษล้ มราชวงศ์โมกุลและครอบครองอินเดียในฐานะอาณานิคมอังกฤษ ุ  สิ่งที่องกฤษวางไว้ ให้ กบอินเดียคือ ั ั  รากฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตย แบบรัฐสภา  การศาล การศึกษา  ยกเลิกประเพณีบางอย่าง เช่น พิธสตี (การเผาตัวตายของหญิงฮินดูท่สามีตาย) ี ี
  • 7. สมัยเอกราช  หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ขบวนการชาตินิยมอินเดียนาโดย มหาตมะ คานธี และ เยา วราลห์ เนห์รู เป็ นผู้นาเรียกร้ องเอกราช  มหาตมะ คานธี ใช้ หลักอหิงสา (ความไม่เบียดเบียน ความสงบ) ในการเรียกร้ องเอกราช จนประสบความสาเร็จ  หลังจากได้ รับเอกราชอินเดียปกครองด้ วยระบอบประชาธิปไตย  แต่จากความแตกแยกทางเชื้อชาติและศาสนาทาให้ อนเดียต้ องแตกแยกเป็ นอีก 2 ิ ประเทศคือ ปากีสถาน(เดิมคือปากีสถานตะวันตก)และบังคลาเทศ (ปากีสถาน ตะวันออก)
  • 8. ศิลปกรรมอินเดีย มักเกี่ยวข้ องกับความเชื่อทางศาสนา  ด้านสถาปั ตยกรรม  ซากเมืองฮารับปาและโมเฮนโจดาโร ทาให้ เห็นว่ามีการวางผังเมืองอย่างดี มีสาธารณูประ โภคอานวยความสะดวกหลายอย่าง เช่น ถนน บ่อนา ประปา ซึ่งเน้ นประโยชน์ใช้ สอย ้ มากกว่าความสวยงาม  ซากพระราชวังที่เมืองปาฏลีบุตรและตักศิลา สถูปและเสาแปดเหลี่ยม ที่สาคัญคือ สถูป เมืองสาญจี (สมัยราชวงศ์โมริยะ)  สุสานทัชมาฮาล สร้ างด้ วยหินอ่อน เป็ นการผสมระหว่างศิลปะอินเดียและเปอร์เชีย
  • 9. ด้านประติมากรรม เกี่ยวข้ องกับศาสนา  พระพุทธรูปแบบคันธาระ  พระพุทธรูปแบบมถุรา  พระพุทธรูปแบบอมราวดี  ภาพสลักนูนที่มหาพลิปุลัม ได้ รับการยกย่องว่ามหัศจรรย์
  • 10. จิ ตรกรรม  สมัยคุปตะ และหลังสมัยคุปตะ เป็ นสมัยที่ร่งเรืองที่สดของอินเดียพบงานจิตรกรรมที่ ุ ุ ผนังถ้ าอชันตะ เป็ นภาพเขียนในพระพุทธศาสนาแสดงถึงชาดกต่างๆ ที่งดงามมาก ความสามารถในการวาดเส้นและการอาศัยเงามืดบริเวณขอบภาพ ทาให้ ภาพแลดู เคลื่อนไหว ให้ ความรู้สกสมจริง ึ  นาฏศิลป์  เกี่ยวกับการฟ้ อนรา เป็ นส่วนหนึ่งของพิธกรรมเพื่อบูชาเทพเจ้ าตามคัมภีร์พระเวท ี  สังคีตศิลป์  ทสวดสรรเสริญเทพเจ้ าทั้งหลาย ถือเป็ นแบบแผนการร้ องที่เก่าแก่ท่สดใน สังคีตศิลป์ ีุ ของอินเดีย แบ่งเป็ นดนตรีศาสนา ดนตรีในราชสานักและดนตรีท้องถิ่นเครื่องดนตรี สาคัญ คือ วีณา หรือพิณ ใช้ สาหรับดีด เวณุ หรือขลุ่ย และกลอง
  • 11. การแพร่ขยายและการถ่ายทอดอารยธรรมอินเดีย  อารยธรรมอินเดีย แพร่ขยายออกไปสู่ภมภาคต่างๆทั่วทวีปเอเชีย โดยผ่านทาง ู ิ การค้ า ศาสนา การเมือง การทหาร และได้ ผสมผสานเข้ ากับอารยธรรมของแต่ ละประเทศจนกลายเป็ นส่วนหนึ่งของอารยธรรมสังคมนั้นๆ  ในเอเชียตะวันออก พระพุทธศาสนามหายานของอินเดียมีอทธิพลอย่าง ิ ลึกซึ้งต่อชาวจีนทั้งในฐานะศาสนาสาคัญ และในฐานะที่มอทธิพลต่อการ ี ิ สร้ างสรรค์ศิลปะของจีน
  • 12. ภูมภาคเอเชียกลาง อารยธรรมอินเดียที่ถ่ายทอดให้ เริ่มตั้งแต่คริสต์ศตวรรษ ิ ที่ 7 เมื่อพวกมุสลิมอาหรับ ซึ่งมีอานาจในตะวันออกกลางนาวิทยาการหลาย อย่างของอินเดียไปใช้ ได้ แก่ การแพทย์ คณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ เป็ นต้ น ขณะเดียวกันอินเดียก็รับอารยธรรมบางอย่างทั้งของเปอร์เชียและกรีก โดยเฉพาะด้ านศิลปกรรม ประติมากรรม เช่น พระพุทธรูปศิลปะคันธาระซึ่ง เป็ นอิทธิพลจากกรีก ส่วนอิทธิพลของเปอร์เชีย ปรากฏในรูปการปกครอง สถาปัตยกรรม เช่น พระราชวัง การเจาะภูเขาเป็ นถาเพื่อสร้ างศาสนสถาน ้
  • 13. ภูมภาคที่ปรากฏอิทธิพลของอารยธรรมอินเดียมากที่สดคือ เอเชียตะวันออก ิ ุ เฉียงใต้ พ่อค้ า พราหมณ์ และภิกษุสงฆ์ชาวอินเดียเดินทางมาและนาอารยธรรม มาเผยแพร่ อารยธรรมที่ปรากฏอยู่มแทบทุกด้ าน โดยเฉพาะในด้ านศาสนา ี ความเชื่อ การปกครอง ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู และพุทธ ได้ หล่อหลอมจน กลายเป็ นรากฐานสาคัญที่สดของประเทศต่างๆในภูมภาคนี้ ุ ิ
  • 14. http://202.143.144.83/~skb/computor/ganjan a/east_india_data.htm