SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 70
Baixar para ler offline
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง การอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองของไทย 
ยงธนิศร์ พิมลเสถียร 
สาขาวิชาการผังเมือง สถ. มธ. 
4 กันยายน 2557
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง การอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองของไทย 
• หลักการและแนวคิดการอนุรักษ์/ฟื้นฟูเมือง 
• แนวทางและวิธีการสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนเมือง 
• การระดมทรัพยากรเพื่อนามาใช้ในการอนุรักษ์/ฟื้นฟูเมือง 
• ความยั่งยืน ปัญหา อุปสรรค 
• โอกาสและความเป็นไปได้
หลักการและแนวคิดการอนุรักษ์/ฟื้นฟูเมือง 
สร้างใหม่ 
รื้อสลัม 
งานศิลปะ 
โบราณคดี 
โบราณสถาน 
สงครามโลก 
ประชาธิปไตย 
กระแสชุมชน 
ธรรมาภิบาล 
กระจายอานาจ 
... ... 
Regeneration 
ชุมชนดั้งเดิม 
รูปแบบหุ้นส่วน 
ย่านชุมชน ประวัติศาสตร์ 
... ... 
ปรับปรุงฟื้นฟู 
อนุรักษ์ 
อดีต 
จุดเปลี่ยน 
ปัจจุบัน 
อนาคต 
การพบกันระหว่างการอนุรักษ์ กับ การฟื้นฟูเมือง 
นโยบายสาธารณะ
หลักการและแนวคิดการอนุรักษ์/ฟื้นฟูเมือง 
การเปลี่ยนกระบวนทัศน์เรื่องการฟื้นฟูเมือง 
•ก่อนสงครามโลก: Haussmann กับกรุงปารีส 
•หลังสงครามโลก 3 ช่วง ... 
- Reconstruction: สร้างเมืองใหม่จากการถูกทาลาย 
- Redevelopment: รื้อสลัม มี Master Plan 
- Regeneration: หุ้นส่วน ยั่งยืน รักษามรดก
หลักการและแนวคิดการอนุรักษ์/ฟื้นฟูเมือง
Haussmann เสนอให้สร้างกรุงปารีสใหม่ในยุคนโปเลียนที่ 3
Reconstruction 
การสร้างเมืองใหม่หลังถูกทาลายจากสงครามโลก
Redevelopment 
การรื้อสลัมเพื่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ (Mega projects) 
Covent Garden, London: รัฐเสนอโครงการขนาดใหญ่แทนที่ตลาดเก่า 1960s 
ทาไม่ได้เพราะถูกต่อต้านจากผู้อยู่อาศัยและประชาคมเมือง
Redevelopment การรื้อสลัมเพื่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ (Mega projects) 
รัฐเสนอโครงการขนาดใหญ่ ทาไม่ได้เพราะถูกต่อต้านจากผู้อยู่อาศัย (และนักการเมือง)
Regeneration 
การปรึกษาหารือสาธารณะ ชุมชนมีส่วนในการตัดสินใจ มีแผนปฏิบัติการ 
Covent Garden, London: ชุมชนต่อต้าน นาไปสู่การอนุรักษ์อาคาร (1970s) 
ปรับการใช้สอยอาคารเก่า (1980s) และมีองค์กรจัดการ (2004+) 
1960s – 2000s
หลักการและแนวคิดการอนุรักษ์/ฟื้นฟูเมือง 
การเปลี่ยนแนวคิด ด้านการฟื้นฟูเมือง สู่ Regeneration 
•ยุทธศาสตร์ : แผนแม่บท  บูรณาการและ action plans 
•ผู้ดาเนินการ : รัฐผู้เดียว  หุ้นส่วน (partnership) 
•เศรษฐกิจ : รัฐลงทุน  รัฐ+เอกชน+อื่นๆ (กระจายผล ปย.) 
•สังคม : ปรับปรุงที่อยู่อาศัย  บทบาทชุมชน 
