SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
วิชา เคมี 4 รหัสวิชา ว30224
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนบัวเชดวิทยา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 33
โซเดียมคลอไรด์ หรือเรียกว่าเกลือแกง ถ้าผลิตจากน้าทะเล
จะ เรียกว่าเกลือสมุทร แต่ถ้าผลิตจากแหล่งเกลือในพื้นดิน เรียกว่า
เกลือสินเธาว์
โซเดียมคลอไรด์ หรือเกลือแกงมีสูตรเป็น NaCl เป็น
สารประกอบที่ประกอบด้วยธาตุ
Na และ Cl ลักษณะเป็นผลึกสีขาว รสเค็ม รูปผลึกเป็นทรง
ลูกบาศก์ จุดหลอมเหลว 801 องศาเซลเซีส ละลายน้าได้ดี
โดยมากได้จากน้าทะเล และจากดิน
ประเทศที่ผลิตเกลือแกงมาก คือ ประเทศออสเตรีย
ฝรั่งเศส เยอรมนี อินเดียและสหรัฐอเมริกา
โซเดียมคลอไรด์แบ่งตามวิธีในการผลิตมี 2 ประเภทคือ
1. เกลือสมุทร คือ โซเดียมคลอไรด์ หรือเกลือแกงที่
ผลิตได้จากน้าทะเล
2. เกลือสินเธาว์ คือ โซเดียมคลอไรด์ หรือ เกลือแกงที่ผลิตได้
จากเกลือหิน ซึ่งพบใต้เปลือกโลกในชั้นหินทราย หรือในผิวดิน หรือน้าใต้ดิน
ขึ้นอยู่กับสิ่งเจือปนที่มีอยู่ในเกลือ ถ้ามีเกลือแมกนีเซียม
ปนอยู่มากจะชื้นง่าย ราคาตก ดังนั้นถ้าต้องการเกลือที่มคุณภาพดี
ี
ควรเติมปูนขาว 0.4 - 0.5 กรัมต่อน้า 1 ลิตร ลงในนาเชื้อ
เพื่อทาให้น้าทะเลมีสมบัติเป็นเบส (pH ประมาณ 7.4 - 7.5 )
Mg2+ ไอออนจะตกตะกอนออกมาในรูปของ Mg(OH)2 ทิ้งไว้
จนน้าทะเลใสแล้วจึงไขน้านี้เข้าสู่นาปลง NaCl จะตกผลึก
ออกมาเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งผลึกของเกลือโซเดียมคลอไรด์นี้จะ
ค่อนข้างบริสุทธิ์ มีคุณภาพดี
เกลือสมุทรทากันมากในบริเวณ
ใกล้ทะเล เช่น ที่จังหวัดสมุทรสาคร เพชรบุรี
ฉะเชิงเทรา และชลบุรีโดยมากจะทานา
เกลือปีละ 2 ครั้ง ในประเทศไทยมีอากาศแห้งแล้งติดต่อกันเป็นเวลาประมาณครึ่งปี
ดังนั้นการทานาเกลือจึ่งเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนพฤษภาคม
การทานาเกลือใช้วิธีการแยกโซเดียมคลอไรด์ออกจากน้าทะเล ดังนั้นจึง
ต้องใช้หลัก “การระเหยและการตกผลึก” โดยการให้น้าทะเลระเหยไปจนเหลือน้า
ปริมาณน้อยที่สุด ซึ่งเมื่อถึงจุดอิ่มตัวของเกลือ จะทาให้เกลือเกิดการตกผลึกออกมา
กรรมวิธีในการผลิตเกลือสมุทร มีขั้นตอนต่าง ๆดังนี้

