SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
What is Placemaking?
อะไรคือแนวคิด Placemaking
Infographic
Placemaking นวัตกรรม
เพื่อสุขภาวะคนเมือง
สร้างสรรค์พื้นทีไปกับ
เมืองสายบุรี
ปี ที่ 1 ฉบับที่ 2 กุมภาพันธ์ 2560
i | FURD Cities Monitor February 2017
บรรณาธิการ
ยุวดี คาดการณ์ไกล
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
ณัฐธดา เย็นบารุง
กองบรรณาธิการ
ณัฐธิดา เย็นบารุง
จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ออกแบบและรูปเล่ม
ณัฐธิดา เย็นบารุง
ภาพปก
ปาณัท ทองพ่วง
ภาพในเล่ม
ปาณัท ทองพ่วง
ณัฐธิดา เย็นบารุง
ปาริชาติ อ่อนทิมวงค์
NAS Photographer
เผยแพร่
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
CONTACT US
www.furd-rsu.org
Tel. (+66) 2938 8826
Fax. (+66) 2938 8864
FURD Cities Monitor February 2017 | ii
FURD Cities Monitor ฉบับปฐมฤกษ์ ได้รับการต้อนรับจากผู้สนใจเรื่องเมืองและผู้สร้างบ้านแปงเมืองเป็นอย่างดี
ทาให้ทีมงานมีกาลังใจและแรงกระตุ้นในการจัดทา FURD Cities Monitor ฉบับต่อมา ทีมงานจึงตั้งใจ ค้นคว้า หาแนวคิด
และเรื่องราวดีๆ ของเมืองทั้งในประเทศและต่างประเทศมาให้ผู้อ่านได้ติดตามกัน
ในฉบับนี้FURD Cities Monitor จึงขอนาเสนอแนวคิดในการพัฒนาเมืองแบบ Placemaking หรือการปรับเปลี่ยน
พื้นที่สาธารณะให้กลายเป็นพื้นที่ทาประโยชน์ให้กับคนเมือง ทาไมแนวคิดนี้ถึงน่าสนใจ พื้นที่สาธารณะเป็นสิ่งที่สาคัญ ใน
การดึงการมีส่วนร่วมให้เข้ามาทากิจกรรม เป็นทั้งการผ่อนคลายและสร้างปฏิสัมพันธ์ให้เกิดขึ้นกับคนเมือง และที่สาคัญ
ต้นทุนในการทา Placemaking นั้น ค่อนข้างถูกและมีประสิทธิภาพ
ประเทศไทยใช่ว่าจะไม่เคยมีการทา Placemaking เรามีการทามานานรูปแบบต่างๆ แต่ก็ไม่ได้เรียก Placemaking
ล่าสุดเมืองสายบุรี ได้เปลี่ยนพื้นที่ถนนในเมืองมาทากิจกรรม โดยใช้ชื่อว่า “เตอลูแบ This is my hometown” เพื่อถ่ายทอด
จิตวิญาณของคนเมืองสายบุรี ทั้งในด้านสถาปัตยกรรม และเรื่องราวความสัมพันธ์อันดีงามระหว่างคนจีนและมุสลิมใน
ชุมชนเมืองสายบุรี ติดตามเรื่องราวดีๆ ความรู้ดีๆ ของ Placemaking และเมืองสายบุรีได้ในฉบับนี้และขอขอบคุณทุกท่าน
ที่ติดตามผลงาน
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
1 | FURD Cities Monitor February 2017
PLACEMAKING
OVERVIEW
Placemaking คืออะไร เป็ นมา
อย่างไร สืบเนื่องในช่วงทศวรรษ 1960
นักเคลื่อนไหวด้านการพัฒนาเมืองชาว
อเมริกันชื่อ Jane Jacobs ได้ ผลักดัน
แนวคิดเรื่อง Placemaking เธอพยายาม
เสนอแนวคิดนอกกรอบในเรื่องการออกแบบ
เมืองเพื่อคน ไม่ใช่เพื่อรถยนต์และ
ศูนย์การค้า งานของเธอให้ความสาคัญไปที่
วัฒนธรรมและสังคมของผู้คนที่อาศัยอยู่ใน
ละแวกเดียวกันให้อยู่ร่วมกันอย่างมีชีวิตชีวา
และมีพื้นที่สาธารณะ (Public Spaces) ที่
ดึงดูดผู้คนให้เข้ามาใช้ประโยชน์ โดยเธอ
เสนอแนวคิด “Eyes on the Street” ที่
พยายามกระตุ้นให้ชาวเมืองแสดงความเป็น
เจ้าของท้องถนน ซึ่งได้รับการยอมรับเป็น
อย่างมาก
WHAT IS
PLACEMAKING
พื้นที่สาธารณะ (Public Spaces)
นั้น ถือได้ว่าเป็นหัวใจสาคัญของหลายเรื่อง
และอยู่ในความสนใจระดับโลก ตั้งแต่เรื่อง
สุขภาพ ความยั่งยืน นวัตกรรม จนถึงความ
เสมอภาค กล่าวคือ เมืองใดที่มีพื้นที่
สาธารณะมาก เมืองนั้นก็จะมีพื้นที่ที่สามารถ
ทาให้เป็ นสวนสาธารณะเพื่อสร้างเสริม
สุขภาพ ทาให้เป็นปอดของคนเมือง ทาเป็น
สถานที่ที่ให้ทุกคนสามารถเข้ามาใช้ประโยชน์
เพื่อทากิจกรรมสร้างสรรค์ร่วมกันได้ ซึ่งการ
สร้างสรรค์ ปรับเปลี่ยน และตกแต่งพื้นที่ที่มี
จุดประสงค์เพื่อสร้างประโยชน์แก่สาธารณะ
และมุ่งให้ผู้อยู่อาศัยในละแวกใกล้เคียงได้มา
ใช้ประโยชน์และมีปฏิสัมพันธ์กันนี่เอง ที่เรา
นิยมเรียกกันว่า Placemaking
?
ยุวดี คาดการณ์ไกล เรียบเรียง
FURD Cities Monitor February 2017 | 2
Placemaking เป็ นกระบวนการที่
เอื้อให้เกิดรูปแบบการใช้ประโยชน์อย่าง
สร้างสรรค์ในหลากหลายรูปแบบ ให้ความ
ใส่ใจเป็ นพิเศษกับ อัตลักษณ์ทางด้าน
กายภาพ วัฒนธรรมและสังคม ที่เน้นการ
ให้ความหมายกับสถานที่และเกื้อหนุนให้
สถานที่นั้นมีการพัฒนาและดาเนินต่อไปได้
ด้วยการสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนใน
เมืองนั้น ซึ่งแนวคิดนี้กาลังเป็นแนวโน้ม
ใหม่ที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายใน
หมู่เครือข่ายการพัฒนาเมือง กระบวนการ
ทา Placemaking ให้ได้ผลนั้น จะต้อง
อาศัยแรงบันดาลใจและใช้ศักยภาพของ
ชุมชนในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์ อันจะ
ส่งผลให้เกิดการสร้างพื้นที่สาธารณะที่
ส่งเสริมสุขภาพ ความสุข และความเป็นอยู่
ที่ดีของประชาชน สนับสนุนภาคธุรกิจและ
องค์กรในพื้นที่ รวมทั้งช่วยเผยแพร่
อัตลักษณ์ของพื้นที่ด้วย
ที่ผ่านมาการจัดทา Placemaking
ในหลายประเทศ ได้รับการพิสูจน์แล้วว่า
มีผลดีต่อสุขภาพ สังคม สิ่งแวดล้อม
เศรษฐกิจและการศึกษาเป็นอย่างมาก
ทั้งนี้เราสามารถสรุปคุณลักษณะที่เป็น
Placemaking และไม่ใช่ Placemaking
ได้ ดังตารางที่ 1
ในปัจจุบัน พื้นที่สาธารณะที่มีอยู่ใน
เมืองมักถูกนาไปสร้างเป็นห้างสรรพสินค้า
หรือถูกออกแบบสิ่งก่อสร้างเพื่อดึงดูด
นักท่องเที่ยว หารู้ไม่ว่าเมืองที่ออกแบบ
พื้นที่สาธารณะเพื่อให้คนในเมืองได้ใช้
ประโยชน์และทากิจกรรมร่วมกันต่างหาก
ที่ดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยวให้เข้า
มาเที่ยวได้มากกว่า เพราะคนภายนอกจะ
ให้ความสนใจในสิ่งที่เป็นอัตลักษณ์ วิถี
ชีวิตดั้งเดิม สิ่งที่เป็นธรรมชาติมากกว่า
วัฒนธรรมประดิษฐ์
ตารางที่ 1 แสดงคุณลักษณะที่เป็น Placemaking และไม่ใช่ Placemaking
ที่มา PPS (Project for Public Spaces)
?
3 | FURD Cities Monitor February 2017
ที่มาภาพ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
FURD Cities Monitor February 2017 | 4
เรียบง่าย เร็ว ถูก
แนวคิดบันดาลใจของ
การทา Placemaking
จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ แปลและเรียบเรียง
พื้นที่สาธารณะที่ดีไม่ใช่ที่ที่ออกแบบซับซ้อน ไม่ใช่
โครงการขนาดใหญ่ใจกลางเมืองที่ต้องใช้เงินลงทุนมหาศาล
ในความเป็นจริงแล้วพื้นที่สาธารณะที่ประสบความสาเร็จ
อาจสร้างขึ้นมาอย่างเรียบง่าย ใช้ต้นทุนต่า และตั้งอยู่ใน
สถานที่แปลกใหม่ซึ่งคาดไม่ถึง
“ง่ายกว่า เร็วกว่า ถูกกว่า” (Lighter, Quicker,
Cheaper : LQC) ได้กลายมาเป็นแนวคิดใหม่สาหรับการทา
Placemaking ด้วยการปฏิวัติระบบการวางแผนและการ
ดาเนินงานของโครงการพัฒนาพื้นที่สาธารณะซึ่งเคย
ซับซ้อน ล่าช้า มีการตัดสินใจแบบ Top – Down และนา
วิธีการที่ยืดหยุ่นต่อกฎระเบียบมาใช้แทน กระบวนการใหม่ที่
เกิดขึ้นจึงไม่ยึดติดกับวิธีการ แต่ให้ความสาคัญอย่างสูงต่อ
เป้ าหมายที่มุ่งหวังให้คนในเมืองได้ใช้ประโยชน์จากพื้นที่
สาธารณะมากที่สุด
เว็บไซต์ Project for Public Spaces ได้นาเสนอ
ตัวอย่างโครงการ Placemaking ที่ใช้แนวคิด LQC ไว้
จานวน 5 โครงการ ซึ่งทั้งหมดล้วนเป็นผลสาเร็จที่พิสูจน์ให้
เห็นว่าของการบริหารจัดการพื้นที่อย่างไม่เป็นทางการซึ่งมี
ความรวดเร็วและใช้ต้นทุนต่าสามารถสร้างการเปลี่ยนแปลง
ในเชิงบวกในพื้นที่สาธารณะให้เกิดขึ้นตลอดทั้งยังกระตุ้นให้
เรื่องการศึกษา การเข้าถึงบริการสาธารณะ ความปลอดภัย
บริการสาธารณสุขและการมีสุขภาวะกลายมาเป็นวาระ
สาคัญของชุมชน
5 | FURD Cities Monitor February 2017
ในช่วงฤดูร้อนของทุกปีตั้งแต่ ค.ศ. 2011 เป็น
ต้นมา ทั่วทั้งถนนคนเดินเส้นสั้นๆ ของเมืองอากุยดาจะ
ถูกประดับประดาด้วยร่มหลากสีไว้แทนหลังคาสาหรับ
ให้ร่มเงากับผู้คนที่เดินผ่านไปมา การนาร่มมาใช้
ประโยชน์ในลักษณะดังกล่าว นอกจากจะช่วยเพิ่ม
สีสันและร่มเงาแล้ว ยังเปลี่ยนให้ถนนโล่งๆ กลายมา
เป็นลานเอนกประสงค์ที่ดึงดูดให้คนในเมืองมาออก
กาลังกายกลางแจ้ง และทากิจกรรมต่างๆ ร่วมกันมาก
ขึ้น ปัจจุบัน โครงการนี้ประสบความสาเร็จและได้รับ
การขยายผลไปสู่เมืองอื่นๆ ของโปรตุเกส และอีก
หลายเมืองทั่วโลก
Umbrella Sky Project
เมืองอากุยดา โปรตุเกส3
Think Micro
เมืองอิซเมียร์ ตุรกี1โครงการ Think Micro เริ่มต้นขึ้นใน
ค.ศ. 2014 โดยการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย
เศรษฐศาสตร์แห่งอิซเมียร์ (Izmir University of