•กายภาพ : รื้อสร้างใหม่  ไม่สุดโต่ง รักษาคุณค่าเดิม 
•สิ่งแวดล้อม: ภูมิทัศน์  ความยั่งยืนในองค์รวม
หลักการและแนวคิดการอนุรักษ์/ฟื้นฟูเมือง 
วิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจ 
วิเคราะห์ด้านสังคม 
วิเคราะห์สภาพแวดล้อม 
ปัจจัยเปลี่ยนแปลง จากภายนอก 
ปัจจัยเปลี่ยนแปลง 
จากภายใน 
ผลกระทบต่อพื้นที่ 
แต่ละแห่ง 
(วิเคราะห์สถานการณ์) 
OUTPUT 1 
ยุทธศาสตร์ ชุมชน 
OUTPUT 2 
เพิ่มสมรรถนะ 
เรียนรู้เพิ่ม 
OUTPUT 3 
ปรับปรุงทาง กายภาพ 
OUTPUT 4 
พัฒนา เศรษฐกิจ 
OUTPUT 5 
ดาเนินการ ด้าน สวล. 
INPUTS (ข้อมูลนาเข้า) 
OUTPUTS (ผลลัพธ์)
หลักการและแนวคิดการอนุรักษ์/ฟื้นฟูเมือง 
แนวคิดการอนุรักษ์ 
•ก่อนสงคราม: รักษางานศิลปะ จากความรู้/สุทรียภาพ 
•ช่วงสงคราม: สิทธิครอบครองทรัพย์สินทางวัฒนธรรม 
•หลังสงคราม: หวนระลึกถึงสภาพแวดล้อมที่เคยมี 
•1960s: กฎบัตรสากลว่าด้วยการอนุรักษ์ 
•1970s: มรดกฯ เป็นของคนทั้งมวล (มรดกโลก) 
•1980s: อนุรักษ์ชุมชนเมือง
หลักการและแนวคิดการอนุรักษ์/ฟื้นฟูเมือง 
single architecture 
rural & urban setting 
monuments 
groups of buildings 
sites 
historic towns non-inhabited/inhabited/20C. new town 
cultural landscape 
man-made/organically evolved/associative 
Venice Charter: monuments and sites 
World Heritage Convention (WHC) 
Washington Charter & WHC Operational Guidelines 
WHC Operational Guidelines 
1964 
1972 
1987 
1992 
แผนเมือง 
ทุกสาขา
หลักการและแนวคิดการอนุรักษ์/ฟื้นฟูเมือง 
การปกป้องงานศิลปะ และสิทธิการครอบครองงานศิลปะระหว่างสงคราม
หลักการและแนวคิดการอนุรักษ์/ฟื้นฟูเมือง 
ก่อนสงคราม – 1960s อนุรักษ์อาคารเดี่ยว
หลักการและแนวคิดการอนุรักษ์/ฟื้นฟูเมือง 
หลังสงคราม บางเมืองในยุโรปย้อนกลับไปสู่สภาพแวดล้อมในอดีต
หลักการและแนวคิดการอนุรักษ์/ฟื้นฟูเมือง 
1980s กฎบัตรสากลว่าด้วยการอนุรักษ์ชุมชนเมือง
หลักการและแนวคิดการอนุรักษ์/ฟื้นฟูเมือง 1990s ริเริ่มการอนุรักษ์ชุมชนเมืองโดยท้องถิ่นในภูเก็ต
หลักการและแนวคิดการอนุรักษ์/ฟื้นฟูเมือง 
ความแตกต่างของการอนุรักษ์ “โบราณสถาน” กับ “ชุมชนเมือง” 
•คุณค่าของใคร : ประวัติศาสตร์ชาติ หรือ ชุมชน 
•พลวัตร : โบราณสถานไม่มีคนแต่อาคารในชุมชนมีการใช้งาน 
•การถือครอง : อาคารในชุมชนส่วนใหญ่เป็นของเอกชน 
•ผู้มีส่วนได้เสีย : ชุมชนบริหารจัดการโดยท้องถิ่นและประชาคม 
•เทคนิค : โบราณสถานทาได้สะดวกกว่า 
การอนุรักษ์และฟื้นฟูเมือง ต้องการกลไกและวิธีการที่ต่างจากเดิม
การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนเมือง 
•การมีส่วนร่วมสร้างไม่ได้ เพราะเป็นเรื่องธรรมชาติ 
•ประเด็นคือ มีการเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมหรือไม่ 
