SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
การเขียนเนื้อเพลง
อาจารย์ ดร.ชนกพร พัวพัฒนกุล
คุณประพฤติ ปาลสาร
หัวข้อการเรียนรู้
1. สัมผัส
2. จังหวะ วรรค จํานวนคํา
3. ทํานอง > เสียงวรรณยุกต์กับโน้ต
4. อารมณ์เพลง
5. โครงสร้างเพลง
6. การเล่าเรื่อง มุมมอง ตัวละคร และการดําเนินเรื่อง
7. ภาษาเพลง
กิจกรรมที่ 1 สัมผัส
สัมผัสในการเขียนเพลง หมายถึง สัมผัสนอก 

(เสียงสระ+พยัญชนะท้าย) ที่อยู่ระหว่างวรรคเป็นสําคัญ
ส่วนสัมผัสใน ไม่ได้บังคับ แต่ช่วยให้เพลงไพเราะขึ้น
ลองนึกคําที่ออกเสียง สระ เอ คนละ 1 คํา แล้วช่วยกันแต่ง เรื่อง
ให้ทุกประโยคลงท้ายด้วยคํา สระ เอ ที่เลือกไว้ (ใช้ทุกคํา)
ระวัง! 1) เสียงสั้น-ยาว 2) เสียงพยัญชนะท้ายไม่ตรงกัน
หนังสือแนะนํา - “คําสัมผัส” ของ ชัยรัตน์ วงศ์เกียรติขจร
กิจกรรมที่ 2 ตําแหน่งของสัมผัส (ฉันทลักษณ์)
แม่ร้องเรียกลูกน้อยมากิน...
แล้วสั่ง ... ให้รีบมากิน ...
เรียกอยู่นานไม่มีใคร ...
จึงร้อง ...! เทข้าวให้หมาเอย
แม่ร้องเรียกลูกน้อยมากิน...
แล้วหันไปเรียกพ่อมากิน...
เรียกอยู่นานไม่มีใครคิด ...
จึงร้อง ...! เทข้าวให้หมาเอย
สัมผัสแบบกลอนไทย
สัมผัสแบบกลอนฝรั่ง
สัมผัสแบบเพลงพื้นบ้าน
(กลอนหัวเดียว)
ระวัง! อย่าใช้คําสัมผัสซํ้า
ตัวอย่าง 1 - รักน้อง (เนื้อร้อง-ทํานอง: จิ้น กรรมาชน)
เจ ้านกน้อยล่องลอยโผบิน
จากแผ่นดินทะเลสีคราม
ความเหงาเอยเหมือนคอยเหยียบยํ=า
ให ้ทรมา
ฝ่ าลมแรงด ้วยแรงท ้าทาย
สู่จุดหมายที=ไกลลิบตา
เพียงพบเธอทุกวันเห็นหน้า
อิ=มเอิบดวงมาลย์
ดอกไม ้แย ้มกลีบ
บานแล ้วในใจฉัน
จงหอมชั=วนิรันดร์
มิเลยล่วงผ่านจากใจเราผอง
จงมอบความรักด ้วยใจภักดี
มอบชีวีให ้เธอคุ้มครอง
ความหวังดี จงมาปกป้อง
ทัMงตื=นและฝัน
ตัวอย่าง 2 - ไม่เคย (25hours)
(คําร้อง: ปิยวัฒน์ มีเครือ ทํานอง: สมพล รุ่งพานิชย์)
ฉันไม่เคยรู้ คนที่สำคัญ นั้นมีค่าแค่ไหน
ฉันไม่เคยรู้ วันที่สวยงาม นั้นมีค่าเท่าไร