Economics) หัวใจสาคัญของโครงการนี้คือการ
คิดนอกกรอบ จึงนามาสู่การริเริ่มสร้ าง
สวนสาธารณะลอยน้าขนาดเล็กซึ่งมีลักษณะเป็น
ท่าเทียบเรือที่ทามาจากวัสดุที่หาได้ทั่วไป มี
น้าหนักเบา ง่ายต่อการประกอบ เพื่อเป็นทางเลือก
ใหม่ที่ช่วยให้คนในเมืองได้ใช้ประโยชน์จากพื้นที่
ริมน้ามากขึ้น
Intersection Repair
เมืองพอร์ตแลนด์ ออริกอน
สหรัฐอเมริกา
2
ปัจจุบัน พอร์ตแลนด์ได้ริเริ่มโครงการฟื้นฟู
เมืองให้มีชีวิตชีวาด้วยการประสานความร่วมมือ
ระหว่างชุมชนและอาสาสมัครในการสร้างสรรค์งาน
ศิลปะตามเส้นทางจราจรของเมือง เช่น การวาด
จิตรกรรมขนาดใหญ่บริเวณทางแยกถนน และการ
เปลี่ยนวงเวียนกลับรถธรรมดาด้วยการตกแต่งให้ดู
น่ารักขึ้น กระบวนการปรับปรุงพื้นที่นี้เป็นเสมือน
สื่อกลางที่เชื้อเชิญให้คนทุกเพศทุกวัยเข้ามาใช้เวลา
ช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์สร้างงานศิลปะร่วมกัน ซึ่ง
ผลงานที่ออกมานอกจากจะสร้างความภาคภูมิใจ
ให้แก่คนในชุมชนผู้เป็นเจ้าของแล้ว ยังช่วยเพิ่มสีสัน
รวมทั้งสร้างความผ่อนคลายและความปลอดภัยให้แก่
ผู้สัญจรบนท้องถนนอีกด้วย
FURD Cities Monitor February 2017 | 6
Jewell of Brunswick
เมืองเมลเบิร์น ออสเตรเลีย
สาหรับเมลเบิร์น LQC นับเป็นจุดเริ่มต้นที่ทา
ให้ชุมชนและรัฐบาลท้องถิ่นหันมาร่วมมือกันพัฒนา
เมืองอย่างจริงจัง ผลที่เป็นรูปธรรมก็คือโครงการ
Jewell of Brunswick ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2014 โดย
เริ่มจากการปิดลานจอดรถเป็นการชั่วคราวเพื่อ
พัฒนาพื้นที่ลานกิจกรรม คนในชุมชนได้ร่วมกันสร้าง
งานศิลปะ ทั้งการทาที่นั่งแบบ DIY การสร้างสรรค์
ศิลปะบนฝาผนังแบบ Street Art พร้อมวางแผนจัด
กิจกรรม การแสดง ไปจนถึงการเวิร์คชอปต่างๆ จน
พื้นที่ดังกล่าวได้กลายมาเป็นสถานที่นัดรวมตัวที่มีคน
ทุกเพศทุกวัยหมุนเวียนเข้ามาตลอดเวลา กระทั่งสภา
เทศบาลเมืองได้อนุมัติให้ลานจอดรถเดิมกลายเป็น
พื้นที่เพื่อกิจกรรมสาธารณะถาวรในที่สุด
Mmofra Place
เมืองอักกรา กานา4เมืองอักกราเป็นตัวอย่างของการใช้แนวคิด
LQC มาสร้างการประสานงานข้ามภาคส่วน สร้าง
การเรียนรู้และการลองผิดลองถูกร่วมกันระหว่างคน
ในชุมชน ผลงานที่เกิดคือ การปรับปรุงพื้นที่สีเขียว
ของเมือง มี the Ghana-based Mmofra Founda-
tion เป็นแกนนา โดยร่วมมือกับเครือข่ายสถาปนิก
นักวางแผน วิศวกร ศิลปิน ผู้เชี่ยวชาญด้านท้องถิ่น
ไปจนถึงผู้นาชุมชนและคนหนุ่มสาวในพื้นที่จัด
ประชุมระดมสมองเพื่อกาหนดวิสัยทัศน์และ
แผนปฏิบัติในการพัฒนาพื้นที่สาธารณะในเมืองให้
เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มี
ความปลอดภัย และสามารถรองรับประชากรเด็ก
ของเมืองที่เพิ่มขึ้นได้
5
ไม่ว่ามากหรือน้อยเพียงใด โครงการ Placemaking ของทุกเมืองซึ่งใช้แนวคิด LQC
ต่างก็ได้สร้างการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีให้เกิดขึ้นทั้งในแง่ประโยชน์ใช้สอยและการมีส่วน
ร่วมของชุมชน ทั้งยังเป็นการพัฒนาที่เป็นแบบอย่างให้แก่เมืองอื่นๆ ได้เรียนรู้และนาไปต่อ
ยอด ซึ่งศูนย์ศึกษามหานครและเมืองเห็นว่า LQC ถือเป็นความหวังใหม่ที่จะจุดประกาย
ให้การทา Placemaking ในเมืองไทยเริ่มต้นได้ง่ายและแพร่หลายมากขึ้นอันจะนามาสู่
การเพิ่มจานวนพื้นที่สาธารณะที่ช่วยเสริมสร้างสุขภาวะทั้งด้านร่างกายและจิตใจให้แก่คน
ไทยในทุกเมือง ท้ายที่สุด ตัวอย่างเหล่านี้เป็นบทเรียนที่แสดงให้เห็นชัดเจนแล้วว่า การ
จัดการหรือการพัฒนาพื้นที่สาธารณะนั้น แม้จะใช้ทรัพยากรน้อย แต่ก็ประสบความสาเร็จ
ได้ด้วยความคิดสร้างสรรค์และการร่วมแรงร่วมใจของประชาชนผู้เป็นเจ้าของเมือง
REFERENCE: ภาพและเนื้อหา
Project for Public Spaces. (2016).
Light, Quick, and Cheap: 5 Place-
making Projects That Inspire Us.
ออนไลน์ https://www.pps.org/blog/
l i g h t - q u i c k - a n d - c h e a p - 5 -
placemaking-projects-that-inspire-
us/
7 | FURD Cities Monitor February 2017
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร แปลและเรียบเรียง
แม้การขยายตัวของเมืองจะทาให้คนเมืองเข้าถึง
โรงพยาบาลดีๆ ที่มีเทคโนโลยี มีเครื่องมือที่ทันสมัย และมีแพทย์
เป็นจานวนมาก แต่สภาพแวดล้อมของเมืองหลายแห่งในปัจจุบัน
กลับไม่เอื้อให้คนเมืองมีสุขภาพที่ดีได้เลย ไม่ว่าจะเป็นอาหารการ
กินที่เต็มไปด้วยสารกันบูด ขาดความสดใหม่ สวนสาธารณะและ
พื้นที่สีเขียวที่มีน้อยมาก ถนนหนทางที่เห็นรถยนต์สาคัญกว่าคน
อีกทั้งสังคมคนเมืองที่เต็มไปด้วยความเห็นแก่ตัว แย่งกันกินแย่ง
กันใช้ ขาดปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน สิ่งเหล่านี้ล้วนส่งผลเสียต่อทั้ง
สุขภาวะทางกาย ทางใจ และทางปัญญา ด้วยเหตุนี้ศูนย์ศึกษา
มหานครและเมืองจึงให้ความสาคัญกับการค้นหาแนวทางและ
ประสบการณ์การใช้ Placemaking เพื่อนามาใช้พัฒนาเมืองไปสู่
สุขภาวะ
ทาไมเมืองต้องมี Placemaking
จากรายงานของ County Health Rankings ระบุว่า
สุขภาพคนเราจะดีหรือแย่นั้นขึ้นอยู่กับการบริการสุขภาพที่เราใช้
เพียง 20% เท่านั้น ส่วนอีก 80% ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมการใช้ชีวิต
(30%) สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม (40%) และ
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (10%) นั่นหมายความว่า ปัจจัย
จาพวกระดับการศึกษา งาน รายได้ การสนับสนุนทางสังคม
ความปลอดภัยในชุมชน ที่อยู่อาศัย ระบบขนส่ง ตลอดจนการ
รับประทานอาหารและการออกกาลังกาย มีผลต่อสุขภาพและ
ความเป็นอยู่ของเรามากถึง 80%
ดังที่ เมโลดี้กู๊ดแมน (Melody Goodman) อาจารย์จาก
มหาวิทยาลัยวอชิงตัน เคยกล่าวไว้ว่า “รหัสไปรษณีย์ของบ้านที่
คุณอยู่ สามารถคาดการณ์สุขภาพของคุณได้ดีกว่ารหัสพันธุกรรม
ของคุณเองเสียอีก” ยกตัวอย่างเช่น หากคุณอาศัยอยู่ในเขต
ชุมชนที่มีรายได้ต่า ซึ่งมักจะไม่มีพื้นที่ให้คนเดินหรือออก
กาลังกาย ไม่มีการดูแลรักษาทางเท้า สวนสาธารณะ ต้นไม้ และ
แหล่งพักผ่อนหย่อนใจ รวมทั้งไม่มีซูเปอร์มาร์เก็ตและแหล่งขาย
ผักผลไม้สดๆ สุขภาพของคุณก็อาจไม่ดีเท่าไรนัก ฉะนั้น หนทาง
หนึ่งที่จะทาให้เรารับมือกับปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้และนาเมืองไปสู่
สุขภาวะได้คือ Placemaking นั่นเอง
Placemaking ไม่มีคาจากัดความที่ชัดเจน กล่าวโดย
กว้างๆ หมายถึง แนวคิดที่เกี่ยวกับการหยิบพื้นที่ว่างของชุมชนมา
ออกแบบใหม่ เพื่อกระตุ้นพฤติกรรมที่ดีต่อสุขภาพ สร้างทุนทาง
สังคม ส่งเสริมเศรษฐกิจท้องถิ่นให้เติบโต พัฒนาพื้นที่ให้มีความ
ปลอดภัยมากขึ้น ลดอัตราการเกิดอาชญากรรม เสริมพลังการ
รวมตัวของพลเมือง และลดการเกิดความไม่เท่าเทียมกันในด้าน
สุขภาพ (Health Disparities)
แนวทางการพัฒนาเมืองสู่สุขภาวะด้วย
Placemaking
ด้วยคากล่าวของเมโลดี้ที่นับวันดูเหมือนจะเป็นความจริง
มากขึ้นเรื่อยๆ กอปรกับการค้นพบแนวคิด Placemaking อันเป็น
หนทางที่ช่วยพัฒนาเมืองไปสู่สุขภาวะได้ ทาให้แนวทางการทา
Placemaking กลายเป็นสิ่งสาคัญที่เราต้องให้ความสนใจและ
ศึกษาเรียนรู้จากตัวอย่างที่เกิดขึ้นจริง เพื่อนามาสร้างสรรค์
โครงการดีๆ และลงทุนโครงสร้างพื้นฐานในเมืองตามแนวทางที่
เหมาะสมกับพื้นที่ของตน ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 5 แนวทาง ดังนี้
1. เน้นการปฏิสัมพันธ์และการสนับสนุนทางสังคม หาก
เมืองมีการสนับสนุนทางสังคมที่ดี จะช่วยสร้างความรู้สึกเป็นเจ้า
ข้าวเจ้าของเมืองและสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตใจ
2. เน้นการละเล่นและนันทนาการแบบกระฉับกระเฉง
กิจกรรมทางกายภาพจะช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคเรื้อรัง
ทาให้คนเมืองมีสุขภาพที่ดีทั้งกายและใจ และมีอายุยืนยาวขึ้น
FURD Cities Monitor February 2017 | 8
3. เน้นพื้นที่สีเขียวและสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ การเพิ่ม
พื้นที่สีเขียวเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพมาก เพราะช่วย
ให้คนอยากออกกาลังกายกันมากขึ้น ลดอัตราการเป็นโรคหัวใจ
และเมแทบอลิก (Cardiometabolic Disease) สร้างทุนทางสังคม
ลดการเกิดอาชญากรรม บรรเทาอาการซึมเศร้า ความเครียดและ
ความวิตกกังวล ตลอดจนช่วยเพิ่มสมาธิและความจาด้วย
4. เน้นอาหารสุขภาพ การที่คนเมืองสามารถเข้าถึงและ