•หลักคิดจากประสบการณ์... 
- กาหนดว่าอะไรคือคุณค่าของพื้นที่ “ร่วมกัน” ใครบ้างมีส่วนได้เสีย 
- มีความชัดเจนด้านนโยบาย 
- ใช้ “เครื่องมือ” และ “วิธีการ” ที่เหมาะสม 
- มีช่องทางการสื่อสาร/แลกเปลี่ยนข้อมูลทั่วถึง
การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนเมือง ชุมชนร่วมกันกาหนดคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ย่านถนนเจริญเมือง จ. แพร่
การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนเมือง 
ภูเก็ต ช่วงแรก หารือกับเทศบาลและสื่อสารกับชุมชน
การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนเมือง 
ภูเก็ต ช่วงหลัง เทศบาลสนับสนุนให้มูลนิธิเมืองเก่าดาเนินงาน
การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนเมือง 
ภูเก็ต ช่วงหลัง ชุมชนมีบทบาทในการดาเนินการ
การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนเมือง 
ภูเก็ต ช่วงหลัง ชุมชนตั้งกลุ่มศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนเมือง 
กรณีชุมชนซอยเลื่อนฤทธิ์ เขตสัมพันธวงศ์ จากการรื้อย้าย สู่ บรรษัทชุมชน
การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนเมือง 
กรณีชุมชนซอยเลื่อนฤทธิ์ การหาคุณค่าร่วมกัน 
การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนเมือง
การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนเมือง 
กรณีชุมชนซอยเลื่อนฤทธิ์ การนาประเด็นสู่สาธารณะ
การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนเมือง 
กรณีชุมชนซอยเลื่อนฤทธิ์ การหาข้อตกลงในการตัดสินใจ
การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนเมือง 
กรณีชุมชนซอยเลื่อนฤทธิ์ การหาข้อตกลงในการตัดสินใจ
การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนเมือง 
กรณีตึกแถวถนนหน้าพระลาน ผู้เช่ากับ สนง. ทรัพย์สินฯ ร่วมลงทุนฟื้นฟู แก้ปัญหาเสื่อมโทรม
การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนเมือง 
กรณีตึกแถวถนนหน้าพระลาน การตั้งคณะทางานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการฟื้นฟู
การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนเมือง 
กรณีตึกแถวถนนหน้าพระลาน การทาความเข้าใจหลักการและนโยบายการฟื้นฟู
การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนเมือง 
กรณีตึกแถวถนนหน้าพระลาน ผู้เช่าร่วมแสดงความเห็นและความต้องการ
การระดมทรัพยากร 
การรื้อสร้างใหม่ 
•รัฐตัดสินใจฝ่ายเดียว 
•รัฐลงทุนฝ่ายเดียว 
•รัฐคุมทรัพยากร 
•ผลประโยชน์เฉพาะกลุ่ม 
Regeneration 
•เครือข่ายตัดสินใจ 
•รูปแบบหุ้นส่วน 
•แบ่งปันทรัพยากร 
•กระจายผลประโยชน์ 
• ความเป็นธรรม 
• ความยั่งยืน 
• ความโปร่งใส 
• ประโยชน์สาธารณะ