1) การเตรียมพื้นที่นา โดยทั่วไปใช้พื้นที่ประมาณ
40 ไร่ จากนั้นก็ขุดตอไม้รากไม้ปรับพื้นที่ให้เรียบแน่น แบ่งที่
นาออกเป็นแปลง ๆ แปลงละ 1 ไร่ ยกขอบแปลงให้สูง แล้ว
ทาร่องระบายน้าระหว่างแปลง
2) การทานาเกลือ
2.1) แบ่งพื้นที่ทานาเป็น 3 ตอน ได้แก่ นาตาก
นาเชื้อ และนาปลง ซึ่งระดับพื้นที่จะลดหลั่นลงตามลาดับ
เพื่อความสะดวกในการระบายน้าและขังน้า
(รูปแสดงการทานาเกลือ)
2.2) ก่อนถึงฤดูการทานาเกลือ ให้ระบายน้าเข้าเก็บขังไว้เพื่อให้น้าสะอาด ผง
โคลนตม แร่ธาตุ จะได้ตกตะกอน พื้นที่ที่ขังน้าไว้ตอนนี้ เรียกว่า นาวัง
2.3) จากนั้นระบายน้าเข้าสู่นาตาก ให้ระดับน้าสูงกว่าพื้นนา
ประมาณ 5 cmเมื่อน้าระเหยไปจนวัดความถ่วงจาเพาะของน้าทะเลได้ 1.08
จึงถ่ายน้าเข้าสู่นาเชื้อ เพื่อให้แคลเซียมซัลเฟต(CaSO4) ตกผลึกออกมา
เป็นผลพลอยได้ ส่วนน้าทะเลที่เหลือปล่อยให้ระเหยไปจนมีความถ่วงจาเพาะ
1.2 แล้วจึงระบายน้าทะเลนั้นเข้าสู่นาปลง 2 วัน NaClเริ่มตกตะกอน
และจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ น้าทะเลที่เหลือจะมีความเข้มข้นของ 𝑴𝒈 𝟐+ 𝑪𝒍− และ
ไอออนเพิ่มขึ้นจึงต้องระบายน้าจากนาเชื้อเพิ่มอีก เพื่อป้องกันมิให้ MgCl2
และ MgSO4 ตกผลึกปนกับ NaClออกมาด้วย ซึ่งจะทาให้เกลือที่ได้มี
สิ่งเจือปน คุณภาพไม่ดี
โดยปกติจะปล่อยให้
NaCl ตกผลึกประมาณ 9 - 10
วัน จึงขูดเกลือออกขณะที่มีน้า
ทะเลขังอยู่ เกลือที่ได้นาไปตาก
แดด 1 -2 วัน แล้วจึงเก็บเข้า
ฉาง ผลพลอยได้จากการทานา
เกลือ คือ กุ้ง ปลา และ
CaSO4
เกลือสินเธาว์เป็นเกลือที่
เหมาะที่จะใช้ในการอุตสาหกรรม
เพราะมีความชื้น และแมกนีเซียม
แคลเซียม ค่อนข้างต่า ผลิตได้
จากแหล่งแร่ เกลือหิน (Rock Salt) พบอยู่ตามพื้นดินแถบภาค
อีสาน เช่น จังหวัดชัยภูมิ มหาสารคาม ยโสธร อุบลราชธานี และ
อุดรธานี
การผลิตเกลือสินเธาว์จากเกลือหินโดยทั่วไปใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ คือ ใช้การละลาย การกรอง การระเหย และการตก
ผลึก หรือการละลายและการตกผลึก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพของเกลือที่
เกิดขึ้นในแหล่งนั้น ๆ
วิธีการผลิตเกลือสินเธาว์
การผลิตเกลือสินเธาว์จะแตกต่างกันออกไปตามแหล่งที่มา และ
ลักษณะการเกิดของเกลือ ซึ่งสามารถจาแนกได้ 3 ประเภทดังนี้
1) เกลือจากผิวดิน จะใช้วิธีขุดคราบเกลือตามผิวดินมาละลาย
น้า กรองเศษตะกอนออก แล้วนาน้าเกลือไปเคี้ยวให้แห้ง จะได้ตะกอนเกลือตก
ผลึกออกมา นิยมทาเกลือชนิดนี้ทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัด
นคราชสีมา ชัยภูมิ มหาสารคาม อุดรธานี สกลนคร และร้อยเอ็ด
2) เกลือจากน้าเกลือบาดาล เกลือที่ได้จากแหล่งนี้จะทากันมาก
ที่จังหวัด มหาสารคาม นครราชสีมา อุดรธานี อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด
สกลนคร ชัยภูมิ และหนองคาย เกลือบาดาลมีอยู่ในระดับตื้น 5 - 10
เมตร หรือระดับลึก 30 เมตร
วิธีการผลิตเกลือจากบาดาล ใช้วิธีการขุดหรือเจาะลงไป
ใต้ดินและสูบน้าเกลือขึ้นมา ต้มน้าเกลือในกระทะเหล็กใบใหญ่ โดย
ใช้ฟืนหรือลิกไนต์เป็นเชื้อเพลิง จนน้าเกลือแห้ง จะได้เกลือตกผลึก
ออกมา
การผลิตเกลือนี้นอกจากจะต้มแล้ว อาจจะใช้วิธีการ
ตาก ซึ่งไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในด้านเชื้อเพลิง เพราะใช้พลังงาน
แสงอาทิตย์ ด้วยการสูบเกลือจากบ่อน้าบาดาลมาใส่ไว้ในนา
ตาก ซึ่งทาเป็นลานดินหรือลานซีเมนต์ แล้วทาให้น้าระเหยออกไป
จะได้เกลือตกผลึกออกมา เรียกวิธีนี้ว่า การทานาตาก
3) เกลือจากชั้นเกลือหิน
วิธีการผลิต ทาได้โดยการอัดน้าจืดลงไปละลายเกลือในชั้นเกลือ
หิน แล้วสูบสารละลายมาทาให้บริสุทธิ์ด้วยการเติม
สารละลาย NaOH กับ Na2CO3 เพื่อกาจัด Ca2+ และ Mg2+ ดังปฏิกิริยา
Mg2+ (aq) + 2OH- (aq)
Mg(OH)2 (s)
Ca2+ (aq) + CO32- (aq)
CaCO3 (s)
จากนั้นกรองตะกอนที่เกิดขึ้นนีออก แล้วนาสารละลายทีได้มาตก
้
่
ผลึก แยก NaCl ออก ทาให้สารละลายมี NaCl ปริมาณลดลง และ
ในสารละลายนี้ยังมี Na2SO4 และ Na2CO3 ละลายปนอยู่ ซึ่งเป็น
เกลือที่ไม่ต้องการ เรียกสารละลายนีว่า “น้าขม” นาสารละลายไป
้
เติม CaCl2 พอเหมาะเพื่อกาจัดไอออนต่าง ๆ ออกเป็น
สาร CaSO4 และ CaCO3 ซึ่งไม่ละลายน้า ดังสมการ
Ca2+ (aq) + SO42- (aq)
CaSO4 (s)
Ca2+ (aq) + CO32- (aq)
CaCO3 (s)
นาสารละลายที่ได้ไปตกผลึกแยก NaCl ออกไปอีก
กระบวนการผลิตเกลิอที่
เกิดจากสารละลายเกลือ
ในชั้นที่มีเกลือหิน
แสดงได้ดังรูปข้างล่างนี้