จับจ่ายใช้สอยซื้อของสดของดีมีประโยชน์ต่อร่างกายได้ เป็นสิ่ง
สาคัญที่ช่วยให้ชุมชนมีสุขภาวะที่ดีและลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรัง
อีกทั้งยังช่วยสร้างโอกาสให้เกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สร้าง
สังคมผู้ประกอบการในท้องถิ่น สร้างความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม
สร้างความผูกพันในชุมชน และสร้างการเรียนรู้ด้านโภชนาการ
(Nutrition-Based Education)
5. เน้นการเดินและการปั่นจักรยาน การมุ่งทาให้คนเมือง
เดินทางเท้าได้ง่ายและสะดวก ส่งผลให้ท้องถนนมีความปลอดภัย
มากขึ้น โรคเรื้อรังเกิดขึ้นน้อยลง มลพิษทางอากาศน้อยลง ธุรกิจ
ริมทางเท้าเติบโตขึ้น ความสามารถในการรู้คิด (Cognitive Func-
tion) พัฒนาขึ้น รวมทั้งคนเมืองก็ได้ขยับตัวเคลื่อนไหวกันมากขึ้น
ด้วย
นวัตกรรม Placemaking ดูเหมือนจะเป็นเครื่องมือที่ทาได้
ง่าย มีตุ้นทุนต่า เห็นผลได้ทันที หากแต่จะประสบความสาเร็จและ
มีความยั่งยืนได้ ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจของคนในเมืองที่
ไม่ได้เกิดจากการถูกบังคับ แต่ต้องเกิดจากใจที่รู้สึกเป็นเจ้าของ
เมือง อยากจะเข้าร่วม อยากจะลงมือทา อยากจะพัฒนาเมืองใน
แนวทางของตัวเอง Placemaking จึงจะเกิดขึ้น และกลายเป็น
ความภาคภูมิใจที่สะท้อนตัวตนของเมืองขึ้นมาได้ นอกจากนี้เมื่อ
Placemaking สามารถดึงผู้คนให้มารวมตัวกัน จนเกิดเป็นพื้นที่
สาธารณะหรือกิจกรรมที่สนับสนุนการเคลื่อนไหวขึ้นมาได้แล้ว
สุขภาวะของเมืองก็จะเป็นผลที่ตามมา
REFERENCE: ภาพและเนื้อหา
Amanda Li , 2017. “Placemaking Our Way to Healthier Communities and Better
Lives.” DASH-NY. Retrieved from http://promotingprevention.org/placemaking-our-
way-to-healthier-communities-and-better-lives
Project for Public Spaces, 2016. “The Case for Healthy Places : Improving Health
through Placemaking.” Retrieved from https://www.pps.org/wp-content/
uploads/2016/12/Healthy-Places-PPS.pdf
University of Wisconsin Population Health Institute, 2003. County Health Rankings
& Roadmaps. University of Wisconsin Population Health Institute. Accessed Janu-
ary 2016. Retrieved from http://www.countyhealthrankings.org/our-approach
FURD INFOGRAPHIC : FEBRUARY 2017
11 | FURD Cities Monitor February 2017
เตอลูแบ
This is my hometown
เปลี่ยนถนนให้มีชีวิต
สานสัมพันธ์คนจีน-มุสลิม
ในสายบุรี
ณัฐธิดา เย็นบารุง เขียน
FURD Cities Monitor February 2017 | 12
ผ่านพ้นไปแล้ว กับงาน เตอลูแบ This is my
hometown งานดีๆ ที่เกิดขึ้นในเมืองสายบุรี จังหวัด
ปัตตานี ผ่านความร่วมมือของกลุ่มคนจีนในเมืองสายบุรี
อย่างกลุ่มศาลเจ้าเล่าเอี๊ยะกง และกลุ่มมุสลิม นาทีมโดย
กลุ่ม Saiburi Looker
ถนนที่มีชีวิต
งาน เตอลูแบ สร้างความพิเศษ คือการสร้าง
Placemaking ให้เกิดขึ้นในเมือง หรือการปรับเปลี่ยนพื้น
ถนนธรรมดา ที่เป็นเพียงถนนคนจีนอันเป็นที่ตั้งของ
สถาปัตยกรรมเรือนแถวจีนเก่า ที่ส่วนใหญ่มักถูกปิด
ถนนแห่งนี้จึงเป็นเพียงถนนที่เงียบเหงาถนนหนึ่งในสาย
บุรี แต่ในวันนี้ถนนนี้ได้กลายเป็นถนนที่มีชีวิต เป็นพื้นที่
จัดงาน มีเวที มีงานนิทรรศการสถาปัตยกรรมและ
เรื่องราวประวัติศาสตร์ของเมืองสายบุรี ไม่เพียงแค่นั้น
เมืองสายบุรียังจัดพื้นที่ถนน ให้มีการตกแต่งสไตล์ Vin-
tage มีรถเก่า ผสมกับโคมสีสวยแบบจีน พร้อมสร้าง
กล่องตัวหนังสือคาว่า S A I B U R I ตัวขาวเด่น ดึงดูด
ความสนใจคนทุกเพศ ทุกวัย ให้เข้ามาถ่ายรูป ตะโกนคุย
กัน เซลฟี่อย่างสนุกสนาน
13 | FURD Cities Monitor February 2017
สัมพันธ์ผู้คนในเมืองสาย
ไม่เพียงแค่การปรับเปลี่ยนถนนให้เป็นพื้นที่
ของงาน ความน่าสนใจของงาน เตอลูแบ คือ การดึง
ความร่วมมือของผู้คนในเมืองได้อย่างสมดุล ก่อนจัด
งาน จะเห็นทั้งกลุ่มวัยรุ่น ผู้ใหญ่ และที่สาคัญมีกลุ่ม
เด็กนักเรียน เข้ามาช่วยแบกของ จัดโต๊ะ ตามกาลังที่
พวกเขาจะทาได้ เมื่อเข้าสู่งาน ผู้คนในงานมีความ
หลากหลายและหลายกลุ่ม ก่อนละหมาดเย็น (ฆับ
ริบ) จะเป็นคนกลุ่มหนึ่งเข้ามาในงาน หลังละหมาด
เย็น ก็จะคนอีกกลุ่มหนึ่ง สลับหมุนเวียนกันไป
นอกจากคนจีน คนมุสลิม ที่เข้ามาวิ่งเล่นในงานแล้ว
ยังได้เห็นความร่วมมือของคนเมืองสายบุรีเพิ่มอีกด้วย
อย่างกลุ่มผู้หญิงมุสลิมที่ทาอาหารให้กับทีมงาน และ
กลุ่มคนจีนที่นาขนมจากเข้าปิ้งแจกจ่ายให้กับคนใน
งานด้วย กลุ่มคนและความร่วมมือเช่นนี้จึงทาให้
บรรยากาศของงานเต็มไปด้วยความอบอุ่นและ
ความรู้สึกที่ดี
พื้นที่สาธารณะอย่างถนน ได้สร้างความรู้สึกที่
เปิดกว้าง ความรู้สึกที่เป็นสาธารณะ ดึงดูดผู้คนให้
รู้สึกผ่อนคลาย สบายใจ และกล้าที่มาเข้าร่วมงานได้
ไม่ต้องเคอะเขินใดๆ พื้นที่สาธารณะเช่นนี้ไม่ได้
เลือกกลุ่ม เลือกเชื้อชาติ เพราะเป็นที่พื้นที่ของทุกคน
จึงไม่แปลกเลยว่า งานในวันนั้นจึงเต็มไปด้วยกลุ่ม
มุสลิม คนจีน คนไทยพุทธ สลับกันไปตามท้องถนน
สายนั้น
FURD Cities Monitor February 2017 | 14
Waso Telubae
สัมผัสเมือง..สายบุรี
นี่รูปฉัน นี่รูปฉัน ! เสียงพูดคุยด้วยความ
ตื่นเต้น ของเหล่าคนเมืองสายบุรี เมื่อพวกเขาได้ลอง
เปิดหนังสือเล่มใหม่ ที่เต็มไปด้วยเรื่องราวของเมือง
สายบุรี อย่างหนังสือสัมผัสเมือง..สายบุรี (Waso
Telubae) ที่เปิดตัวอย่างเรียบง่ายครั้งแรกให้กับคน
สายบุรีจากนั้นเสียงพูดคุยก็ตามมาไม่หยุดหย่อนถึง
เรื่องราวและภาพถ่ายในหนังสือ
ภาพความตื่นเต้น ความยินดี ความสนใจ ที่มี
ต่อหนังสือ ของคนหนุ่ม ผู้ใหญ่ คุณป้ า อาม่า คุณลุง
ยิ่งทาให้งาน เตอลูแบ เต็มไปด้วยความตื่นเต้น ตื่นรู้
ใคร่สนใจในเรื่องราวของสายบุรี เพราะหนังสือเล่ม
ดังกล่าว คือ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต ของเมืองสาย
บุรี ที่บันทึกอย่างละเอียดพร้อมภาพถ่ายหายากของ
เมืองสายบุรี ถูกรวบรวมและจัดระบบอย่างสวยงาม
หนังสือเมืองสายบุรีเล่มนี้จึงไม่ใช่เป็นเพียงแค่ความรู้
แต่เป็นสื่อที่เก็บจิตวิญญาณที่สะท้อนความเป็นสาย
บุรีที่จับต้องได้ และจะกลายเป็นสื่อที่จะถ่ายทอดให้
ลูกหลานและคนนอกให้รู้จักสายบุรี
สายบุรี กับ Placemaking
ไม่ใช่เพียงแค่งานนี้ หากมองย้ อนดู
กระบวนการทางานของเมืองสายบุรีในช่วงที่ผ่านมา
ที่มีสายบุรีลูกเกอร์เป็นกลุ่มริเริ่มทางความคิดและ
ประสานภาคีต่างๆ ในพื้นที่ ได้มีกิจกรรมเกิดขึ้น
มากมาย เช่น ซื้อคืนและการปรับเปลี่ยนพื้นที่
คฤหาสน์พิพิธภักดีให้เป็นพื้นที่สาธารณะของคน
เมือง งาน “สัมผัสเมืองสาย” “จัดการเมืองสาย”
“Street Exhibit” “The เครา Night” ฯลฯ
จากการที่สายบุรีลูกเกอร์มีวิธีคิดที่ยึดโยงกับ
สาธารณะและสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมกับภาค
ส่วนต่างๆ ในเมืองจึงเท่ากับเป็ นการทา
Placemaking อันเป็ นหนทางที่นาไปสู่การสร้าง
ความภาคภูมิใจและสร้างสปิริตของเมืองสายบุรี
(The Spirits of Saiburi) ให้เกิดขึ้นในที่สุด
การพัฒนาเมืองที่เกิดขึ้นจากคนในเมืองที่มุ่ง
สร้างความสุขให้คนในเมือง จะทาให้เมืองมีชีวิตชีวา
มีเสน่ห์ และมีความน่าสนใจมากกว่าเมืองที่มุ่งแต่
พัฒนาและออกแบบเพื่อดึงดูดคนภายนอกหรือ
นักท่องเที่ยวให้เข้ามา เพราะมักละเลยความรู้สึกนึก
คิดของคนในเมือง จนทาให้เมืองขาดการมีส่วนร่วม
ไม่น่าอยู่ และไม่ยั่งยืน ในทางกลับกัน การพัฒนาที่
มุ่งให้ความสาคัญกับคนในเมืองนี่เอง จะเป็นเสน่ห์
ดึงดูดความสนใจจากนักท่องเที่ยวได้มากกว่าด้วย
การประยุกต์ Placemaking จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่
ช่วยสร้างคนเมืองให้กลายเป็นพลเมือง อันเป็นพลัง
ขับเคลื่อนการสร้างอนาคตของเมืองอย่างยั่งยืน
ต่อไป
15 | FURD Cities Monitor February 2017
จิตวิญญาณคนสายบุรี
Spirits of Saiburi
ณัฐธิดา เย็นบารุง เรียบเรียง
ความทรงจาของคนสายบุรี
โต๊ะอิหม่ามฮัดซัน
“ผมน่าจะเป็นคนจีน ปู่ของตาของผม มาจาก
เมืองจีน เป็นพ่อค้านานาชาติ นาสินค้าทุกอย่างมาขาย
ทั่วประเทศ พอถึงทะเล ตั้งมั่น ถ้าฉันไปทะเลทางไหน
จะขึ้นฝั่งไหน จะยึดศาสนาคนที่ฝั่งนั้น เลยมาขึ้นที่ทะเล
ปัตตานี ชาวบ้านไปบอกเจ้าเมือง เจ้าเมืองมาชุบเลี้ยง
ผมมีสายจีนครับ ผมภูมิใจในการเป็ นจีน เพราะ
อัลเลาะห์กาหนดให้ผมเป็นคนจีน
การเป็นอยู่ของคนสายบุรี ก็เหมือนทั่วไป มีเรื่อง
พิธีกรรม มุสลิมต้องไปมัสยิด คนอื่นก็ไปวัด ไปศาลเจ้า