การระดมทรัพยากร 
โครงการหน้าพระลาน ท่าช้าง ท่าเตียน (ชุมชนโดยรอบพระบรมมหาราชวัง) 
• ไม่มีการรื้อย้ายผู้เช่า แต่ร่วมทาไปด้วยกัน 
• ร่วมรับผิดชอบค่าซ่อมแซมในสัดส่วน 75 : 25 
• เงื่อนไขการอยู่อาศัย ต้องรักษาคุณค่าอาคารเก่า 
• ปีที่ดาเนินการ 2554 - 2558 
สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
การระดมทรัพยากร 
การบูรณะเรือนพระยาศรีธรรมาธิราช 
• สานักงานฯ จ่ายค่าศึกษา ทาแบบ การคุมคุณภาพ 
• ผู้เช่า จ่ายค่าบูรณะ (12 ล้านบาท) 
• สานักงานฯ จ่ายค่าบูรณะจิตรกรรมฝาผนังที่พบใหม่ 
สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
การระดมทรัพยากร 
ชุมชนซอยเลื่อนฤทธิ์ (2545 – 2556/2560) 
• บรรษัทชุมชนฯ ออกค่าใช้จ่ายการอนุรักษ์ทั้งหมด 
• สานักงานฯ มอบสัญญาเช่า 8 + 30 ปี 
• ผลตอบแทนอาคารเก่า ต่ากว่าราคาตลาด 
• ผู้เช่าเดิมได้อยู่อาศัย/ทาการค้าทั้งหมด 
สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
การระดมทรัพยากร 
โครงการนาสายสาธารณูปโภคลงใต้ดินในย่านเมืองเก่าภูเก็ต (2551) 
บันทึกความร่วมมือ ร่วมกันจ่ายค่าดาเนินการ 18 ล้านบาท 
กฟภ. 46.7 % ททท. 13.3 % 
เทศบาล 13.9 % หน่วยงานอื่น 26.1 % 
เทศบาลนครภูเก็ต
การระดมทรัพยากร 
การสนับสนุนมูลนิธิเมืองเก่าภูเก็ต งบประมาณและการเจรจา ร่วมออกค่าใช้จ่ายกับเจ้าของอาคารในการรื้อป้ายโฆษณา 
เทศบาลนครภูเก็ต 
มูลนิธิเมืองเก่าภูเก็ต
ความยั่งยืน ปัญหา อุปสรรค 
ความยั่งยืน ... ไม่มี / ปัญหา อุปสรรค ... มี 
•โครงการที่ทา ไม่มีกลไกจากรัฐบาลกลางให้ท้องถิ่นทาได้ 
•อาคารอนุรักษ์เอกชนส่วนใหญ่ไม่ได้ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 
•ฟื้นฟูโดยกลุ่มชุมชน ไม่มีกฎหมายรองรับ ต้องทาเป็นธุรกิจ 
•ทุกโครงการทาด้วยความยากลาบากแทบทุกขั้นตอน 
•ไม่สามารถเป็นแบบอย่างให้พื้นที่อื่นทาได้เพราะขาดกลไก
ความยั่งยืน ปัญหา อุปสรรค 
การสารวจชุมชนดั้งเดิม 53 จังหวัด (รวมตลาดเก่า ตลาดร้อยปี ฯลฯ) 140 แห่ง ต้องการฟื้นฟู รักษา สืบทอด 
• ไม่ทราบจะเริ่มอย่างไร 
• ไม่มีบุคลากร 
• ราชการทาลายเสียเอง (ถนน เขื่อน) 
• ขาดแรงจูงใจทางการเงิน 
• ต่างคนต่างทา (ทาแบบ “ลูกทุ่ง”)
ความยั่งยืน ปัญหา อุปสรรค 
ตาก 
จันทบุรี นครพนม 
ชุมพร
ประเด็นเรื่องกฎหมาย 
•กฎหมายโบราณสถาน เน้นการแช่แข็งและเทคนิคการอนุรักษ์ ไม่เหมาะกับอาคารเอกชนที่มีการเปลี่ยนแปลง 
 ไม่มีกรอบการอนุรักษ์มรดกของชาติที่ครอบคลุม 
•กฎหมายผังเมือง อานาจบังคับใช้อยู่ที่ส่วนกลาง (กฎกระทรวง) ท้องถิ่นกับผู้อยู่อาศัยไม่มีความสัมพันธ์ในกระบวนการวางแผน 
 ไม่มีการแบ่งชั้น (tier) ของผังและอานาจบังคับใช้ 
ความยั่งยืน ปัญหา อุปสรรค
โอกาสและความเป็นไปได้ 
เงื่อนไขและความท้าทาย 
ขอเปลี่ยน 
วิธีการ 
กลไก 
มาตรการ
แนวคิด (Concept) 