ไม่เคยรู้เวลาที่เรามีกัน นั้นดีเท่าไร
ไม่เคยรู้ว่าความคิดถึงมันทรมานแค่ไหน
ไม่เคย ไม่เคย ไม่เคย
เราจะคิดถึง คนที่สำคัญ เมื่อต้องจากกันไป
เราจะคิดถึง วันที่สวยงาม เมื่อเวลาผ่านไป
จะคิดถึงเวลาที่เรามีกัน เมื่อเธอต้องไป
และตอนนี้รู้ไหม ว่าฉันคิดถึงเธอมากแค่ไหน
ไม่เคย ไม่เคย จะลืม
ตัวอย่าง 3 - ซ่อนกลิ่น (ปาล์มมี่)
เนื้อร้อง : ปาล์มมี่ , วีรณัฐ ทิพยมณฑล , พีระนัต สุขสําราญ
ทํานอง : ปาล์มมี่ , วีรณัฐ ทิพยมณฑล
ตัวอย่าง 4 - อาวรณ์ (POLYCAT)
เนื้อร้อง: รัตน จันทร์ประสิทธิ์ (อ่าน บทสัมภาษณ์)
กิจกรรมที่ 3 จํานวนวรรค
ค่านํ้านม
แม่นี้มีบุญคุณอันใหญ่หลวง
แม่เฝ้ าหวงห่วงลูกแต่หลังเมื่อยังนอนเปล
แม่เราเฝ้ าโอ้ละเห่
กล่อมลูกน้อยนอนเปลไม่ห่างหันเหไปจนไกล
เมื่อเล็กจนโตโอ้แม่ถนอม
แม่ผ่ายผอมย่อมเกิดแต่รักลูกปักดวงใจ
เติบโตโอ้เล็กจนใหญ่
นี้แหละหนาอะไรมิใช่ใดหนาเพราะค่านํ้านม
ควรคิดพินิจให้ดี
ค่านํ้านมแม่นี้จะมีอะไรเหมาะสม
โอ้ว่าแม่จ๋า ลูกคิดถึงค่านํ้านม
เลือดในอกผสมกลั่นเป็นนํ้านมให้ลูกดื่มกิน
ค่านํ้านมควรชวนให้ลูกฝัง
แต่เมื่อหลังเปรียบดังผืนฟ้ าหนักกว่าแผ่นดิน
บวชเรียนพากเพียรจนสิ้น
หยดหนึ่งนํ้านมกินทดแทนไม่สิ้นพระคุณแม่เอย
กิจกรรมที่ 4 จังหวะ จํานวนคํา
ค่านํ้านม
แม่นี้มีบุญคุณอันใหญ่หลวง
แม่เฝ้ าหวงห่วงลูกแต่หลังเมื่อยังนอนเปล
แม่เราเฝ้ าโอ้ละเห่
กล่อมลูกน้อยนอนเปลไม่ห่างหันเหไปจนไกล
เมื่อเล็กจนโตโอ้แม่ถนอม
แม่ผ่ายผอมย่อมเกิดแต่รักลูกปักดวงใจ
เติบโตโอ้เล็กจนใหญ่
นี้แหละหนาอะไรมิใช่ใดหนาเพราะค่านํ้านม
ควรคิดพินิจให้ดี
ค่านํ้านมแม่นี้จะมีอะไรเหมาะสม
โอ้ว่าแม่จ๋า ลูกคิดถึงค่านํ้านม
เลือดในอกผสมกลั่นเป็นนํ้านมให้ลูกดื่มกิน
ค่านํ้านมควรชวนให้ลูกฝัง
แต่เมื่อหลังเปรียบดังผืนฟ้ าหนักกว่าแผ่นดิน
บวชเรียนพากเพียรจนสิ้น
หยดหนึ่งนํ้านมกินทดแทนไม่สิ้นพระคุณแม่เอย
1. ฝึกตบมือตามจังหวะ
2. สังเกต “คํา” กับ “จังหวะ”
(จังหวะยก - จังหวะตก)

