SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 3
Baixar para ler offline
เส้นการมองต่ากว่าผู้สังเกต
ตาแหน่งการสังเกต เส้นระดับสายตา
เส้นการมองเหนือผู้สังเกต
วัตถุ
มุมเงย
มุมก้ม
ใบความรู้ที่ 5
เรื่อง การนาความรู้เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้ในการแก้ปัญหา
การหาระยะทางและความสูง
ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
การประยุกต์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
การนาความรู้เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้ในการหาระยะทางและความสูงของสิ่งต่าง ๆ
ควรมีความรู้เรื่องเส้นระดับสายตา มุมก้ม และมุมเงย
1. เส้นระดับสายตา คือเส้นตรงที่ขนานกับผิวน้าทะเล หรือขนานกับพื้นราบ
2. มุมก้ม (angle of depression) คือมุมที่เกิดจากเส้นการมองต่ากว่าผู้สังเกตทามุมกับ
ระดับสายตา โดยมีตาแหน่งของการสังเกตเป็นจุดยอดมุม
3. มุมเงย (angle of elevation) คือที่เกิดจากเส้นของการมองเหนือผู้สังเกตทามุมกับ
ระดับสายตา โดยมีตาแหน่งการสังเกตเป็นจุดยอดมุม ดังรูป
ตัวอย่างที่ 1 พงษ์ศักดิ์ยืนห่างจากตึกแห่งหนึ่ง 120 เมตร เมื่อมองไปบนยอดตึกเป็นมุมเงยเท่ากับ
40O
จงหาว่าตกนี้สูงกี่เมตร
วิธีทา ให้ BC แทนความสูงของตึก
จากรูป o
AB
BC
40tan
BC = AB tan 40O
 120 839.0
 101
 ตึกนี้สูงประมาณ 101 เมตร ตอบ
ตัวอย่างที่ 2 ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนหน้าผาริมทะเล ซึ่งสูงจากระดับน้าทะเล 75 เมตร มองเห็น
เรือลาหนึ่งเป็นมุมก้ม 30 o
จงหาว่าเรืออยู่ห่างจากหน้าผาประมาณกี่เมตร
วิธีทา ให้ AB แทน ระยะทางที่เรืออยู่ห่างจากหน้าผา
BC แทน ความสูงของหน้าผาที่ชายผู้นั้นอยู่สูงจากระดับน้าทะเล 75 เมตร
เนื่องจาก AB//CD
 o30BAˆCCAˆD  มุมที่มองเห็นเรือ
จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC จะได้
o30tan
AB
BC

o30tan
BC
AB 
375
 75  1.732
 129.9
ดังนั้นเรืออยู่ห่างจากหน้าผาประมาณ 129.9 เมตร ตอบ
A B
120
C
40
A B
75
C
30
30
D
ตัวอย่างที่ 3 มงคลยืนอยู่บนประภาคารสังเกตเห็นเรือสองลาจอดอยู่ในทะเลทางทิศตะวันออกของ
ประภาคารในแนวเส้นตรงเดียวกัน ทามุมก้ม 30o
และ 60o
กับแนวระดับ ประภาคารแห่งนี้อยู่
สูงจากระดับน้าทะเลประมาณท่าใด ถ้าเรือทั้งสองลาอยู่ห่างกัน 200 เมตร
วิธีทา ให้ A เป็นตาแหน่งที่นายมงคลยืน
AB แทนความสูงของประภาคาร
C แทนเรือลาที่หนึ่ง
D แทนเรือลาที่สอง
o60CAˆE,o30DAˆE 
CD = 200 เมตร
เนื่องจาก DB//AE
ดังนั้น o60BCˆA,o30BDˆA 
จาก  มุมฉาก ABC จะได้ o60tan
BC
AB

o60tanBCAB 
AB BC3 ………………….(1)
จาก  มุมฉาก ABC จะได้ o30tan
200BC
AB


o30tan)200BC(AB 
AB
)200BC(
3
1
 ………….(2)
(1) = (2) )200BC(
3
1
BC3 
3 BC = BC + 200
2 BC = 200
BC = 100
แทนค่า BC ใน (1)
)100(3AB 
100732.1 
 173.2
ประภาคารอยู่สูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 173.2 เมตร ตอบ
A
B
C D
E
60
60 30
30