(รูปแสดงการผลิตเกลือจากชั้นเกลือหิน)
การผลิตเกลือสินเธาว์อาจจะก่อให้เกิดปัญหากับ
สิ่งแวดล้อมได้ เช่น ทาให้เกิดการแพร่ของดินเค็ม ซึ่งมีผลเสียต่อการ
ทาเกษตรกรรม กล่าวคือ ภาวะดินเค็มจะทาให้พืชไม่เจริญเติบโต
เพาะปลูกไม่ได้ผล และถ้าเกลือแพร่กระจายสู่แม่น้าลาคลอง ก็จะส่งผล
กระทบต่อสัตว์น้า นอกจากนั้นจากสูบน้าเกลือบาดาลขึ้นมาผลิตเกลือ
สินเธาว์ยังอาจเกิดปัญหาการยุบตัวของพื้นดิน ซึ่งก็มีผลเสียต่อ
สิ่งแวดล้อมเช่นกัน
1. เกลือสินเธาว์เป็นเกลือที่เหมาะที่จะใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม เพราะมีความชื้น
Ca2+ และ Mg2+ ต่า
2. เกลือสมุทร เหมาะสาหรับใช้บริโภค เพราะมีไอโอดีนอยู่
ร่างกายต้องการไอโอดีนประมาณ 75 มิลลิกรัมต่อปีเมื่อได้รับไอโอดีนร่างกายจะนา
ไปเก็บไว้ใน ต่อมไทรอยด์ ซึ่งทาหน้าที่ควบคุมสมอง ประสาท และเนื้อเยื่อต่างๆ ถ้า
ขาดจะเป็นโรคคอพอก และถ้าขาดตั้งแต่ยังเด็ก ร่างกายจะแคระแกร็น สติปัญญา
ต่า หูหนวก เป็นใบ้ ตาเหล่และอัมพาต
การผลิตเกลือ
การผลิตเกลือ