บางคํา 4,2,1,1/2 จังหวะ
3. ลองเขียน “ท่อนแร็ป”
แล้วร้องให้ลงจังหวะและห้อง
กิจกรรมที่ 5 เนื้อร้อง ทํานอง
Havana
Hey
Havana, ooh na-na (ay)
Half of my heart is in Havana, ooh-na-na (ay, ay)
He took me back to East Atlanta, na-na-na
Oh, but my heart is in Havana (ay)
There's somethin' 'bout his manners (uh huh)
Havana, ooh na-na (uh)
……………………………………
แปลงเพลง Havana เป็นเพลงไทย
สังเกตเสียงวรรณยุกต์กับโน้ต
ระวัง! อย่าเพี้ยน อย่าเหน่อ
ชวนคิด - เนื้อหรือทํานองมาก่อน?
ฝึกฟัง อารมณ์เพลง
ทบทวนการเล่าเรื่อง: ที่มา-ที่ไป
กิจกรรมที่ 6 การเล่าเรื่อง
เล่าเรื่องต่อไปนี้ ด้วยทํานองเพลงที่กําหนด
หนูน้อยหมวกแดง
ซินเดอเรลล่า
แม่นาคพระโขนง
เทคนิค! วางโครงเรื่องก่อน ค่อยคิดคํา อย่าให้ “กลอนพาไป”
มุมมองกับการเล่าเรื่อง
หนูน้อยหมวกแดง
• หนูน้อยหมวกแดง: หลอกกันทําไม
• แม่: ถ้ารู้อย่างนี้ ฉันคงไม่ยอมให้เธอไป
• ยาย: ฉันเป็นได้แค่เหยื่อ
• หมาป่า: ตัวปลอม, คนที่เธอไม่รัก
• นายพราน: ยอมตายเพื่อปกป้องเธอ
กิจกรรมที่ 7 วิเคราะห์โครงสร้างเพลง
สังเกต “ท่อน” ของเพลง / รู้จักท่อนฮุค
กิจกรรมที่ 8 คําโดน ประโยคเด็ด
เขียนคําบอความรู้สึก แปลงเป็น “คําโดนๆ”
1 2 3 4 5
ตื่นเต้น
บูม บูม บูม*
ชีวิตราบเรียบ เธอเข้ามา กลัวแต่ยอม แค่ได้รัก
แล้วสร้างเรื่องราวบอกที่มา-ที่ไปของคํานั้น
ตัวอย่าง 5 - อ้าว
เนื้อร้อง-ทํานอง: ชนกันต์ รัตนอุดม
ตัวอย่าง 6 - ผู้สาวขาเลาะ
เนื้อร้อง-ทํานอง: อาม ชุติมา
ตัวอย่าง 7 - ยาใจคนจน
เนื้อร้อง-ทํานอง: สลา คุณวุฒิ,มนต์แคน แก่นคูน
ตัวอย่าง 8 - ประเทศกูมี (Rap Against Dictatorship)
ตัวอย่าง 9 - Make it happen
เนื้อร้อง-ทํานอง: อัจฉริยา ดุลยไพบูลย์
กิจกรรมที่ 9 ภาษาเพลง
การเปรียบเทียบ การอ้างถึง การเล่นคํา
ความรัก = บัตรเขย่ง
• ฉัน = ผู้สมัคร
• เธอ = ผู้เลือก
• คิดว่าเธอจะเลือก
แต่ผลออกมา