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48fเฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48fUnity' Aing
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
การหารพหุนาม
การหารพหุนามการหารพหุนาม
การหารพหุนามkroojaja
 
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งเฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกแบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกpeter dontoom
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกพัน พัน
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายJariya Jaiyot
 
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 sawed kodnara
 
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิต
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิตวิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิต
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิตkrutip Kanayat
 

Mais procurados (20)

เฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48fเฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48f
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
 
การหารพหุนาม
การหารพหุนามการหารพหุนาม
การหารพหุนาม
 
Onet คณิต ม.3 ปี52 55
Onet คณิต ม.3 ปี52 55Onet คณิต ม.3 ปี52 55
Onet คณิต ม.3 ปี52 55
 
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งเฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกแบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
เวกเตอร์
เวกเตอร์เวกเตอร์
เวกเตอร์
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิต
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิตวิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิต
วิเคราะห์หลักสูตรการสอนคณิต
 

Destaque

ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติmou38
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นsawed kodnara
 
ประยุกต์ตรีโกณ1
ประยุกต์ตรีโกณ1ประยุกต์ตรีโกณ1
ประยุกต์ตรีโกณ1chianprachya
 
เอกลักษณ์ตรีโกณฯ
เอกลักษณ์ตรีโกณฯเอกลักษณ์ตรีโกณฯ
เอกลักษณ์ตรีโกณฯkrupatcharin
 
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริง
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริงแบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริง
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริงNittaya Noinan
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionAon Narinchoti
 
ฟังก์ชันตรีโกณมิติสูตรลดระยะเวลาเรียน
ฟังก์ชันตรีโกณมิติสูตรลดระยะเวลาเรียนฟังก์ชันตรีโกณมิติสูตรลดระยะเวลาเรียน
ฟังก์ชันตรีโกณมิติสูตรลดระยะเวลาเรียนJutatip Ni
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
สมุดเล่มเล็กเรื่องจำนวนจริง
สมุดเล่มเล็กเรื่องจำนวนจริงสมุดเล่มเล็กเรื่องจำนวนจริง
สมุดเล่มเล็กเรื่องจำนวนจริงKidneepper Nana
 
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014Nattakarn Namsawad
 

Destaque (20)

44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติ
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
 
ประยุกต์ตรีโกณ1
ประยุกต์ตรีโกณ1ประยุกต์ตรีโกณ1
ประยุกต์ตรีโกณ1
 
เอกลักษณ์ตรีโกณฯ
เอกลักษณ์ตรีโกณฯเอกลักษณ์ตรีโกณฯ
เอกลักษณ์ตรีโกณฯ
 
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริง
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริงแบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริง
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริง
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm function
 
History
HistoryHistory
History
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
ฟังก์ชันตรีโกณมิติสูตรลดระยะเวลาเรียน
ฟังก์ชันตรีโกณมิติสูตรลดระยะเวลาเรียนฟังก์ชันตรีโกณมิติสูตรลดระยะเวลาเรียน
ฟังก์ชันตรีโกณมิติสูตรลดระยะเวลาเรียน
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Prob
ProbProb
Prob
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
สมุดเล่มเล็กเรื่องจำนวนจริง
สมุดเล่มเล็กเรื่องจำนวนจริงสมุดเล่มเล็กเรื่องจำนวนจริง
สมุดเล่มเล็กเรื่องจำนวนจริง
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
 
Uprightschool
UprightschoolUprightschool
Uprightschool
 
Plan2
Plan2Plan2
Plan2
 

Mais de Aon Narinchoti

รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 
แนะนำวิชา
แนะนำวิชาแนะนำวิชา
แนะนำวิชาAon Narinchoti
 
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศAon Narinchoti
 
ปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสAon Narinchoti
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามAon Narinchoti
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1Aon Narinchoti
 
เครื่องเล่น Mp๓
เครื่องเล่น Mp๓เครื่องเล่น Mp๓
เครื่องเล่น Mp๓Aon Narinchoti
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 

Mais de Aon Narinchoti (20)

Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 
แนะนำวิชา
แนะนำวิชาแนะนำวิชา
แนะนำวิชา
 
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโส
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนาม
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1
 