ที่เหลือก็เหมือนกัน ศาสนาอิสลาม คือวิถีชีวิต
ครอบคลุมทุกด้านในการเป็นอยู่ของมนุษย์ มีพิธีกรรม
มีหลักการเมือง มีหลักเศรษฐกิจ มีหลักสังคม กฎหมาย
ข้อบังคับต่างๆ มุสลิมต้องทาดี เป็นคนเรียบร้อย มี
จิตใจบริสุทธิ์ต่อมนุษย์ อิสลามไม่มีคาว่ายิงและเผา
สู้กัน คาเหล่านี้ไม่มีในอิสลาม
คนหนุ่มคนสาว ทุกยุคสมัย ต้องมีความคิดที่
แหวกแนว ไม่เหมือนใคร โดยเฉพาะอิสลาม มุสลิมทุก
คนต้องเดินหน้า คิดไปเถิด ปฏิบัติด้วยพลังรัก ต้องสู้ จะ
นาความเจริญแก่พวกเราเอง”
FURD Cities Monitor February 2017 | 16
คุณแม่ของคุณอ๊อด
“รู้สึกดีใจ งานวันนี้ประสบความสาเร็จ ขอบคุณสาย
บุรีลูกเกอร์ ขอบคุณคนสายบุรี ที่มาร่วมกัน เป็ น
ความรู้ สึกดีใจ อยากให้มีงานแบบนี้อีกต่อไป
เหมือนกับว่ากระชับความสัมพันธ์เรา คนไทย อิสลาม
มีความสุข อบอุ่น แตกแยก เรารู้สึกกันหมด แม่ครัวที่
ทาอาหาร คือเรารู้จักกัน มีความรู้สึกร่วมกัน อบอุ่นใจ
มาก ขอให้ทุกคนมาร่วมกันจัดอีกต่อไป”
คุ ณ อั บ ฮ า ร์ ร อ ง ป ร ะ ธ า น ก ลุ่ ม
Saiburi Looker
“กรุงเทพมันวุ่นวาย เรากลับมาบ้านเห็นความสาคัญ
ของสายบุรี ประวัติศาสตร์ที่นี่เคยยิ่งใหญ่ สังคมบ้าน
เราเคยสงบสุข ผมอยากให้ลูกเติบโตในสังคมแบบนั้น”
โกไม้
“สายบุรี มีความเจริญ เป็นเมืองท่าเก่าแก่ คนสายบุรี
เป็นใหญ่เป็นโตเยอะ เราเป็นพหุวัฒนธรรม เชื้อชาติ
ไทย มลายู จีน อยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข เมื่อเมือง
เริ่มปิด เด็กรุ่นใหม่ มีบทบาททาให้สายบุรี ตื่นตัว
ขึ้นมา เห็นความสาคัญนี้เริ่มทางานจากน้าพักน้าแรง
ไม่ได้อาศัยส่วนราชการ พวกน้องๆ พี่ๆ ช่วยกัน
หนังสือเล่มนี้ไม่มีใครคิดว่าจะเกิดขึ้น ผมมองเห็นว่า
มีความตั้งใจ เป็นคนคิดของคนรุ่นใหม่ ต้องสานต่อไป
ผมขอชมเชย”
คุณอ๊อด ชาวจีนในสายบุรี
“ผมคิดถึงอดีต สมัยก่อนผมเรียนวัด ผมมีเพื่อนเป็น
มุสลิมเยอะมาก ผมไปกินข้าวบ้านเขาบ่อยๆ เราไม่มี
กาแพงอะไร พออยู่มาช่วงหนึ่ง เราไม่เข้าใจกัน เรามี
กาแพงที่มองไม่เห็นขึ้นมา อยากจะให้สายบุรีที่เหมือน
เมื่อก่อน เที่ยวได้ เล่นได้ เหมือนเดิม เราต้องทาอะไรสัก
อย่างให้ถนนเส้นนี้มีชีวิต สร้างความแตกต่างที่ไม่
แตกแยก วันนี้ประสบความสาเร็จนับหนึ่งแล้ว เริ่ม
ทลายกาแพงที่เรามีอยู่แล้ว”
17 | FURD Cities Monitor February 2017
สถาปัตยกรรมในชุมชนจีน
ในชุมชนชาวจีนของเมืองสายบุรี ส่วนใหญ่ที่อยู่
และค้าขายของชาวจีนฮกเกี้ยน อาคารส่วนใหญ่จะเป็น
ตึกแถวสองชั้น อาคารเหล่านี้ส่วนใหญ่มีอายุมากกว่าร้อย
ปี และเป็นสถาปัตยกรรมแบบจีนที่เป็นของคนจีนที่
อพยพจากเมืองจีนมายังพื้นที่แถบนี้โดยตรง ไม่ใช่
สถาปัตยกรรมจีนที่ถ่ายทอดมาจากคนจีนที่ไปตั้งรกราก
แถบอาณานิคมช่องแคบ (Strait Settlement) แถว
สิงคโปร์ ปีนัง มะลักกา ที่จะได้รับอิทธิพลจากอังกฤษมา
ผสม
ตึกแถวในสายบุรี โดยเฉพาะแถบชุมชนจีนมีทั้ง
ตึกไม้และตึกปูน ส่วนที่เป็นไม้ก็จะใช้ไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้
ตะเคียน ซึ่งเป็นวัสดุที่หาได้ง่ายในพื้นที่ ส่วนตึกปูน
สันนิษฐานว่าอาจนาปูนมาจากโรงปูนที่ปีนัง ซึ่งปูนใน
สมัยก่อนจะขนส่งผ่านทางเชื่อมทางบก (Land Bridge)
ขึ้นจากฝั่งตะวันตกของคาบสมุทรมลายู ข้ามมาที่สายบุรี
ซึ่งอยู่ฝั่งตะวันออก
Saiburi Local Architecture
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเมืองสายบุรี
เขียนและเรียบเรียง : ปาณัท ทองพ่วง
FURD Cities Monitor February 2017 | 18
ตึกแถวย่านชุมชนจีนของสายบุรีสร้างขึ้น
หลายยุคด้วยกัน มีทั้งบ้านเรือนที่สร้างโดยได้รับ
อิทธิพลจากบ้านเรือนแถบสิงคโปร์ยุคหลังจากที่มี
กฎหมาย “Raffles’ Law” บังคับใช้แล้ว ซึ่งเป็ น
กฎหมายที่กาหนดให้บ้านเรือนในสิงคโปร์ต้องสร้าง
ทางเชื่อม มีหลังคาคลุมต่อกันสาหรับเป็นทางเดิน
สาธารณะ ซึ่งอาจเป็นหลังคาโค้ง (Arch) และมีทั้ง
บ้านเรือนในยุคก่อนหน้านั้น ที่แม้มีชานเชื่อมออกมา
หน้าบ้าน แต่ก็เอาไว้ใช้ประโยชน์ส่วนตัว เช่น ขายของ
แต่ไม่ได้เพื่อเชื่อมเป็นทางเดินสาธารณะ
สถาปัตยกรรมอื่นๆ ในสายบุรี
อาคารสาคัญในสายบุรี อย่างคฤหาสน์พิพิธ
ภักดี นั้น หากมองในแง่การก่อสร้าง เป็นอาคารยุคที่มี
เทคโนโลยีการก่อสร้างแบบใช้วัสดุเป็นคอนกรีตเสริม
เหล็กแล้ว ถือเป็นอาคารยุคต้นสมัยใหม่ (early mod-
ern) แต่ยังคงมีรูปลักษณ์ที่สะท้อนเอกลักษณ์และวิถี
ชีวิตของท้องถิ่นอยู่ ไม่ได้เป็นสมัยใหม่ทั้งหมดแบบ
ตึกแถวที่พบในปัจจุบัน
ส่วนบ้านเรือนเก่าของชาวมุสลิมในสายบุรี
เป็นศิลปะแบบมลายูตรังกานู (สายบุรี ปัตตานี และ
ตรังกานู ถือเป็นเมืองมลายูที่ร่วมวัฒนธรรมกัน) แต่ก็
มีการพัฒนาต่อมาของพื้นที่เองด้วย เช่น มีการใช้
หลังคาจั่ว หลังคาลีมะฮ์ หลังคาบรานอ
ลักษณะเด่นอีกอย่างที่พบในเรือนมุสลิมของ
สายบุรีคือ ลายฉลุที่สวยงาม ที่พบมากเพราะเป็นสิ่งที่
ตอบโจทย์เรื่องการเป็นช่องลมระบายอากาศและช่อง
แสงแก่บ้านเรือน เนื่องจากภาคใต้ฝนตกชุก เรือน
มุสลิมจึงมีหน้าต่างน้อย เพื่อไม่ให้ฝนสาดเข้า ส่วนที่
นิยมฉลุช่องระบายอากาศให้เป็นลวดลายพรรณไม้
ดอกไม้ มากกว่าเป็นตะแกรงธรรมดา เพราะตามหลัก
อิสลาม ห้ามทารูปเหมือนคนและสัตว์
จุดเด่นของสายบุรีที่หาได้ยากยิ่งในที่อื่นๆ คือ
การมีต้นทุนทางสังคมที่เข้มแข็ง มีการผนึกกาลังของ
คนในชุมชนอย่างแข็งแกร่ง การที่กลุ่มมุสลีมะห์ รับ
บริจาคเงินคนสายบุรีเพื่อซื้อคฤหาสน์พิพิธภักดีมาเป็น
ของชุมชน เป็นตัวอย่างที่ดีของการใช้ต้นทุนทางสังคม
ในการรักษามรดกทางสถาปัตยกรรมและวัฒนธรรม
ของท้องถิ่นไว้ ซึ่งเป็นหน้าที่ของคนท้องถิ่นที่ต้อง
กาหนดทิศทางในการอนุรักษ์และพัฒนาบ้านเมือง
ของตนเอง
วิทยากร : เกรียงไกร เกิดศิริ
อาจารย์คณะสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร
ผู้ดาเนินรายการ : สุไลมาน เจ๊ะแม กลุ่มแว้งที่รัก
เมือง ย้อนคิด มุ่งสู่อนาคต
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง
ศ.ดร. อานันท์ กาญจนพันธุ์
เมืองขวางน้า
ศ. กิตติคุณ เดชา บุญค้า
ชุดหนังสือเมือง
เมืองนิยม
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
สัมผัสเมืองสายบุรี (Wasa Telubae)
ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ
หนังสือออกใหม่
สั่งซือได้ที่ ...
1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com
2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราชการ)
3) Facebook Page : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง Center for Megacity and City Studies
วิทยาลัยรัฐกิจ
มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริ ของ
ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุนจาก
ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความปรารถนาที่
ต้องการให้เป็นคลังปัญญาเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน โดยมีพันธกิจดังนี้
เพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน และ
จัดการความรู้ให้สามารถเชื่อมโยงสู่นโยบายสาธารณะเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ทั้งในระดับพื้นที่
และระดับประเทศ
ให้เกิดการเชื่อมประสานเครือข่ายภาคีพัฒนาเมืองทั้ง
ภายในและต่างประเทศ เพื่อสร้างความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนให้มี
ประสิทธิภาพ
ในการสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองสุขภาวะ
ที่ผ่านมา ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ
หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ ” และมีชื่อภาษาอังกฤษว่า “ ” โดย
การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หน้าที่หลักคือ สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่
ตอบสนองต่อการพัฒนาเมืองของไทย จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักคิดและผู้นาการพัฒนาเมือง และสร้างเครือข่าย
การพัฒนาเมือง นอกจากนี้ได้ริเริ่ม โดยมหาวิทยาลัยรังสิตมอบรางวัลเป็นประจาทุกปี เพื่อเชิดชูยกย่อง
ผู้นาหรือผู้สร้างบ้านแปงเมือง อันจะเป็นกาลังใจสร้างให้เกิดความภูมิใจและเป็นพลังสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนใน
อนาคตสืบไป
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
Website: www.furd-rsu.org
Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864