ไม่เป็นอย่างที่คิด
เพลง รักเขย่ง
พี่ ลงสมัคร

ฝากรักเป็น ผู้แทนใจ

พี่ไม่มี หุ้น ใด

ในหัวใจของใครคนอื่น

พี่รักเธอแน่

พูดไปไม่กลับคำคืน

หลับตาฝันครั้นตื่น

เธอ ประกาศคะแนน หัวใจ

หัวใจขยับ

รักเราก็เลย เขย่ง

เขาคงจะเก่ง

จึงมาคว้าเธอไปได้

ถึงพี่จะ ค้าน

ก็ไม่มีผลใด

หวัง อนาคตใหม่

ไม่แจก ใบแดง รักเรา
กกต ย่อมาจากกรรมเก่าตาม
ใกล้เธอทุกยามความดีก็ยังไม่ส่ง
ปิดหีบ ความรัก บอกลาแล้วความซื่อตรง
พี่เองก็คงต้องปลง ตัดสิทธิ์ หัวใจให้เขาโดยดี
ตัวอย่าง 10 - ไกลแค่ไหนคือใกล้ (getsunova)
เนื้อร้อง-ทํานอง: ปณต คุณประเสริฐ
ตัวอย่าง 11 - ชาวนากับงูเห่า
เนื้อร้อง: สีฟ้า ทํานอง: คมจักร บุญรอด;ชาลี สาลี่
ถ ้าเธอไม่อยากอยู่กับฉันจริงๆ
ยินยอมทุกสิ=งให ้เธอทิMงไป
ฉันขอแค่เพียงให ้เวลา หน่อยได ้ไหม
อยากเล่านิทานให ้ฟัง
ชาวนาคนหนึ=งมีชีวิตลําพัง
ไปเจองูเห่ากําลังใกล ้ตาย
สงสารจึงเก็บเอามาเลีMยงโดยไม่รู้
สุดท ้ายจะเป็นอย่างไร
* คอยดูแลด ้วยความจริงใจ
ห่วงใยและคอยให ้ความรัก
เป็นกังวลว่ามันจะตาย
เฝ้าคอยเอาใจทุกอย่าง
แต่สุดท ้ายชาวนาผู้ชายใจดี
ด ้วยความที=เขาไว ้ใจ
น่าเสียดาย...กลับต ้องตาย ด ้วยพิษงู
Solo:
นิทานมันบอกให ้ยอมรับความจริง
ว่ามีบางสิ=งไม่ควรไว ้ใจ
อะไรบางอย่างให ้ทําดีสักแค่ไหน
ไม่เชื=อง ไม่รัก ไม่จริง
(ซํMา * , * , *)
ตัวอย่าง 12 - รักในดวงใจนิรันดร์
เนื้อร้อง: ชนกพร พัวพัฒนกุล ทํานอง: อัจฉริยา ดุลยไพบูลย์
ลักษณะของเนื้อเพลงที่ดี
• โครงเรื่องดี สื่อความหมายชัดเจน มีความจริงที่สัมผัสได้ มีพัฒนาการทาง
อารมณ์ / เทคนิค: จิตนาการเหตุการณ์จากเล็กที่สุดไปหาเหตุการณ์ใหญ่
ที่สุด แล้วหาข้อสรุปในท่อนสุดท้าย เ/ หลีกเลี่ยงการขึ้นต้นเพลงด้วยเรื่อง
ราวใหญ่โต เพราะจะทําให้เล่าเรื่องต่อไปไม่ได้
• ขึ้นต้นดี เทคนิค: เราพูดถึงใคร พูดถึงอะไร พูดเมื่อไร พูดที่ไหน ใครเป็นผู้ฟัง
• ชื่อเพลงดี สนใจ สะดุดตาเมื่อได้เห็น สะดุดหูเมื่อได้ยิน ชื่อเพลงมักมาจาก
ท่อนใดท่อนหนึ่ง เช่น เรามีเรา บูมเมอแรง แต่บางเพลงก็ไม่ได้มาจากเนื้อ
เพลง เช่น คู่กัด บางเพลงคนจําคําแรกได้แต่จําชื่อเพลงไม่ได้ เช่น จันทร์กระจ่างฟ้า
ฟ้าลุ่มอิระวดี
(เขตต์อรัญ เลิศพิพัฒน์ 2545: 43-58)
อ้างอิง
• 10 เพลงที่ฟังใจแนะนําให้เด็กไทยฟัง
• เขตต์อรัญ เลิศพิพัฒน์. คิดคําทําเพลง: ศิลปะการแต่งเนื้อเพลงไทย.
กรุงเทพฯ: ชมรมคีตกวี, 2545.
• ชมรมนักแต่งเพลงลูกทุ่งอีสาน. หัดแต่งเพลงโดยวิธีธรรมชาติ. กรุงเทพฯ:
เคล็ดไทย, 2547.
• ทบทวนทฤษฎีการเขียนเพลง
• เทคนิคการเขียนเพลง 16 ขั้นเทพของการแต่งเพลง
• มาแต่งเพลงกันเถอะ
• อยากแต่งเพลงต้องเริ่มยังไง? งั้นเอาไป 11 เทคนิคจากคนแต่งเพลง
• อัสนี เสลภูมิ. ฅนเขียนเพลง. กรุงเทพฯ: ไพลิน, 2543.

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
ขนิษฐา ทวีศรี
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
wattanaka
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
monnawan
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
krubuatoom
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
พัน พัน
 
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติคำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
surang1
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
 
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1  เรื่องคำนามใบงานที่ 1  เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
ประเภทของนาฏศิลป์
ประเภทของนาฏศิลป์ประเภทของนาฏศิลป์
ประเภทของนาฏศิลป์
 
Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1
 
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติคำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 

Similar to การเขียนเนื้อเพลง

นักแต่งเพลง
นักแต่งเพลงนักแต่งเพลง
นักแต่งเพลง
Ning Rommanee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
Nook Kanokwan
 
อภัย
อภัยอภัย
อภัย
kutoyseta
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
vp12052499
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
vp12052499
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
Kalasom Mad-adam
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทย
wisita42
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
Warissa'nan Wrs
 

Similar to การเขียนเนื้อเพลง (20)

นักแต่งเพลง
นักแต่งเพลงนักแต่งเพลง
นักแต่งเพลง
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
K+2(vol2)
K+2(vol2)K+2(vol2)
K+2(vol2)
 
อภัย
อภัยอภัย
อภัย
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
กฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
กฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอดกฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
กฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทย
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องขุนช้างขุนแผน.pdf
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องขุนช้างขุนแผน.pdfเอกสารประกอบการเรียนเรื่องขุนช้างขุนแผน.pdf
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องขุนช้างขุนแผน.pdf
 