เครื่องเล่น Mp๓
เครื่องเล่น Mp๓เครื่องเล่น Mp๓
เครื่องเล่น Mp๓
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 

Know5

  • 1. เส้นการมองต่ากว่าผู้สังเกต ตาแหน่งการสังเกต เส้นระดับสายตา เส้นการมองเหนือผู้สังเกต วัตถุ มุมเงย มุมก้ม ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การนาความรู้เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้ในการแก้ปัญหา การหาระยะทางและความสูง ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การประยุกต์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ การนาความรู้เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้ในการหาระยะทางและความสูงของสิ่งต่าง ๆ ควรมีความรู้เรื่องเส้นระดับสายตา มุมก้ม และมุมเงย 1. เส้นระดับสายตา คือเส้นตรงที่ขนานกับผิวน้าทะเล หรือขนานกับพื้นราบ 2. มุมก้ม (angle of depression) คือมุมที่เกิดจากเส้นการมองต่ากว่าผู้สังเกตทามุมกับ ระดับสายตา โดยมีตาแหน่งของการสังเกตเป็นจุดยอดมุม 3. มุมเงย (angle of elevation) คือที่เกิดจากเส้นของการมองเหนือผู้สังเกตทามุมกับ ระดับสายตา โดยมีตาแหน่งการสังเกตเป็นจุดยอดมุม ดังรูป
  • 2. ตัวอย่างที่ 1 พงษ์ศักดิ์ยืนห่างจากตึกแห่งหนึ่ง 120 เมตร เมื่อมองไปบนยอดตึกเป็นมุมเงยเท่ากับ 40O จงหาว่าตกนี้สูงกี่เมตร วิธีทา ให้ BC แทนความสูงของตึก จากรูป o AB BC 40tan BC = AB tan 40O  120 839.0  101  ตึกนี้สูงประมาณ 101 เมตร ตอบ ตัวอย่างที่ 2 ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนหน้าผาริมทะเล ซึ่งสูงจากระดับน้าทะเล 75 เมตร มองเห็น เรือลาหนึ่งเป็นมุมก้ม 30 o จงหาว่าเรืออยู่ห่างจากหน้าผาประมาณกี่เมตร วิธีทา ให้ AB แทน ระยะทางที่เรืออยู่ห่างจากหน้าผา BC แทน ความสูงของหน้าผาที่ชายผู้นั้นอยู่สูงจากระดับน้าทะเล 75 เมตร เนื่องจาก AB//CD  o30BAˆCCAˆD  มุมที่มองเห็นเรือ จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC จะได้ o30tan AB BC  o30tan BC AB  375  75  1.732  129.9 ดังนั้นเรืออยู่ห่างจากหน้าผาประมาณ 129.9 เมตร ตอบ A B 120 C 40 A B 75 C 30 30 D
  • 3. ตัวอย่างที่ 3 มงคลยืนอยู่บนประภาคารสังเกตเห็นเรือสองลาจอดอยู่ในทะเลทางทิศตะวันออกของ ประภาคารในแนวเส้นตรงเดียวกัน ทามุมก้ม 30o และ 60o กับแนวระดับ ประภาคารแห่งนี้อยู่ สูงจากระดับน้าทะเลประมาณท่าใด ถ้าเรือทั้งสองลาอยู่ห่างกัน 200 เมตร วิธีทา ให้ A เป็นตาแหน่งที่นายมงคลยืน AB แทนความสูงของประภาคาร C แทนเรือลาที่หนึ่ง D แทนเรือลาที่สอง o60CAˆE,o30DAˆE  CD = 200 เมตร เนื่องจาก DB//AE ดังนั้น o60BCˆA,o30BDˆA  จาก  มุมฉาก ABC จะได้ o60tan BC AB  o60tanBCAB  AB BC3 ………………….(1) จาก  มุมฉาก ABC จะได้ o30tan 200BC AB   o30tan)200BC(AB  AB )200BC( 3 1  ………….(2) (1) = (2) )200BC( 3 1 BC3  3 BC = BC + 200 2 BC = 200 BC = 100 แทนค่า BC ใน (1) )100(3AB  100732.1   173.2 ประภาคารอยู่สูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 173.2 เมตร ตอบ A B C D E 60 60 30 30