•มรดกวัฒนธรรมหากถูกทาลายแล้วไม่สามารถสร้างทดแทนได้ 
•ผู้ครอบครองกรรมสิทธิ์มีหน้าที่รักษา ไม่อาจทาลายได้ 
การระบุและการรับรอง (Designation) 
•โบราณสถาน ไม่มีผู้อาศัย ใช้วิธีขึ้นทะเบียน 
•อาคารสามัญ มีการใช้สอย มีจานวนมาก จะทาอย่างไร 
เงื่อนไขและความท้าทาย 
วิธีการ
เงื่อนไขและความท้าทาย 
วิธีการ 
สองภาพนี้ ภาพใดคือมรดกวัฒนธรรมของไทย 
อยู่ในทะเบียนโบราณสถาน = รับรองอย่างเป็นทางการ 
ไม่อยู่ในทะเบียนโบราณสถาน 
= ไม่มีการรับรอง
เงื่อนไขและความท้าทาย 
วิธีการ 
ผลจากการไม่มี การรับรอง 
มรดกวัฒนธรรม ในเมือง 
(อาคารสามัญ)
เงื่อนไขและความท้าทาย 
วิธีการ 
ผลจากการไม่มีการรับรองมรดกวัฒนธรรมในเมือง (อาคารสามัญ)
การแก้ปัญหาอาคารสามัญที่ไม่ได้ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน 
•อังกฤษ listed buildings กาหนดในกฎหมายผังเมือง (ท้องถิ่น) 
•อเมริกา บัญชีอาคารสาคัญในย่านประวัติศาสตร์ (ท้องถิ่น+ส่วนกลาง) 
•ญี่ปุ่น/ไต้หวัน คล้ายอเมริกา แต่เป็นอานาจท้องถิ่น 
•สิงคโปร์ บัญชีอาคารสาคัญในพื้นที่อนุรักษ์ในกฎหมายผังเมือง 
•มาเลเซีย บัญชีอาคารสาคัญ (ท้องถิ่น) 
•เวียดนาม บัญชีอาคารสาคัญ (ส่วนกลางและท้องถิ่น) 
•ไทย ไม่มี! 
เงื่อนไขและความท้าทาย 
วิธีการ
การประกาศย่านอนุรักษ์และบัญชีอาคารสาคัญในเวียดนาม
การประกาศย่านอนุรักษ์และบัญชีอาคารสาคัญในเวียดนาม
ภูเก็ต จัดทาบัญชอาคารสาคัญในย่านอนุรักษ์
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นในพื้นที่ฟื้นฟู/อนุรักษ์ จะทาอย่างไร 
หลักคิด สาหรับอาคารสามัญของเอกชน 
•การรอนสิทธิ์ (เพื่ออนุรักษ์) จะต้องมาจากผู้อยู่อาศัยเห็นชอบ 
•ต้องรักษาคุณค่าเดิมของพื้นที่ ไม่ให้ด้อยไปกว่าเดิม 
•มีกระบวนการกลั่นกรองรูปแบบอาคารมากกว่าการขออนุญาต ปลูกสร้าง ดัดแปลง ต่อเติมปกติ (HIA) (H = heritage) 
•ควรมีคณะกรรมการกลั่นกรองระดับท้องถิ่น 
•กลไกเช่นนี้ ต้องโปร่งใสในเรื่องการขออนุญาตอาคาร ! 
เงื่อนไขและความท้าทาย 
กลไก
กฎระเบียบเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ (ฟื้นฟู/อนุรักษ์) 
หลักคิด 
•ส่วนใหญ่ไม่ใช้อานาจของกฎหมายโบราณสถาน (เคร่งครัดไป) 
•หากใช้กฎหมายผังเมือง พบว่าต้องทาโดยท้องถิ่น (วาง จัดทา บังคับใช้) ของไทย ท้องถิ่นไม่มีอานาจบังคับใช้ผังเมืองเอง 
•บางแห่งใช้ช่องทางกฎหมายอาคาร (ไทยด้วย) 
•หลายแห่งมีแรงจูงใจ เพื่อลดแรงกดดันการรื้อทาลาย 
เงื่อนไขและความท้าทาย 
มาตรการ
ความพยายามของไทย 
เงื่อนไขและความท้าทาย 
มาตรการ 
เชียงคาน เทศบัญญัติ + แนวทางการปรับปรุงอาคาร
ความพยายามของไทย 
เงื่อนไขและความท้าทาย 
มาตรการ 
ภูเก็ต กาลังดาเนินการจัดทาเทศบัญญัติพร้อมบัญชีอาคารสาคัญ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdfSarit Tiyawongsuwan
 