More from Mahidol University

More from Mahidol University (7)

การใช้เครื่องมือ Visual Mapping เพื่อการพัฒนาหลักสูตร
การใช้เครื่องมือ Visual Mapping เพื่อการพัฒนาหลักสูตรการใช้เครื่องมือ Visual Mapping เพื่อการพัฒนาหลักสูตร
การใช้เครื่องมือ Visual Mapping เพื่อการพัฒนาหลักสูตร
 
วัฒนธรรมกับการกิน
วัฒนธรรมกับการกินวัฒนธรรมกับการกิน
วัฒนธรรมกับการกิน
 
ภาษาไทยเพื่อการเขียนวิทยานิพนธ์
ภาษาไทยเพื่อการเขียนวิทยานิพนธ์ภาษาไทยเพื่อการเขียนวิทยานิพนธ์
ภาษาไทยเพื่อการเขียนวิทยานิพนธ์
 
เทคนิคการสื่อสารสำหรับพิธีกรมืออาชีพ
เทคนิคการสื่อสารสำหรับพิธีกรมืออาชีพเทคนิคการสื่อสารสำหรับพิธีกรมืออาชีพ
เทคนิคการสื่อสารสำหรับพิธีกรมืออาชีพ
 
ภาษาไทยกับการสืบสาน สร้างสรรค์ และต่อยอด
ภาษาไทยกับการสืบสาน สร้างสรรค์ และต่อยอดภาษาไทยกับการสืบสาน สร้างสรรค์ และต่อยอด
ภาษาไทยกับการสืบสาน สร้างสรรค์ และต่อยอด
 
S: Security and Privacy of Information and Social Media (Personnel Safety Goals)
S: Security and Privacy of Information and Social Media (Personnel Safety Goals)S: Security and Privacy of Information and Social Media (Personnel Safety Goals)
S: Security and Privacy of Information and Social Media (Personnel Safety Goals)
 