More Related Content

Viewers also liked

นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมาFURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก FURD_RSU
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015Klangpanya
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD_RSU
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ FURD_RSU
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือboomlonely
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะFURD_RSU
 
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลาผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลาFURD_RSU
 
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตFURD_RSU
 
เมิองสายบุรี การขยายตัวของเมืองและพื้นที่สีเขียว
เมิองสายบุรี การขยายตัวของเมืองและพื้นที่สีเขียวเมิองสายบุรี การขยายตัวของเมืองและพื้นที่สีเขียว
เมิองสายบุรี การขยายตัวของเมืองและพื้นที่สีเขียวFURD_RSU
 
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ FURD_RSU
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...FURD_RSU
 
จันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
จันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวจันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
จันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวFURD_RSU
 
แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
 แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม: แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:FURD_RSU
 
Overview of the ATA and Priorities in the Soils Program - Sam Gameda
Overview of the ATA and Priorities in the Soils Program - Sam GamedaOverview of the ATA and Priorities in the Soils Program - Sam Gameda
Overview of the ATA and Priorities in the Soils Program - Sam GamedaFAO
 
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวการศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวFURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาFURD_RSU
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1sirada nilbut
 

Viewers also liked (18)

นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือ
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
 
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลาผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
ผังเมืองกับการจัดการเมืองยะลา
 
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
 
เมิองสายบุรี การขยายตัวของเมืองและพื้นที่สีเขียว
เมิองสายบุรี การขยายตัวของเมืองและพื้นที่สีเขียวเมิองสายบุรี การขยายตัวของเมืองและพื้นที่สีเขียว
เมิองสายบุรี การขยายตัวของเมืองและพื้นที่สีเขียว
 
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
การอนุรักษ์มรดกเมือง : มุมมองด้านเศรษฐกิจ
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
 
จันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
จันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวจันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
จันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
 
แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
 แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม: แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
แนวทางการกำหนดนโยบายพัฒนาเมืองบนฐานของทุนทางสังคม:
 
Overview of the ATA and Priorities in the Soils Program - Sam Gameda
Overview of the ATA and Priorities in the Soils Program - Sam GamedaOverview of the ATA and Priorities in the Soils Program - Sam Gameda
Overview of the ATA and Priorities in the Soils Program - Sam Gameda
 
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวการศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
การศึกษาการขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

Similar to FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)

FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)FURD_RSU
 
BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...Singhanat Sangsehanat
 
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)FURD_RSU
 
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSmart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSarit Tiyawongsuwan
 
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSarit Tiyawongsuwan
 

Similar to FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017) (6)

FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
 
FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)
 
BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
 
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.6 (OCTOBER 2017)
 
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจSmart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
Smart city กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
 
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
 

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

FURD Cities Monitor Vol.2 (February 2017)