More Related Content

What's hot

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
Attapon Phonkamchon
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
Thitaree Permthongchuchai
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของราก
Biobiome
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
Jariya Jaiyot
 

What's hot (20)

บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
Lab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsLab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applications
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
 
กรดเบส ม5
กรดเบส ม5กรดเบส ม5
กรดเบส ม5
 
Rate012
Rate012Rate012
Rate012
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
 
การกรอง
การกรองการกรอง
การกรอง
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของราก
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
มลพิษทางดิน
มลพิษทางดินมลพิษทางดิน
มลพิษทางดิน
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57
 

Viewers also liked

เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
Flook Owen'zl
 
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
Korpong Sae-lee
 
เคมี ดีบุก (Tin)
เคมี ดีบุก (Tin)เคมี ดีบุก (Tin)
เคมี ดีบุก (Tin)
yewsokoza
 
อัญมณีประจำวันเกิด
อัญมณีประจำวันเกิดอัญมณีประจำวันเกิด
อัญมณีประจำวันเกิด
guestec5984
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
medfai
 
ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี รายวิชาเคมีพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึก...
ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์  เรื่อง  ปฏิกิริยาเคมี  รายวิชาเคมีพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึก...ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์  เรื่อง  ปฏิกิริยาเคมี  รายวิชาเคมีพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึก...
ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี รายวิชาเคมีพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึก...
watchareeii
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
Phasitta Chem
 
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมบทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
Jariya Jaiyot
 

Viewers also liked (20)

เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
 
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
 
เกลือ
เกลือเกลือ
เกลือ
 
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมบทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
Industrial11
Industrial11Industrial11
Industrial11
 
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
อุตสาหกรรมนาเกลือ
อุตสาหกรรมนาเกลืออุตสาหกรรมนาเกลือ
อุตสาหกรรมนาเกลือ
 
เคมี ดีบุก (Tin)
เคมี ดีบุก (Tin)เคมี ดีบุก (Tin)
เคมี ดีบุก (Tin)
 
อัญมณีประจำวันเกิด
อัญมณีประจำวันเกิดอัญมณีประจำวันเกิด
อัญมณีประจำวันเกิด
 
ทัศนอุปกรณ์
ทัศนอุปกรณ์ทัศนอุปกรณ์
ทัศนอุปกรณ์
 
แร่รัตนชาติ
แร่รัตนชาติแร่รัตนชาติ
แร่รัตนชาติ
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
 
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปังแผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
แผนภาพกระบวนการผลิตขนมปัง
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี รายวิชาเคมีพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึก...
ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์  เรื่อง  ปฏิกิริยาเคมี  รายวิชาเคมีพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึก...ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์  เรื่อง  ปฏิกิริยาเคมี  รายวิชาเคมีพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึก...
ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี รายวิชาเคมีพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึก...
 
Calculus www.clipvidva.com
Calculus www.clipvidva.com Calculus www.clipvidva.com
Calculus www.clipvidva.com
 
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมบทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
เฉลย Pat1
เฉลย Pat1เฉลย Pat1
เฉลย Pat1
 

การผลิตเกลือ