การเขียนนิทาน
การเขียนนิทานการเขียนนิทาน
การเขียนนิทาน
 

การเขียนเนื้อเพลง

  • 2. หัวข้อการเรียนรู้ 1. สัมผัส 2. จังหวะ วรรค จํานวนคํา 3. ทํานอง > เสียงวรรณยุกต์กับโน้ต 4. อารมณ์เพลง 5. โครงสร้างเพลง 6. การเล่าเรื่อง มุมมอง ตัวละคร และการดําเนินเรื่อง 7. ภาษาเพลง
  • 3. กิจกรรมที่ 1 สัมผัส สัมผัสในการเขียนเพลง หมายถึง สัมผัสนอก 
 (เสียงสระ+พยัญชนะท้าย) ที่อยู่ระหว่างวรรคเป็นสําคัญ ส่วนสัมผัสใน ไม่ได้บังคับ แต่ช่วยให้เพลงไพเราะขึ้น ลองนึกคําที่ออกเสียง สระ เอ คนละ 1 คํา แล้วช่วยกันแต่ง เรื่อง ให้ทุกประโยคลงท้ายด้วยคํา สระ เอ ที่เลือกไว้ (ใช้ทุกคํา) ระวัง! 1) เสียงสั้น-ยาว 2) เสียงพยัญชนะท้ายไม่ตรงกัน
  • 4. หนังสือแนะนํา - “คําสัมผัส” ของ ชัยรัตน์ วงศ์เกียรติขจร
  • 5. กิจกรรมที่ 2 ตําแหน่งของสัมผัส (ฉันทลักษณ์) แม่ร้องเรียกลูกน้อยมากิน... แล้วสั่ง ... ให้รีบมากิน ... เรียกอยู่นานไม่มีใคร ... จึงร้อง ...! เทข้าวให้หมาเอย แม่ร้องเรียกลูกน้อยมากิน... แล้วหันไปเรียกพ่อมากิน... เรียกอยู่นานไม่มีใครคิด ... จึงร้อง ...! เทข้าวให้หมาเอย สัมผัสแบบกลอนไทย สัมผัสแบบกลอนฝรั่ง สัมผัสแบบเพลงพื้นบ้าน (กลอนหัวเดียว) ระวัง! อย่าใช้คําสัมผัสซํ้า
  • 6. ตัวอย่าง 1 - รักน้อง (เนื้อร้อง-ทํานอง: จิ้น กรรมาชน) เจ ้านกน้อยล่องลอยโผบิน จากแผ่นดินทะเลสีคราม ความเหงาเอยเหมือนคอยเหยียบยํ=า ให ้ทรมา ฝ่ าลมแรงด ้วยแรงท ้าทาย สู่จุดหมายที=ไกลลิบตา เพียงพบเธอทุกวันเห็นหน้า อิ=มเอิบดวงมาลย์ ดอกไม ้แย ้มกลีบ บานแล ้วในใจฉัน จงหอมชั=วนิรันดร์ มิเลยล่วงผ่านจากใจเราผอง จงมอบความรักด ้วยใจภักดี มอบชีวีให ้เธอคุ้มครอง ความหวังดี จงมาปกป้อง ทัMงตื=นและฝัน
  • 7. ตัวอย่าง 2 - ไม่เคย (25hours) (คําร้อง: ปิยวัฒน์ มีเครือ ทํานอง: สมพล รุ่งพานิชย์) ฉันไม่เคยรู้ คนที่สำคัญ นั้นมีค่าแค่ไหน ฉันไม่เคยรู้ วันที่สวยงาม นั้นมีค่าเท่าไร ไม่เคยรู้เวลาที่เรามีกัน นั้นดีเท่าไร ไม่เคยรู้ว่าความคิดถึงมันทรมานแค่ไหน ไม่เคย ไม่เคย ไม่เคย เราจะคิดถึง คนที่สำคัญ เมื่อต้องจากกันไป เราจะคิดถึง วันที่สวยงาม เมื่อเวลาผ่านไป จะคิดถึงเวลาที่เรามีกัน เมื่อเธอต้องไป และตอนนี้รู้ไหม ว่าฉันคิดถึงเธอมากแค่ไหน ไม่เคย ไม่เคย จะลืม
  • 8. ตัวอย่าง 3 - ซ่อนกลิ่น (ปาล์มมี่) เนื้อร้อง : ปาล์มมี่ , วีรณัฐ ทิพยมณฑล , พีระนัต สุขสําราญ ทํานอง : ปาล์มมี่ , วีรณัฐ ทิพยมณฑล
  • 9. ตัวอย่าง 4 - อาวรณ์ (POLYCAT) เนื้อร้อง: รัตน จันทร์ประสิทธิ์ (อ่าน บทสัมภาษณ์)
  • 10. กิจกรรมที่ 3 จํานวนวรรค ค่านํ้านม แม่นี้มีบุญคุณอันใหญ่หลวง แม่เฝ้ าหวงห่วงลูกแต่หลังเมื่อยังนอนเปล แม่เราเฝ้ าโอ้ละเห่ กล่อมลูกน้อยนอนเปลไม่ห่างหันเหไปจนไกล เมื่อเล็กจนโตโอ้แม่ถนอม แม่ผ่ายผอมย่อมเกิดแต่รักลูกปักดวงใจ เติบโตโอ้เล็กจนใหญ่ นี้แหละหนาอะไรมิใช่ใดหนาเพราะค่านํ้านม ควรคิดพินิจให้ดี ค่านํ้านมแม่นี้จะมีอะไรเหมาะสม โอ้ว่าแม่จ๋า ลูกคิดถึงค่านํ้านม เลือดในอกผสมกลั่นเป็นนํ้านมให้ลูกดื่มกิน ค่านํ้านมควรชวนให้ลูกฝัง แต่เมื่อหลังเปรียบดังผืนฟ้ าหนักกว่าแผ่นดิน บวชเรียนพากเพียรจนสิ้น หยดหนึ่งนํ้านมกินทดแทนไม่สิ้นพระคุณแม่เอย