  • 1. What is Placemaking? อะไรคือแนวคิด Placemaking Infographic Placemaking นวัตกรรม เพื่อสุขภาวะคนเมือง สร้างสรรค์พื้นทีไปกับ เมืองสายบุรี ปี ที่ 1 ฉบับที่ 2 กุมภาพันธ์ 2560
  • 2. i | FURD Cities Monitor February 2017 บรรณาธิการ ยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้ช่วยบรรณาธิการ ณัฐธดา เย็นบารุง กองบรรณาธิการ ณัฐธิดา เย็นบารุง จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ออกแบบและรูปเล่ม ณัฐธิดา เย็นบารุง ภาพปก ปาณัท ทองพ่วง ภาพในเล่ม ปาณัท ทองพ่วง ณัฐธิดา เย็นบารุง ปาริชาติ อ่อนทิมวงค์ NAS Photographer เผยแพร่ ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 CONTACT US www.furd-rsu.org Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864 FURD Cities Monitor February 2017 | ii FURD Cities Monitor ฉบับปฐมฤกษ์ ได้รับการต้อนรับจากผู้สนใจเรื่องเมืองและผู้สร้างบ้านแปงเมืองเป็นอย่างดี ทาให้ทีมงานมีกาลังใจและแรงกระตุ้นในการจัดทา FURD Cities Monitor ฉบับต่อมา ทีมงานจึงตั้งใจ ค้นคว้า หาแนวคิด และเรื่องราวดีๆ ของเมืองทั้งในประเทศและต่างประเทศมาให้ผู้อ่านได้ติดตามกัน ในฉบับนี้FURD Cities Monitor จึงขอนาเสนอแนวคิดในการพัฒนาเมืองแบบ Placemaking หรือการปรับเปลี่ยน พื้นที่สาธารณะให้กลายเป็นพื้นที่ทาประโยชน์ให้กับคนเมือง ทาไมแนวคิดนี้ถึงน่าสนใจ พื้นที่สาธารณะเป็นสิ่งที่สาคัญ ใน การดึงการมีส่วนร่วมให้เข้ามาทากิจกรรม เป็นทั้งการผ่อนคลายและสร้างปฏิสัมพันธ์ให้เกิดขึ้นกับคนเมือง และที่สาคัญ ต้นทุนในการทา Placemaking นั้น ค่อนข้างถูกและมีประสิทธิภาพ ประเทศไทยใช่ว่าจะไม่เคยมีการทา Placemaking เรามีการทามานานรูปแบบต่างๆ แต่ก็ไม่ได้เรียก Placemaking ล่าสุดเมืองสายบุรี ได้เปลี่ยนพื้นที่ถนนในเมืองมาทากิจกรรม โดยใช้ชื่อว่า “เตอลูแบ This is my hometown” เพื่อถ่ายทอด จิตวิญาณของคนเมืองสายบุรี ทั้งในด้านสถาปัตยกรรม และเรื่องราวความสัมพันธ์อันดีงามระหว่างคนจีนและมุสลิมใน ชุมชนเมืองสายบุรี ติดตามเรื่องราวดีๆ ความรู้ดีๆ ของ Placemaking และเมืองสายบุรีได้ในฉบับนี้และขอขอบคุณทุกท่าน ที่ติดตามผลงาน ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ
  • 3. 1 | FURD Cities Monitor February 2017 PLACEMAKING OVERVIEW Placemaking คืออะไร เป็ นมา อย่างไร สืบเนื่องในช่วงทศวรรษ 1960 นักเคลื่อนไหวด้านการพัฒนาเมืองชาว อเมริกันชื่อ Jane Jacobs ได้ ผลักดัน แนวคิดเรื่อง Placemaking เธอพยายาม เสนอแนวคิดนอกกรอบในเรื่องการออกแบบ เมืองเพื่อคน ไม่ใช่เพื่อรถยนต์และ ศูนย์การค้า งานของเธอให้ความสาคัญไปที่ วัฒนธรรมและสังคมของผู้คนที่อาศัยอยู่ใน ละแวกเดียวกันให้อยู่ร่วมกันอย่างมีชีวิตชีวา และมีพื้นที่สาธารณะ (Public Spaces) ที่ ดึงดูดผู้คนให้เข้ามาใช้ประโยชน์ โดยเธอ เสนอแนวคิด “Eyes on the Street” ที่ พยายามกระตุ้นให้ชาวเมืองแสดงความเป็น เจ้าของท้องถนน ซึ่งได้รับการยอมรับเป็น อย่างมาก WHAT IS PLACEMAKING พื้นที่สาธารณะ (Public Spaces) นั้น ถือได้ว่าเป็นหัวใจสาคัญของหลายเรื่อง และอยู่ในความสนใจระดับโลก ตั้งแต่เรื่อง สุขภาพ ความยั่งยืน นวัตกรรม จนถึงความ เสมอภาค กล่าวคือ เมืองใดที่มีพื้นที่ สาธารณะมาก เมืองนั้นก็จะมีพื้นที่ที่สามารถ ทาให้เป็ นสวนสาธารณะเพื่อสร้างเสริม สุขภาพ ทาให้เป็นปอดของคนเมือง ทาเป็น สถานที่ที่ให้ทุกคนสามารถเข้ามาใช้ประโยชน์ เพื่อทากิจกรรมสร้างสรรค์ร่วมกันได้ ซึ่งการ สร้างสรรค์ ปรับเปลี่ยน และตกแต่งพื้นที่ที่มี จุดประสงค์เพื่อสร้างประโยชน์แก่สาธารณะ และมุ่งให้ผู้อยู่อาศัยในละแวกใกล้เคียงได้มา ใช้ประโยชน์และมีปฏิสัมพันธ์กันนี่เอง ที่เรา นิยมเรียกกันว่า Placemaking ? ยุวดี คาดการณ์ไกล เรียบเรียง FURD Cities Monitor February 2017 | 2 Placemaking เป็ นกระบวนการที่ เอื้อให้เกิดรูปแบบการใช้ประโยชน์อย่าง สร้างสรรค์ในหลากหลายรูปแบบ ให้ความ ใส่ใจเป็ นพิเศษกับ อัตลักษณ์ทางด้าน กายภาพ วัฒนธรรมและสังคม ที่เน้นการ ให้ความหมายกับสถานที่และเกื้อหนุนให้ สถานที่นั้นมีการพัฒนาและดาเนินต่อไปได้ ด้วยการสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนใน เมืองนั้น ซึ่งแนวคิดนี้กาลังเป็นแนวโน้ม ใหม่ที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายใน หมู่เครือข่ายการพัฒนาเมือง กระบวนการ ทา Placemaking ให้ได้ผลนั้น จะต้อง อาศัยแรงบันดาลใจและใช้ศักยภาพของ ชุมชนในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์ อันจะ ส่งผลให้เกิดการสร้างพื้นที่สาธารณะที่ ส่งเสริมสุขภาพ ความสุข และความเป็นอยู่ ที่ดีของประชาชน สนับสนุนภาคธุรกิจและ องค์กรในพื้นที่ รวมทั้งช่วยเผยแพร่ อัตลักษณ์ของพื้นที่ด้วย ที่ผ่านมาการจัดทา Placemaking ในหลายประเทศ ได้รับการพิสูจน์แล้วว่า มีผลดีต่อสุขภาพ สังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและการศึกษาเป็นอย่างมาก ทั้งนี้เราสามารถสรุปคุณลักษณะที่เป็น Placemaking และไม่ใช่ Placemaking ได้ ดังตารางที่ 1 ในปัจจุบัน พื้นที่สาธารณะที่มีอยู่ใน เมืองมักถูกนาไปสร้างเป็นห้างสรรพสินค้า หรือถูกออกแบบสิ่งก่อสร้างเพื่อดึงดูด นักท่องเที่ยว หารู้ไม่ว่าเมืองที่ออกแบบ พื้นที่สาธารณะเพื่อให้คนในเมืองได้ใช้ ประโยชน์และทากิจกรรมร่วมกันต่างหาก ที่ดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยวให้เข้า มาเที่ยวได้มากกว่า เพราะคนภายนอกจะ ให้ความสนใจในสิ่งที่เป็นอัตลักษณ์ วิถี ชีวิตดั้งเดิม สิ่งที่เป็นธรรมชาติมากกว่า วัฒนธรรมประดิษฐ์ ตารางที่ 1 แสดงคุณลักษณะที่เป็น Placemaking และไม่ใช่ Placemaking ที่มา PPS (Project for Public Spaces) ?
  • 4. 3 | FURD Cities Monitor February 2017 ที่มาภาพ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต FURD Cities Monitor February 2017 | 4 เรียบง่าย เร็ว ถูก แนวคิดบันดาลใจของ การทา Placemaking จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ แปลและเรียบเรียง พื้นที่สาธารณะที่ดีไม่ใช่ที่ที่ออกแบบซับซ้อน ไม่ใช่ โครงการขนาดใหญ่ใจกลางเมืองที่ต้องใช้เงินลงทุนมหาศาล ในความเป็นจริงแล้วพื้นที่สาธารณะที่ประสบความสาเร็จ อาจสร้างขึ้นมาอย่างเรียบง่าย ใช้ต้นทุนต่า และตั้งอยู่ใน สถานที่แปลกใหม่ซึ่งคาดไม่ถึง “ง่ายกว่า เร็วกว่า ถูกกว่า” (Lighter, Quicker, Cheaper : LQC) ได้กลายมาเป็นแนวคิดใหม่สาหรับการทา Placemaking ด้วยการปฏิวัติระบบการวางแผนและการ ดาเนินงานของโครงการพัฒนาพื้นที่สาธารณะซึ่งเคย ซับซ้อน ล่าช้า มีการตัดสินใจแบบ Top – Down และนา วิธีการที่ยืดหยุ่นต่อกฎระเบียบมาใช้แทน กระบวนการใหม่ที่ เกิดขึ้นจึงไม่ยึดติดกับวิธีการ แต่ให้ความสาคัญอย่างสูงต่อ เป้ าหมายที่มุ่งหวังให้คนในเมืองได้ใช้ประโยชน์จากพื้นที่ สาธารณะมากที่สุด เว็บไซต์ Project for Public Spaces ได้นาเสนอ ตัวอย่างโครงการ Placemaking ที่ใช้แนวคิด LQC ไว้ จานวน 5 โครงการ ซึ่งทั้งหมดล้วนเป็นผลสาเร็จที่พิสูจน์ให้ เห็นว่าของการบริหารจัดการพื้นที่อย่างไม่เป็นทางการซึ่งมี ความรวดเร็วและใช้ต้นทุนต่าสามารถสร้างการเปลี่ยนแปลง ในเชิงบวกในพื้นที่สาธารณะให้เกิดขึ้นตลอดทั้งยังกระตุ้นให้ เรื่องการศึกษา การเข้าถึงบริการสาธารณะ ความปลอดภัย บริการสาธารณสุขและการมีสุขภาวะกลายมาเป็นวาระ สาคัญของชุมชน
  • 5. 5 | FURD Cities Monitor February 2017 ในช่วงฤดูร้อนของทุกปีตั้งแต่ ค.ศ. 2011 เป็น ต้นมา ทั่วทั้งถนนคนเดินเส้นสั้นๆ ของเมืองอากุยดาจะ ถูกประดับประดาด้วยร่มหลากสีไว้แทนหลังคาสาหรับ ให้ร่มเงากับผู้คนที่เดินผ่านไปมา การนาร่มมาใช้ ประโยชน์ในลักษณะดังกล่าว นอกจากจะช่วยเพิ่ม สีสันและร่มเงาแล้ว ยังเปลี่ยนให้ถนนโล่งๆ กลายมา เป็นลานเอนกประสงค์ที่ดึงดูดให้คนในเมืองมาออก กาลังกายกลางแจ้ง และทากิจกรรมต่างๆ ร่วมกันมาก ขึ้น ปัจจุบัน โครงการนี้ประสบความสาเร็จและได้รับ การขยายผลไปสู่เมืองอื่นๆ ของโปรตุเกส และอีก หลายเมืองทั่วโลก Umbrella Sky Project เมืองอากุยดา โปรตุเกส3 Think Micro เมืองอิซเมียร์ ตุรกี1โครงการ Think Micro เริ่มต้นขึ้นใน ค.ศ. 2014 โดยการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย เศรษฐศาสตร์แห่งอิซเมียร์ (Izmir University of Economics) หัวใจสาคัญของโครงการนี้คือการ คิดนอกกรอบ จึงนามาสู่การริเริ่มสร้ าง สวนสาธารณะลอยน้าขนาดเล็กซึ่งมีลักษณะเป็น ท่าเทียบเรือที่ทามาจากวัสดุที่หาได้ทั่วไป มี น้าหนักเบา ง่ายต่อการประกอบ เพื่อเป็นทางเลือก ใหม่ที่ช่วยให้คนในเมืองได้ใช้ประโยชน์จากพื้นที่ ริมน้ามากขึ้น Intersection Repair เมืองพอร์ตแลนด์ ออริกอน สหรัฐอเมริกา 2 ปัจจุบัน พอร์ตแลนด์ได้ริเริ่มโครงการฟื้นฟู เมืองให้มีชีวิตชีวาด้วยการประสานความร่วมมือ ระหว่างชุมชนและอาสาสมัครในการสร้างสรรค์งาน ศิลปะตามเส้นทางจราจรของเมือง เช่น การวาด จิตรกรรมขนาดใหญ่บริเวณทางแยกถนน และการ เปลี่ยนวงเวียนกลับรถธรรมดาด้วยการตกแต่งให้ดู น่ารักขึ้น กระบวนการปรับปรุงพื้นที่นี้เป็นเสมือน สื่อกลางที่เชื้อเชิญให้คนทุกเพศทุกวัยเข้ามาใช้เวลา ช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์สร้างงานศิลปะร่วมกัน ซึ่ง ผลงานที่ออกมานอกจากจะสร้างความภาคภูมิใจ ให้แก่คนในชุมชนผู้เป็นเจ้าของแล้ว ยังช่วยเพิ่มสีสัน รวมทั้งสร้างความผ่อนคลายและความปลอดภัยให้แก่ ผู้สัญจรบนท้องถนนอีกด้วย FURD Cities Monitor February 2017 | 6 Jewell of Brunswick เมืองเมลเบิร์น ออสเตรเลีย สาหรับเมลเบิร์น LQC นับเป็นจุดเริ่มต้นที่ทา ให้ชุมชนและรัฐบาลท้องถิ่นหันมาร่วมมือกันพัฒนา เมืองอย่างจริงจัง ผลที่เป็นรูปธรรมก็คือโครงการ Jewell of Brunswick ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2014 โดย เริ่มจากการปิดลานจอดรถเป็นการชั่วคราวเพื่อ พัฒนาพื้นที่ลานกิจกรรม คนในชุมชนได้ร่วมกันสร้าง งานศิลปะ ทั้งการทาที่นั่งแบบ DIY การสร้างสรรค์ ศิลปะบนฝาผนังแบบ Street Art พร้อมวางแผนจัด กิจกรรม การแสดง ไปจนถึงการเวิร์คชอปต่างๆ จน พื้นที่ดังกล่าวได้กลายมาเป็นสถานที่นัดรวมตัวที่มีคน ทุกเพศทุกวัยหมุนเวียนเข้ามาตลอดเวลา กระทั่งสภา เทศบาลเมืองได้อนุมัติให้ลานจอดรถเดิมกลายเป็น พื้นที่เพื่อกิจกรรมสาธารณะถาวรในที่สุด Mmofra Place เมืองอักกรา กานา4เมืองอักกราเป็นตัวอย่างของการใช้แนวคิด LQC มาสร้างการประสานงานข้ามภาคส่วน สร้าง การเรียนรู้และการลองผิดลองถูกร่วมกันระหว่างคน ในชุมชน ผลงานที่เกิดคือ การปรับปรุงพื้นที่สีเขียว ของเมือง มี the Ghana-based Mmofra Founda- tion เป็นแกนนา โดยร่วมมือกับเครือข่ายสถาปนิก นักวางแผน วิศวกร ศิลปิน ผู้เชี่ยวชาญด้านท้องถิ่น ไปจนถึงผู้นาชุมชนและคนหนุ่มสาวในพื้นที่จัด ประชุมระดมสมองเพื่อกาหนดวิสัยทัศน์และ แผนปฏิบัติในการพัฒนาพื้นที่สาธารณะในเมืองให้ เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มี ความปลอดภัย และสามารถรองรับประชากรเด็ก ของเมืองที่เพิ่มขึ้นได้ 5 ไม่ว่ามากหรือน้อยเพียงใด โครงการ Placemaking ของทุกเมืองซึ่งใช้แนวคิด LQC ต่างก็ได้สร้างการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีให้เกิดขึ้นทั้งในแง่ประโยชน์ใช้สอยและการมีส่วน ร่วมของชุมชน ทั้งยังเป็นการพัฒนาที่เป็นแบบอย่างให้แก่เมืองอื่นๆ ได้เรียนรู้และนาไปต่อ ยอด ซึ่งศูนย์ศึกษามหานครและเมืองเห็นว่า LQC ถือเป็นความหวังใหม่ที่จะจุดประกาย ให้การทา Placemaking ในเมืองไทยเริ่มต้นได้ง่ายและแพร่หลายมากขึ้นอันจะนามาสู่ การเพิ่มจานวนพื้นที่สาธารณะที่ช่วยเสริมสร้างสุขภาวะทั้งด้านร่างกายและจิตใจให้แก่คน ไทยในทุกเมือง ท้ายที่สุด ตัวอย่างเหล่านี้เป็นบทเรียนที่แสดงให้เห็นชัดเจนแล้วว่า การ จัดการหรือการพัฒนาพื้นที่สาธารณะนั้น แม้จะใช้ทรัพยากรน้อย แต่ก็ประสบความสาเร็จ ได้ด้วยความคิดสร้างสรรค์และการร่วมแรงร่วมใจของประชาชนผู้เป็นเจ้าของเมือง REFERENCE: ภาพและเนื้อหา Project for Public Spaces. (2016). Light, Quick, and Cheap: 5 Place- making Projects That Inspire Us. ออนไลน์ https://www.pps.org/blog/ l i g h t - q u i c k - a n d - c h e a p - 5 - placemaking-projects-that-inspire- us/