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวบทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวTeetut Tresirichod
 
ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58
ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58
ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58somporn Isvilanonda
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
บทที่ ๙ ของที่ระลึก
บทที่ ๙ ของที่ระลึกบทที่ ๙ ของที่ระลึก
บทที่ ๙ ของที่ระลึกpraphol
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืชWichai Likitponrak
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน Ornkapat Bualom
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางพัน พัน
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningTeetut Tresirichod
 
การจัดเลี้ยงอาหาร
การจัดเลี้ยงอาหารการจัดเลี้ยงอาหาร
การจัดเลี้ยงอาหารพัน พัน
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
แบบฝึกเล่ม1 my happy family
แบบฝึกเล่ม1 my happy familyแบบฝึกเล่ม1 my happy family
แบบฝึกเล่ม1 my happy familyNitchakarn Nakasoon
 
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยการตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยNakhon Pathom Rajabhat University
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsTeetut Tresirichod
 
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์panomkon
 

Mais procurados (20)

Unit6 1
Unit6 1Unit6 1
Unit6 1
 
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
08-09 กฎหมายการผังเมือง.pdf
 
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวบทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
 
ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58
ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58
ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
บทที่ ๙ ของที่ระลึก
บทที่ ๙ ของที่ระลึกบทที่ ๙ ของที่ระลึก
บทที่ ๙ ของที่ระลึก
 
9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช9.เนื้อเยื่อพืช
9.เนื้อเยื่อพืช
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลาง
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planning
 
sense organs
sense organssense organs
sense organs
 
การจัดเลี้ยงอาหาร
การจัดเลี้ยงอาหารการจัดเลี้ยงอาหาร
การจัดเลี้ยงอาหาร
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แบบฝึกเล่ม1 my happy family
แบบฝึกเล่ม1 my happy familyแบบฝึกเล่ม1 my happy family
แบบฝึกเล่ม1 my happy family
 
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยการตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizations
 
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
 

Destaque

การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ
การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุการอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ
การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุDaDame Parinan
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Pptการพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.PptMate Soul-All
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์wiraja
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Saiiew
 