  • 11. กิจกรรมที่ 4 จังหวะ จํานวนคํา ค่านํ้านม แม่นี้มีบุญคุณอันใหญ่หลวง แม่เฝ้ าหวงห่วงลูกแต่หลังเมื่อยังนอนเปล แม่เราเฝ้ าโอ้ละเห่ กล่อมลูกน้อยนอนเปลไม่ห่างหันเหไปจนไกล เมื่อเล็กจนโตโอ้แม่ถนอม แม่ผ่ายผอมย่อมเกิดแต่รักลูกปักดวงใจ เติบโตโอ้เล็กจนใหญ่ นี้แหละหนาอะไรมิใช่ใดหนาเพราะค่านํ้านม ควรคิดพินิจให้ดี ค่านํ้านมแม่นี้จะมีอะไรเหมาะสม โอ้ว่าแม่จ๋า ลูกคิดถึงค่านํ้านม เลือดในอกผสมกลั่นเป็นนํ้านมให้ลูกดื่มกิน ค่านํ้านมควรชวนให้ลูกฝัง แต่เมื่อหลังเปรียบดังผืนฟ้ าหนักกว่าแผ่นดิน บวชเรียนพากเพียรจนสิ้น หยดหนึ่งนํ้านมกินทดแทนไม่สิ้นพระคุณแม่เอย 1. ฝึกตบมือตามจังหวะ 2. สังเกต “คํา” กับ “จังหวะ” (จังหวะยก - จังหวะตก)
 บางคํา 4,2,1,1/2 จังหวะ 3. ลองเขียน “ท่อนแร็ป” แล้วร้องให้ลงจังหวะและห้อง
  • 12. กิจกรรมที่ 5 เนื้อร้อง ทํานอง Havana Hey Havana, ooh na-na (ay) Half of my heart is in Havana, ooh-na-na (ay, ay) He took me back to East Atlanta, na-na-na Oh, but my heart is in Havana (ay) There's somethin' 'bout his manners (uh huh) Havana, ooh na-na (uh) …………………………………… แปลงเพลง Havana เป็นเพลงไทย สังเกตเสียงวรรณยุกต์กับโน้ต ระวัง! อย่าเพี้ยน อย่าเหน่อ ชวนคิด - เนื้อหรือทํานองมาก่อน?
  • 15. กิจกรรมที่ 6 การเล่าเรื่อง เล่าเรื่องต่อไปนี้ ด้วยทํานองเพลงที่กําหนด หนูน้อยหมวกแดง ซินเดอเรลล่า แม่นาคพระโขนง เทคนิค! วางโครงเรื่องก่อน ค่อยคิดคํา อย่าให้ “กลอนพาไป”
  • 16. มุมมองกับการเล่าเรื่อง หนูน้อยหมวกแดง • หนูน้อยหมวกแดง: หลอกกันทําไม • แม่: ถ้ารู้อย่างนี้ ฉันคงไม่ยอมให้เธอไป • ยาย: ฉันเป็นได้แค่เหยื่อ • หมาป่า: ตัวปลอม, คนที่เธอไม่รัก • นายพราน: ยอมตายเพื่อปกป้องเธอ
  • 17. กิจกรรมที่ 7 วิเคราะห์โครงสร้างเพลง สังเกต “ท่อน” ของเพลง / รู้จักท่อนฮุค
  • 18. กิจกรรมที่ 8 คําโดน ประโยคเด็ด เขียนคําบอความรู้สึก แปลงเป็น “คําโดนๆ” 1 2 3 4 5 ตื่นเต้น บูม บูม บูม* ชีวิตราบเรียบ เธอเข้ามา กลัวแต่ยอม แค่ได้รัก แล้วสร้างเรื่องราวบอกที่มา-ที่ไปของคํานั้น
  • 19. ตัวอย่าง 5 - อ้าว เนื้อร้อง-ทํานอง: ชนกันต์ รัตนอุดม
  • 20. ตัวอย่าง 6 - ผู้สาวขาเลาะ เนื้อร้อง-ทํานอง: อาม ชุติมา
  • 21. ตัวอย่าง 7 - ยาใจคนจน เนื้อร้อง-ทํานอง: สลา คุณวุฒิ,มนต์แคน แก่นคูน
  • 22. ตัวอย่าง 8 - ประเทศกูมี (Rap Against Dictatorship)
  • 23. ตัวอย่าง 9 - Make it happen เนื้อร้อง-ทํานอง: อัจฉริยา ดุลยไพบูลย์