  • 6. 7 | FURD Cities Monitor February 2017 อรุณ สถิตพงศ์สถาพร แปลและเรียบเรียง แม้การขยายตัวของเมืองจะทาให้คนเมืองเข้าถึง โรงพยาบาลดีๆ ที่มีเทคโนโลยี มีเครื่องมือที่ทันสมัย และมีแพทย์ เป็นจานวนมาก แต่สภาพแวดล้อมของเมืองหลายแห่งในปัจจุบัน กลับไม่เอื้อให้คนเมืองมีสุขภาพที่ดีได้เลย ไม่ว่าจะเป็นอาหารการ กินที่เต็มไปด้วยสารกันบูด ขาดความสดใหม่ สวนสาธารณะและ พื้นที่สีเขียวที่มีน้อยมาก ถนนหนทางที่เห็นรถยนต์สาคัญกว่าคน อีกทั้งสังคมคนเมืองที่เต็มไปด้วยความเห็นแก่ตัว แย่งกันกินแย่ง กันใช้ ขาดปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน สิ่งเหล่านี้ล้วนส่งผลเสียต่อทั้ง สุขภาวะทางกาย ทางใจ และทางปัญญา ด้วยเหตุนี้ศูนย์ศึกษา มหานครและเมืองจึงให้ความสาคัญกับการค้นหาแนวทางและ ประสบการณ์การใช้ Placemaking เพื่อนามาใช้พัฒนาเมืองไปสู่ สุขภาวะ ทาไมเมืองต้องมี Placemaking จากรายงานของ County Health Rankings ระบุว่า สุขภาพคนเราจะดีหรือแย่นั้นขึ้นอยู่กับการบริการสุขภาพที่เราใช้ เพียง 20% เท่านั้น ส่วนอีก 80% ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมการใช้ชีวิต (30%) สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม (40%) และ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (10%) นั่นหมายความว่า ปัจจัย จาพวกระดับการศึกษา งาน รายได้ การสนับสนุนทางสังคม ความปลอดภัยในชุมชน ที่อยู่อาศัย ระบบขนส่ง ตลอดจนการ รับประทานอาหารและการออกกาลังกาย มีผลต่อสุขภาพและ ความเป็นอยู่ของเรามากถึง 80% ดังที่ เมโลดี้กู๊ดแมน (Melody Goodman) อาจารย์จาก มหาวิทยาลัยวอชิงตัน เคยกล่าวไว้ว่า “รหัสไปรษณีย์ของบ้านที่ คุณอยู่ สามารถคาดการณ์สุขภาพของคุณได้ดีกว่ารหัสพันธุกรรม ของคุณเองเสียอีก” ยกตัวอย่างเช่น หากคุณอาศัยอยู่ในเขต ชุมชนที่มีรายได้ต่า ซึ่งมักจะไม่มีพื้นที่ให้คนเดินหรือออก กาลังกาย ไม่มีการดูแลรักษาทางเท้า สวนสาธารณะ ต้นไม้ และ แหล่งพักผ่อนหย่อนใจ รวมทั้งไม่มีซูเปอร์มาร์เก็ตและแหล่งขาย ผักผลไม้สดๆ สุขภาพของคุณก็อาจไม่ดีเท่าไรนัก ฉะนั้น หนทาง หนึ่งที่จะทาให้เรารับมือกับปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้และนาเมืองไปสู่ สุขภาวะได้คือ Placemaking นั่นเอง Placemaking ไม่มีคาจากัดความที่ชัดเจน กล่าวโดย กว้างๆ หมายถึง แนวคิดที่เกี่ยวกับการหยิบพื้นที่ว่างของชุมชนมา ออกแบบใหม่ เพื่อกระตุ้นพฤติกรรมที่ดีต่อสุขภาพ สร้างทุนทาง สังคม ส่งเสริมเศรษฐกิจท้องถิ่นให้เติบโต พัฒนาพื้นที่ให้มีความ ปลอดภัยมากขึ้น ลดอัตราการเกิดอาชญากรรม เสริมพลังการ รวมตัวของพลเมือง และลดการเกิดความไม่เท่าเทียมกันในด้าน สุขภาพ (Health Disparities) แนวทางการพัฒนาเมืองสู่สุขภาวะด้วย Placemaking ด้วยคากล่าวของเมโลดี้ที่นับวันดูเหมือนจะเป็นความจริง มากขึ้นเรื่อยๆ กอปรกับการค้นพบแนวคิด Placemaking อันเป็น หนทางที่ช่วยพัฒนาเมืองไปสู่สุขภาวะได้ ทาให้แนวทางการทา Placemaking กลายเป็นสิ่งสาคัญที่เราต้องให้ความสนใจและ ศึกษาเรียนรู้จากตัวอย่างที่เกิดขึ้นจริง เพื่อนามาสร้างสรรค์ โครงการดีๆ และลงทุนโครงสร้างพื้นฐานในเมืองตามแนวทางที่ เหมาะสมกับพื้นที่ของตน ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 5 แนวทาง ดังนี้ 1. เน้นการปฏิสัมพันธ์และการสนับสนุนทางสังคม หาก เมืองมีการสนับสนุนทางสังคมที่ดี จะช่วยสร้างความรู้สึกเป็นเจ้า ข้าวเจ้าของเมืองและสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตใจ 2. เน้นการละเล่นและนันทนาการแบบกระฉับกระเฉง กิจกรรมทางกายภาพจะช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคเรื้อรัง ทาให้คนเมืองมีสุขภาพที่ดีทั้งกายและใจ และมีอายุยืนยาวขึ้น FURD Cities Monitor February 2017 | 8 3. เน้นพื้นที่สีเขียวและสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ การเพิ่ม พื้นที่สีเขียวเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพมาก เพราะช่วย ให้คนอยากออกกาลังกายกันมากขึ้น ลดอัตราการเป็นโรคหัวใจ และเมแทบอลิก (Cardiometabolic Disease) สร้างทุนทางสังคม ลดการเกิดอาชญากรรม บรรเทาอาการซึมเศร้า ความเครียดและ ความวิตกกังวล ตลอดจนช่วยเพิ่มสมาธิและความจาด้วย 4. เน้นอาหารสุขภาพ การที่คนเมืองสามารถเข้าถึงและ จับจ่ายใช้สอยซื้อของสดของดีมีประโยชน์ต่อร่างกายได้ เป็นสิ่ง สาคัญที่ช่วยให้ชุมชนมีสุขภาวะที่ดีและลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรัง อีกทั้งยังช่วยสร้างโอกาสให้เกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สร้าง สังคมผู้ประกอบการในท้องถิ่น สร้างความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม สร้างความผูกพันในชุมชน และสร้างการเรียนรู้ด้านโภชนาการ (Nutrition-Based Education) 5. เน้นการเดินและการปั่นจักรยาน การมุ่งทาให้คนเมือง เดินทางเท้าได้ง่ายและสะดวก ส่งผลให้ท้องถนนมีความปลอดภัย มากขึ้น โรคเรื้อรังเกิดขึ้นน้อยลง มลพิษทางอากาศน้อยลง ธุรกิจ ริมทางเท้าเติบโตขึ้น ความสามารถในการรู้คิด (Cognitive Func- tion) พัฒนาขึ้น รวมทั้งคนเมืองก็ได้ขยับตัวเคลื่อนไหวกันมากขึ้น ด้วย นวัตกรรม Placemaking ดูเหมือนจะเป็นเครื่องมือที่ทาได้ ง่าย มีตุ้นทุนต่า เห็นผลได้ทันที หากแต่จะประสบความสาเร็จและ มีความยั่งยืนได้ ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจของคนในเมืองที่ ไม่ได้เกิดจากการถูกบังคับ แต่ต้องเกิดจากใจที่รู้สึกเป็นเจ้าของ เมือง อยากจะเข้าร่วม อยากจะลงมือทา อยากจะพัฒนาเมืองใน แนวทางของตัวเอง Placemaking จึงจะเกิดขึ้น และกลายเป็น ความภาคภูมิใจที่สะท้อนตัวตนของเมืองขึ้นมาได้ นอกจากนี้เมื่อ Placemaking สามารถดึงผู้คนให้มารวมตัวกัน จนเกิดเป็นพื้นที่ สาธารณะหรือกิจกรรมที่สนับสนุนการเคลื่อนไหวขึ้นมาได้แล้ว สุขภาวะของเมืองก็จะเป็นผลที่ตามมา REFERENCE: ภาพและเนื้อหา Amanda Li , 2017. “Placemaking Our Way to Healthier Communities and Better Lives.” DASH-NY. Retrieved from http://promotingprevention.org/placemaking-our- way-to-healthier-communities-and-better-lives Project for Public Spaces, 2016. “The Case for Healthy Places : Improving Health through Placemaking.” Retrieved from https://www.pps.org/wp-content/ uploads/2016/12/Healthy-Places-PPS.pdf University of Wisconsin Population Health Institute, 2003. County Health Rankings & Roadmaps. University of Wisconsin Population Health Institute. Accessed Janu- ary 2016. Retrieved from http://www.countyhealthrankings.org/our-approach
  • 7. FURD INFOGRAPHIC : FEBRUARY 2017
  • 8. 11 | FURD Cities Monitor February 2017 เตอลูแบ This is my hometown เปลี่ยนถนนให้มีชีวิต สานสัมพันธ์คนจีน-มุสลิม ในสายบุรี ณัฐธิดา เย็นบารุง เขียน FURD Cities Monitor February 2017 | 12 ผ่านพ้นไปแล้ว กับงาน เตอลูแบ This is my hometown งานดีๆ ที่เกิดขึ้นในเมืองสายบุรี จังหวัด ปัตตานี ผ่านความร่วมมือของกลุ่มคนจีนในเมืองสายบุรี อย่างกลุ่มศาลเจ้าเล่าเอี๊ยะกง และกลุ่มมุสลิม นาทีมโดย กลุ่ม Saiburi Looker ถนนที่มีชีวิต งาน เตอลูแบ สร้างความพิเศษ คือการสร้าง Placemaking ให้เกิดขึ้นในเมือง หรือการปรับเปลี่ยนพื้น ถนนธรรมดา ที่เป็นเพียงถนนคนจีนอันเป็นที่ตั้งของ สถาปัตยกรรมเรือนแถวจีนเก่า ที่ส่วนใหญ่มักถูกปิด ถนนแห่งนี้จึงเป็นเพียงถนนที่เงียบเหงาถนนหนึ่งในสาย บุรี แต่ในวันนี้ถนนนี้ได้กลายเป็นถนนที่มีชีวิต เป็นพื้นที่ จัดงาน มีเวที มีงานนิทรรศการสถาปัตยกรรมและ เรื่องราวประวัติศาสตร์ของเมืองสายบุรี ไม่เพียงแค่นั้น เมืองสายบุรียังจัดพื้นที่ถนน ให้มีการตกแต่งสไตล์ Vin- tage มีรถเก่า ผสมกับโคมสีสวยแบบจีน พร้อมสร้าง กล่องตัวหนังสือคาว่า S A I B U R I ตัวขาวเด่น ดึงดูด ความสนใจคนทุกเพศ ทุกวัย ให้เข้ามาถ่ายรูป ตะโกนคุย กัน เซลฟี่อย่างสนุกสนาน
  • 9. 13 | FURD Cities Monitor February 2017 สัมพันธ์ผู้คนในเมืองสาย ไม่เพียงแค่การปรับเปลี่ยนถนนให้เป็นพื้นที่ ของงาน ความน่าสนใจของงาน เตอลูแบ คือ การดึง ความร่วมมือของผู้คนในเมืองได้อย่างสมดุล ก่อนจัด งาน จะเห็นทั้งกลุ่มวัยรุ่น ผู้ใหญ่ และที่สาคัญมีกลุ่ม เด็กนักเรียน เข้ามาช่วยแบกของ จัดโต๊ะ ตามกาลังที่ พวกเขาจะทาได้ เมื่อเข้าสู่งาน ผู้คนในงานมีความ หลากหลายและหลายกลุ่ม ก่อนละหมาดเย็น (ฆับ ริบ) จะเป็นคนกลุ่มหนึ่งเข้ามาในงาน หลังละหมาด เย็น ก็จะคนอีกกลุ่มหนึ่ง สลับหมุนเวียนกันไป นอกจากคนจีน คนมุสลิม ที่เข้ามาวิ่งเล่นในงานแล้ว ยังได้เห็นความร่วมมือของคนเมืองสายบุรีเพิ่มอีกด้วย อย่างกลุ่มผู้หญิงมุสลิมที่ทาอาหารให้กับทีมงาน และ กลุ่มคนจีนที่นาขนมจากเข้าปิ้งแจกจ่ายให้กับคนใน งานด้วย กลุ่มคนและความร่วมมือเช่นนี้จึงทาให้ บรรยากาศของงานเต็มไปด้วยความอบอุ่นและ ความรู้สึกที่ดี พื้นที่สาธารณะอย่างถนน ได้สร้างความรู้สึกที่ เปิดกว้าง ความรู้สึกที่เป็นสาธารณะ ดึงดูดผู้คนให้ รู้สึกผ่อนคลาย สบายใจ และกล้าที่มาเข้าร่วมงานได้ ไม่ต้องเคอะเขินใดๆ พื้นที่สาธารณะเช่นนี้ไม่ได้ เลือกกลุ่ม เลือกเชื้อชาติ เพราะเป็นที่พื้นที่ของทุกคน จึงไม่แปลกเลยว่า งานในวันนั้นจึงเต็มไปด้วยกลุ่ม มุสลิม คนจีน คนไทยพุทธ สลับกันไปตามท้องถนน สายนั้น FURD Cities Monitor February 2017 | 14 Waso Telubae สัมผัสเมือง..สายบุรี นี่รูปฉัน นี่รูปฉัน ! เสียงพูดคุยด้วยความ ตื่นเต้น ของเหล่าคนเมืองสายบุรี เมื่อพวกเขาได้ลอง เปิดหนังสือเล่มใหม่ ที่เต็มไปด้วยเรื่องราวของเมือง สายบุรี อย่างหนังสือสัมผัสเมือง..