คู่มือ
คู่มือคู่มือ
คู่มือaispretty
 
Youth Entrepreneurship: Moderating Opportunity Identification towards New Ven...
Youth Entrepreneurship: Moderating Opportunity Identification towards New Ven...Youth Entrepreneurship: Moderating Opportunity Identification towards New Ven...
Youth Entrepreneurship: Moderating Opportunity Identification towards New Ven...Universiti Sains Islam Malaysia
 
Selling Power Top 50 2014
Selling Power Top 50 2014Selling Power Top 50 2014
Selling Power Top 50 2014Denise Wadina
 
Copyright 2007 2
Copyright 2007 2Copyright 2007 2
Copyright 2007 2guest339a0f
 
Blink credential 7 2012
Blink credential 7 2012Blink credential 7 2012
Blink credential 7 2012Khuong Cuong
 
2012 deep research report on china influenza vaccine industry
2012 deep research report on china influenza vaccine industry2012 deep research report on china influenza vaccine industry
2012 deep research report on china influenza vaccine industrysmarter2011
 
The pictures all Australia has been waiting to see: Sean Abbott shows he's re...
The pictures all Australia has been waiting to see: Sean Abbott shows he's re...The pictures all Australia has been waiting to see: Sean Abbott shows he's re...
The pictures all Australia has been waiting to see: Sean Abbott shows he's re...alivefatherland71
 

Destaque (19)

การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ
การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุการอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ
การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
 
5 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 55 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 5
 
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Pptการพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
Silvers, David CV
Silvers, David CVSilvers, David CV
Silvers, David CV
 
Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555
 
Lydia Rabinovich Resume
Lydia Rabinovich ResumeLydia Rabinovich Resume
Lydia Rabinovich Resume
 
คู่มือ
คู่มือคู่มือ
คู่มือ
 
Youth Entrepreneurship: Moderating Opportunity Identification towards New Ven...
Youth Entrepreneurship: Moderating Opportunity Identification towards New Ven...Youth Entrepreneurship: Moderating Opportunity Identification towards New Ven...
Youth Entrepreneurship: Moderating Opportunity Identification towards New Ven...
 
Selling Power Top 50 2014
Selling Power Top 50 2014Selling Power Top 50 2014
Selling Power Top 50 2014
 
Copyright 2007 2
Copyright 2007 2Copyright 2007 2
Copyright 2007 2
 
Hạt lười ươi bay Quảng Nam
Hạt lười ươi bay Quảng NamHạt lười ươi bay Quảng Nam
Hạt lười ươi bay Quảng Nam
 
Blink credential 7 2012
Blink credential 7 2012Blink credential 7 2012
Blink credential 7 2012
 
Nhi teveten
Nhi tevetenNhi teveten
Nhi teveten
 
2012 deep research report on china influenza vaccine industry
2012 deep research report on china influenza vaccine industry2012 deep research report on china influenza vaccine industry
2012 deep research report on china influenza vaccine industry
 
The pictures all Australia has been waiting to see: Sean Abbott shows he's re...
The pictures all Australia has been waiting to see: Sean Abbott shows he's re...The pictures all Australia has been waiting to see: Sean Abbott shows he's re...
The pictures all Australia has been waiting to see: Sean Abbott shows he's re...
 

Semelhante a PPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาค

โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)ปิยนันท์ ราชธานี
 
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...ปิยนันท์ ราชธานี
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1niinanz
 
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552ดิเรก ดวงเพ็ชร์
 
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ FURD_RSU
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนTeeranan
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกFURD_RSU
 

Semelhante a PPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาค (8)

โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
โครงการ พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(กย.61)
 
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
บทสรุปผู้บริหาร โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรม 10 เมืองเก่า(ก...
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Focus group-research experience
Focus group-research experienceFocus group-research experience
Focus group-research experience
 
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
 
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
 

Mais de FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 

Mais de FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

PPT ประสบการณ์การทำงานและการอนุรักษ์เมืองของไทยใแต่ละภาค