  • 25. ความรัก = บัตรเขย่ง • ฉัน = ผู้สมัคร • เธอ = ผู้เลือก • คิดว่าเธอจะเลือก แต่ผลออกมา
 ไม่เป็นอย่างที่คิด เพลง รักเขย่ง พี่ ลงสมัคร ฝากรักเป็น ผู้แทนใจ พี่ไม่มี หุ้น ใด ในหัวใจของใครคนอื่น พี่รักเธอแน่ พูดไปไม่กลับคำคืน หลับตาฝันครั้นตื่น เธอ ประกาศคะแนน หัวใจ หัวใจขยับ รักเราก็เลย เขย่ง เขาคงจะเก่ง จึงมาคว้าเธอไปได้ ถึงพี่จะ ค้าน ก็ไม่มีผลใด หวัง อนาคตใหม่ ไม่แจก ใบแดง รักเรา กกต ย่อมาจากกรรมเก่าตาม ใกล้เธอทุกยามความดีก็ยังไม่ส่ง ปิดหีบ ความรัก บอกลาแล้วความซื่อตรง พี่เองก็คงต้องปลง ตัดสิทธิ์ หัวใจให้เขาโดยดี
  • 26. ตัวอย่าง 10 - ไกลแค่ไหนคือใกล้ (getsunova) เนื้อร้อง-ทํานอง: ปณต คุณประเสริฐ
  • 27. ตัวอย่าง 11 - ชาวนากับงูเห่า เนื้อร้อง: สีฟ้า ทํานอง: คมจักร บุญรอด;ชาลี สาลี่ ถ ้าเธอไม่อยากอยู่กับฉันจริงๆ ยินยอมทุกสิ=งให ้เธอทิMงไป ฉันขอแค่เพียงให ้เวลา หน่อยได ้ไหม อยากเล่านิทานให ้ฟัง ชาวนาคนหนึ=งมีชีวิตลําพัง ไปเจองูเห่ากําลังใกล ้ตาย สงสารจึงเก็บเอามาเลีMยงโดยไม่รู้ สุดท ้ายจะเป็นอย่างไร * คอยดูแลด ้วยความจริงใจ ห่วงใยและคอยให ้ความรัก เป็นกังวลว่ามันจะตาย เฝ้าคอยเอาใจทุกอย่าง แต่สุดท ้ายชาวนาผู้ชายใจดี ด ้วยความที=เขาไว ้ใจ น่าเสียดาย...กลับต ้องตาย ด ้วยพิษงู Solo: นิทานมันบอกให ้ยอมรับความจริง ว่ามีบางสิ=งไม่ควรไว ้ใจ อะไรบางอย่างให ้ทําดีสักแค่ไหน ไม่เชื=อง ไม่รัก ไม่จริง (ซํMา * , * , *)
  • 28. ตัวอย่าง 12 - รักในดวงใจนิรันดร์ เนื้อร้อง: ชนกพร พัวพัฒนกุล ทํานอง: อัจฉริยา ดุลยไพบูลย์
  • 29. ลักษณะของเนื้อเพลงที่ดี • โครงเรื่องดี สื่อความหมายชัดเจน มีความจริงที่สัมผัสได้ มีพัฒนาการทาง อารมณ์ / เทคนิค: จิตนาการเหตุการณ์จากเล็กที่สุดไปหาเหตุการณ์ใหญ่ ที่สุด แล้วหาข้อสรุปในท่อนสุดท้าย เ/ หลีกเลี่ยงการขึ้นต้นเพลงด้วยเรื่อง ราวใหญ่โต เพราะจะทําให้เล่าเรื่องต่อไปไม่ได้ • ขึ้นต้นดี เทคนิค: เราพูดถึงใคร พูดถึงอะไร พูดเมื่อไร พูดที่ไหน ใครเป็นผู้ฟัง • ชื่อเพลงดี สนใจ สะดุดตาเมื่อได้เห็น สะดุดหูเมื่อได้ยิน ชื่อเพลงมักมาจาก ท่อนใดท่อนหนึ่ง เช่น เรามีเรา บูมเมอแรง แต่บางเพลงก็ไม่ได้มาจากเนื้อ เพลง เช่น คู่กัด บางเพลงคนจําคําแรกได้แต่จําชื่อเพลงไม่ได้ เช่น จันทร์กระจ่างฟ้า ฟ้าลุ่มอิระวดี (เขตต์อรัญ เลิศพิพัฒน์ 2545: 43-58)
  • 30. อ้างอิง • 10 เพลงที่ฟังใจแนะนําให้เด็กไทยฟัง • เขตต์อรัญ เลิศพิพัฒน์. คิดคําทําเพลง: ศิลปะการแต่งเนื้อเพลงไทย. กรุงเทพฯ: ชมรมคีตกวี, 2545. • ชมรมนักแต่งเพลงลูกทุ่งอีสาน. หัดแต่งเพลงโดยวิธีธรรมชาติ. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย, 2547. • ทบทวนทฤษฎีการเขียนเพลง • เทคนิคการเขียนเพลง 16 ขั้นเทพของการแต่งเพลง • มาแต่งเพลงกันเถอะ • อยากแต่งเพลงต้องเริ่มยังไง? งั้นเอาไป 11 เทคนิคจากคนแต่งเพลง • อัสนี เสลภูมิ. ฅนเขียนเพลง. กรุงเทพฯ: ไพลิน, 2543.