สายบุรี (Waso Telubae) ที่เปิดตัวอย่างเรียบง่ายครั้งแรกให้กับคน สายบุรีจากนั้นเสียงพูดคุยก็ตามมาไม่หยุดหย่อนถึง เรื่องราวและภาพถ่ายในหนังสือ ภาพความตื่นเต้น ความยินดี ความสนใจ ที่มี ต่อหนังสือ ของคนหนุ่ม ผู้ใหญ่ คุณป้ า อาม่า คุณลุง ยิ่งทาให้งาน เตอลูแบ เต็มไปด้วยความตื่นเต้น ตื่นรู้ ใคร่สนใจในเรื่องราวของสายบุรี เพราะหนังสือเล่ม ดังกล่าว คือ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต ของเมืองสาย บุรี ที่บันทึกอย่างละเอียดพร้อมภาพถ่ายหายากของ เมืองสายบุรี ถูกรวบรวมและจัดระบบอย่างสวยงาม หนังสือเมืองสายบุรีเล่มนี้จึงไม่ใช่เป็นเพียงแค่ความรู้ แต่เป็นสื่อที่เก็บจิตวิญญาณที่สะท้อนความเป็นสาย บุรีที่จับต้องได้ และจะกลายเป็นสื่อที่จะถ่ายทอดให้ ลูกหลานและคนนอกให้รู้จักสายบุรี สายบุรี กับ Placemaking ไม่ใช่เพียงแค่งานนี้ หากมองย้ อนดู กระบวนการทางานของเมืองสายบุรีในช่วงที่ผ่านมา ที่มีสายบุรีลูกเกอร์เป็นกลุ่มริเริ่มทางความคิดและ ประสานภาคีต่างๆ ในพื้นที่ ได้มีกิจกรรมเกิดขึ้น มากมาย เช่น ซื้อคืนและการปรับเปลี่ยนพื้นที่ คฤหาสน์พิพิธภักดีให้เป็นพื้นที่สาธารณะของคน เมือง งาน “สัมผัสเมืองสาย” “จัดการเมืองสาย” “Street Exhibit” “The เครา Night” ฯลฯ จากการที่สายบุรีลูกเกอร์มีวิธีคิดที่ยึดโยงกับ สาธารณะและสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมกับภาค ส่วนต่างๆ ในเมืองจึงเท่ากับเป็ นการทา Placemaking อันเป็ นหนทางที่นาไปสู่การสร้าง ความภาคภูมิใจและสร้างสปิริตของเมืองสายบุรี (The Spirits of Saiburi) ให้เกิดขึ้นในที่สุด การพัฒนาเมืองที่เกิดขึ้นจากคนในเมืองที่มุ่ง สร้างความสุขให้คนในเมือง จะทาให้เมืองมีชีวิตชีวา มีเสน่ห์ และมีความน่าสนใจมากกว่าเมืองที่มุ่งแต่ พัฒนาและออกแบบเพื่อดึงดูดคนภายนอกหรือ นักท่องเที่ยวให้เข้ามา เพราะมักละเลยความรู้สึกนึก คิดของคนในเมือง จนทาให้เมืองขาดการมีส่วนร่วม ไม่น่าอยู่ และไม่ยั่งยืน ในทางกลับกัน การพัฒนาที่ มุ่งให้ความสาคัญกับคนในเมืองนี่เอง จะเป็นเสน่ห์ ดึงดูดความสนใจจากนักท่องเที่ยวได้มากกว่าด้วย การประยุกต์ Placemaking จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่ ช่วยสร้างคนเมืองให้กลายเป็นพลเมือง อันเป็นพลัง ขับเคลื่อนการสร้างอนาคตของเมืองอย่างยั่งยืน ต่อไป
  • 10. 15 | FURD Cities Monitor February 2017 จิตวิญญาณคนสายบุรี Spirits of Saiburi ณัฐธิดา เย็นบารุง เรียบเรียง ความทรงจาของคนสายบุรี โต๊ะอิหม่ามฮัดซัน “ผมน่าจะเป็นคนจีน ปู่ของตาของผม มาจาก เมืองจีน เป็นพ่อค้านานาชาติ นาสินค้าทุกอย่างมาขาย ทั่วประเทศ พอถึงทะเล ตั้งมั่น ถ้าฉันไปทะเลทางไหน จะขึ้นฝั่งไหน จะยึดศาสนาคนที่ฝั่งนั้น เลยมาขึ้นที่ทะเล ปัตตานี ชาวบ้านไปบอกเจ้าเมือง เจ้าเมืองมาชุบเลี้ยง ผมมีสายจีนครับ ผมภูมิใจในการเป็ นจีน เพราะ อัลเลาะห์กาหนดให้ผมเป็นคนจีน การเป็นอยู่ของคนสายบุรี ก็เหมือนทั่วไป มีเรื่อง พิธีกรรม มุสลิมต้องไปมัสยิด คนอื่นก็ไปวัด ไปศาลเจ้า ที่เหลือก็เหมือนกัน ศาสนาอิสลาม คือวิถีชีวิต ครอบคลุมทุกด้านในการเป็นอยู่ของมนุษย์ มีพิธีกรรม มีหลักการเมือง มีหลักเศรษฐกิจ มีหลักสังคม กฎหมาย ข้อบังคับต่างๆ มุสลิมต้องทาดี เป็นคนเรียบร้อย มี จิตใจบริสุทธิ์ต่อมนุษย์ อิสลามไม่มีคาว่ายิงและเผา สู้กัน คาเหล่านี้ไม่มีในอิสลาม คนหนุ่มคนสาว ทุกยุคสมัย ต้องมีความคิดที่ แหวกแนว ไม่เหมือนใคร โดยเฉพาะอิสลาม มุสลิมทุก คนต้องเดินหน้า คิดไปเถิด ปฏิบัติด้วยพลังรัก ต้องสู้ จะ นาความเจริญแก่พวกเราเอง” FURD Cities Monitor February 2017 | 16 คุณแม่ของคุณอ๊อด “รู้สึกดีใจ งานวันนี้ประสบความสาเร็จ ขอบคุณสาย บุรีลูกเกอร์ ขอบคุณคนสายบุรี ที่มาร่วมกัน เป็ น ความรู้ สึกดีใจ อยากให้มีงานแบบนี้อีกต่อไป เหมือนกับว่ากระชับความสัมพันธ์เรา คนไทย อิสลาม มีความสุข อบอุ่น แตกแยก เรารู้สึกกันหมด แม่ครัวที่ ทาอาหาร คือเรารู้จักกัน มีความรู้สึกร่วมกัน อบอุ่นใจ มาก ขอให้ทุกคนมาร่วมกันจัดอีกต่อไป” คุ ณ อั บ ฮ า ร์ ร อ ง ป ร ะ ธ า น ก ลุ่ ม Saiburi Looker “กรุงเทพมันวุ่นวาย เรากลับมาบ้านเห็นความสาคัญ ของสายบุรี ประวัติศาสตร์ที่นี่เคยยิ่งใหญ่ สังคมบ้าน เราเคยสงบสุข ผมอยากให้ลูกเติบโตในสังคมแบบนั้น” โกไม้ “สายบุรี มีความเจริญ เป็นเมืองท่าเก่าแก่ คนสายบุรี เป็นใหญ่เป็นโตเยอะ เราเป็นพหุวัฒนธรรม เชื้อชาติ ไทย มลายู จีน อยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข เมื่อเมือง เริ่มปิด เด็กรุ่นใหม่ มีบทบาททาให้สายบุรี ตื่นตัว ขึ้นมา เห็นความสาคัญนี้เริ่มทางานจากน้าพักน้าแรง ไม่ได้อาศัยส่วนราชการ พวกน้องๆ พี่ๆ ช่วยกัน หนังสือเล่มนี้ไม่มีใครคิดว่าจะเกิดขึ้น ผมมองเห็นว่า มีความตั้งใจ เป็นคนคิดของคนรุ่นใหม่ ต้องสานต่อไป ผมขอชมเชย” คุณอ๊อด ชาวจีนในสายบุรี “ผมคิดถึงอดีต สมัยก่อนผมเรียนวัด ผมมีเพื่อนเป็น มุสลิมเยอะมาก ผมไปกินข้าวบ้านเขาบ่อยๆ เราไม่มี กาแพงอะไร พออยู่มาช่วงหนึ่ง เราไม่เข้าใจกัน เรามี กาแพงที่มองไม่เห็นขึ้นมา อยากจะให้สายบุรีที่เหมือน เมื่อก่อน เที่ยวได้ เล่นได้ เหมือนเดิม เราต้องทาอะไรสัก อย่างให้ถนนเส้นนี้มีชีวิต สร้างความแตกต่างที่ไม่ แตกแยก วันนี้ประสบความสาเร็จนับหนึ่งแล้ว เริ่ม ทลายกาแพงที่เรามีอยู่แล้ว”
  • 11. 17 | FURD Cities Monitor February 2017 สถาปัตยกรรมในชุมชนจีน ในชุมชนชาวจีนของเมืองสายบุรี ส่วนใหญ่ที่อยู่ และค้าขายของชาวจีนฮกเกี้ยน อาคารส่วนใหญ่จะเป็น ตึกแถวสองชั้น อาคารเหล่านี้ส่วนใหญ่มีอายุมากกว่าร้อย ปี และเป็นสถาปัตยกรรมแบบจีนที่เป็นของคนจีนที่ อพยพจากเมืองจีนมายังพื้นที่แถบนี้โดยตรง ไม่ใช่ สถาปัตยกรรมจีนที่ถ่ายทอดมาจากคนจีนที่ไปตั้งรกราก แถบอาณานิคมช่องแคบ (Strait Settlement) แถว สิงคโปร์ ปีนัง มะลักกา ที่จะได้รับอิทธิพลจากอังกฤษมา ผสม ตึกแถวในสายบุรี โดยเฉพาะแถบชุมชนจีนมีทั้ง ตึกไม้และตึกปูน ส่วนที่เป็นไม้ก็จะใช้ไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้ ตะเคียน ซึ่งเป็นวัสดุที่หาได้ง่ายในพื้นที่ ส่วนตึกปูน สันนิษฐานว่าอาจนาปูนมาจากโรงปูนที่ปีนัง ซึ่งปูนใน สมัยก่อนจะขนส่งผ่านทางเชื่อมทางบก (Land Bridge) ขึ้นจากฝั่งตะวันตกของคาบสมุทรมลายู ข้ามมาที่สายบุรี ซึ่งอยู่ฝั่งตะวันออก Saiburi Local Architecture สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเมืองสายบุรี เขียนและเรียบเรียง : ปาณัท ทองพ่วง FURD Cities Monitor February 2017 | 18 ตึกแถวย่านชุมชนจีนของสายบุรีสร้างขึ้น หลายยุคด้วยกัน มีทั้งบ้านเรือนที่สร้างโดยได้รับ อิทธิพลจากบ้านเรือนแถบสิงคโปร์ยุคหลังจากที่มี กฎหมาย “Raffles’ Law” บังคับใช้แล้ว ซึ่งเป็ น กฎหมายที่กาหนดให้บ้านเรือนในสิงคโปร์ต้องสร้าง ทางเชื่อม มีหลังคาคลุมต่อกันสาหรับเป็นทางเดิน สาธารณะ ซึ่งอาจเป็นหลังคาโค้ง (Arch) และมีทั้ง บ้านเรือนในยุคก่อนหน้านั้น ที่แม้มีชานเชื่อมออกมา หน้าบ้าน แต่ก็เอาไว้ใช้ประโยชน์ส่วนตัว เช่น ขายของ แต่ไม่ได้เพื่อเชื่อมเป็นทางเดินสาธารณะ สถาปัตยกรรมอื่นๆ ในสายบุรี อาคารสาคัญในสายบุรี อย่างคฤหาสน์พิพิธ ภักดี นั้น หากมองในแง่การก่อสร้าง เป็นอาคารยุคที่มี เทคโนโลยีการก่อสร้างแบบใช้วัสดุเป็นคอนกรีตเสริม เหล็กแล้ว ถือเป็นอาคารยุคต้นสมัยใหม่ (early mod- ern) แต่ยังคงมีรูปลักษณ์ที่สะท้อนเอกลักษณ์และวิถี ชีวิตของท้องถิ่นอยู่ ไม่ได้เป็นสมัยใหม่ทั้งหมดแบบ ตึกแถวที่พบในปัจจุบัน ส่วนบ้านเรือนเก่าของชาวมุสลิมในสายบุรี เป็นศิลปะแบบมลายูตรังกานู (สายบุรี ปัตตานี และ ตรังกานู ถือเป็นเมืองมลายูที่ร่วมวัฒนธรรมกัน) แต่ก็ มีการพัฒนาต่อมาของพื้นที่เองด้วย เช่น มีการใช้ หลังคาจั่ว หลังคาลีมะฮ์ หลังคาบรานอ ลักษณะเด่นอีกอย่างที่พบในเรือนมุสลิมของ สายบุรีคือ ลายฉลุที่สวยงาม ที่พบมากเพราะเป็นสิ่งที่ ตอบโจทย์เรื่องการเป็นช่องลมระบายอากาศและช่อง แสงแก่บ้านเรือน เนื่องจากภาคใต้ฝนตกชุก เรือน มุสลิมจึงมีหน้าต่างน้อย เพื่อไม่ให้ฝนสาดเข้า ส่วนที่ นิยมฉลุช่องระบายอากาศให้เป็นลวดลายพรรณไม้ ดอกไม้ มากกว่าเป็นตะแกรงธรรมดา เพราะตามหลัก อิสลาม ห้ามทารูปเหมือนคนและสัตว์ จุดเด่นของสายบุรีที่หาได้ยากยิ่งในที่อื่นๆ คือ การมีต้นทุนทางสังคมที่เข้มแข็ง มีการผนึกกาลังของ คนในชุมชนอย่างแข็งแกร่ง การที่กลุ่มมุสลีมะห์ รับ บริจาคเงินคนสายบุรีเพื่อซื้อคฤหาสน์พิพิธภักดีมาเป็น ของชุมชน เป็นตัวอย่างที่ดีของการใช้ต้นทุนทางสังคม ในการรักษามรดกทางสถาปัตยกรรมและวัฒนธรรม ของท้องถิ่นไว้ ซึ่งเป็นหน้าที่ของคนท้องถิ่นที่ต้อง กาหนดทิศทางในการอนุรักษ์และพัฒนาบ้านเมือง ของตนเอง วิทยากร : เกรียงไกร เกิดศิริ อาจารย์คณะสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ดาเนินรายการ : สุไลมาน เจ๊ะแม กลุ่มแว้งที่รัก
  • 12. เมือง ย้อนคิด มุ่งสู่อนาคต ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง ศ.ดร. อานันท์ กาญจนพันธุ์ เมืองขวางน้า ศ. กิตติคุณ เดชา บุญค้า ชุดหนังสือเมือง เมืองนิยม ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ สัมผัสเมืองสายบุรี (Wasa Telubae) ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ หนังสือออกใหม่ สั่งซือได้ที่ ... 1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com 2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราชการ) 3) Facebook Page : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง Center for Megacity and City Studies วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริ ของ ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุนจาก ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความปรารถนาที่ ต้องการให้เป็นคลังปัญญาเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน โดยมีพันธกิจดังนี้ เพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน และ จัดการความรู้ให้สามารถเชื่อมโยงสู่นโยบายสาธารณะเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ทั้งในระดับพื้นที่ และระดับประเทศ ให้เกิดการเชื่อมประสานเครือข่ายภาคีพัฒนาเมืองทั้ง ภายในและต่างประเทศ เพื่อสร้างความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนให้มี ประสิทธิภาพ ในการสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองสุขภาวะ ที่ผ่านมา ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ ” และมีชื่อภาษาอังกฤษว่า “ ” โดย การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หน้าที่หลักคือ สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่ ตอบสนองต่อการพัฒนาเมืองของไทย จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักคิดและผู้นาการพัฒนาเมือง และสร้างเครือข่าย การพัฒนาเมือง นอกจากนี้ได้ริเริ่ม โดยมหาวิทยาลัยรังสิตมอบรางวัลเป็นประจาทุกปี เพื่อเชิดชูยกย่อง ผู้นาหรือผู้สร้างบ้านแปงเมือง อันจะเป็นกาลังใจสร้างให้เกิดความภูมิใจและเป็นพลังสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนใน อนาคตสืบไป
  • 13. ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 Website: www.furd-rsu.org Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864