SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
Clinical Practice Guideline of Anemia (CPG)
                                                                      ธราธร ธรรมประสิทธิ์

บทนํา
         โลหิตจางเปนภาวะที่พบมากในเวชปฏิบัติ สาเหตุของโลหิตจางอาจเปนจากการสูญเสียเลือดแบบเรื้อรัง
ในทางเดินอาหารซึ่งเปนไดตั้งแตแผลในกระเพาะอาหารจนถึงมะเร็งในทางเดินอาหารจากการที่เม็ดเลือดแดงแตก
งายและจากไขกระดูกเสื่อมประสิทธิภาพในดานการสรางเม็ดเลือดหรือมะเร็งลุกลามในไขกระดูก ภาวะโลหิตจาง
ที่รุนแรงมีผลใหรางกายออนเพลีย เพิ่มการทํางานของหัวใจจนบางครั้งอาจทําใหเกิดภาวะหัวใจวาย นอกจากนี้
อาจมีอาการอื่นที่เปนผลจากโรคที่เปนตนเหตุ
         บทความนี้ใหขอคิดการพิจารณาการเริ่มสืบคน แนวทางในการสืบคนหาสาเหตุ การประเมิน ภาวะโลหิต
                         
จางเพื่อเปนแนวปฏิบัตในเวชปฏิบัตท่วไป
                       ิ          ิ ั
การพิจารณาการเริ่มสืบคนภาวะโลหิตจาง
        การพิจารณาสืบคนผูปวยภาวะโลหิตจางเริ่มจากการใชขอมูลจากประวัติ การตรวจรางกายและคาความ
เขมขนของ hemoglobin( Hb) และหรือคา Hematocrit (Hct ) แนะนําใหเริ่มสืบคนสาเหตุของภาวะโลหิตจางเมื่อ
คาความเขมขนของ Hb และหรือ Hct ลดลงเหลือต่ํากวารอยละ 80 ของคาเฉลี่ยของคนปกติซึ่งเทากับ Hct 33 %
ในสตรีวัยเจริญพันธุและ Hct 36 % ในผูชายและสตรีวัยหมดระดู สําหรับผูปวยบางรายที่มีความเขมขน Hb
ภาวะปกติสงกวาคนทั่วไป อาจตองพิจารณาสืบคนเมื่อมีคาความเขมขนของ Hbที่สูงกวาของบุคคลทั่วไป เชนในผู
           ู
ปวย COPD ที่มีภาวะขาดอ็อกซิเจนเรื้อรัง เปนตน

แนวทางการปฏิบัตเมื่อพบภาวะโลหิตจาง
                  ิ
       กอนจะพิจารณาคนหาสาเหตุ ความรุนแรงของภาวะโลหิตจาง ควรทําความเขาใจกับพื้นฐานของการ
จําแนกสาเหตุ ความสําคัญในการซักประวัติ การตรวจรางกายผูปวย และการตรวจทางหองปฏิบัติการที่เกี่ยวของ
ในภาวะโลหิตจางดังนี้
1. การจําแนกสาเหตุของภาวะโลหิตจาง
       จําแนกตาม pathophysiologic และ morphologic approach ไดแก
       1.1 ภาวะซีด ตาม pathophysiologic approach แบงเปน 3 กลุมใหญ (ตาราง 1) ไดแก
            1.2.1 มีการสรางเม็ดเลือดแดงไดนอยลง
            1.2.2 มีการทําลายเม็ดเลือดแดงมากขึ้น
            1.2.3 มีการสูญเสียเลือด
1.2 สาเหตุของภาวะโลหิตจาง ตาม morphologic approach ( แสดงรายละเอียดในตาราง 2 )คือ
            1.2.1 Normochromic normocytic anemia
            1.2.2 Hypochromic microcytic anemia
            1.2.3 Macrocytic anemia

2. ความสําคัญของการซักประวัติในผูปวยที่มีภาวะโลหิตจาง
        การซักประวัติเปนระบบอยางถูกตอง เปนสิ่งสําคัญที่จะไดขอมูลเพื่อนําไปสูการวินิจฉัยโรคหรือสาเหตุของ
ภาวะซีดโลหิตจางได และจะชวยในการตัดสินใจเพื่อเลือกสงตรวจทางหองปฎิบติการที่เหมาะสมตอไป
                                                                               ั
        ในการซักประวัติผูปวยที่มีภาวะโลหิตจาง ใหแยกเปน 3 ประเด็น ไดแก
        2.1 ประวัติเพื่อแยกโรคอื่นจากอาการที่เปนผลจากภาวะโลหิตจางและรายละอียดของการดําเนิน
             อาการโลหิตจางเพื่อยืนยันการเกิดภาวะโลหิตจาง ความรุนแรง ความเร็วและระยะเวลาในการเกิด
        2.2 ประวัติเพื่อแยกตามสาเหตุหลักที่ทําใหเกิดภาวะโลหิตจาง ไดแก
        ประวัติเกี่ยวเนื่องกับการเสียเลือด เชน ถายดํา อาเจียนเปนเลือด ประวัติอุบัติเหตุ การผาตัด ประวัติระดู
อาการของภาวะ hypovolumia
        ประวัติเกี่ยวกับการทําลายเม็ดเลือดแดงมากขึ้น เชน ดีซาน ปสสาวะสีเขม ปสสาวะสีดํา
ประวัติดีซานหรือโลหิตจางในครอบครัว ประวัติที่เคยมี hemolytic crisis
        ประวัติเกี่ยวกับไขกระดูกทํางานผิดปกติ เชน เลือดออกผิดปกติ ไข กอนตามตัว น้ําหนักลด และปวด
กระดูก เปนตน
        2.3 ประวัติอ่นเพื่อใหการวินิจฉัยโดยละเอียดหรือหาสาเหตุของโรคที่ทําใหเกิดภาวะโลหิตจาง
                         ื
             เชน
        ประวัติการใชยา ประวัติที่สืบเนื่องกับโรค SLE ในผูปวย AIHA
        ประวัติรายละเอียดของการเสียเลือดหรือภาวะเสี่ยงที่ทําใหเกิดการเสียเลือดเรื้อรังในภาวะซีดจากการขาด
เหล็ก เปนตน
3. การตรวจรางกายผูปวยที่มีภาวะโลหิตจาง
        การตรวจรางกายชวยเสริมการซักประวัติเพื่อหาสาเหตุของภาวะโลหิตจาง โดยเนนการตรวจหาดังนี้
        3.1. ความรุนแรงของภาวะโลหิตจาง
              ดูสีของเยื่อบุตางๆเชน conjunctiva ริมฝปาก และผิวหนัง


        3.2. สาเหตุหลักของภาวะโลหิตจาง
ภาวะสรางนอยไดแกอาการแสดงของ
                    เลือดออกตามผิวหนังหรือเยื่อบุ
                    ตับ มาม ตอมน้ําเหลืองโต ไข ปวดกระดูกเมื่อกด
                ภาวะทําลายมาก
                    ดีซาน ตับ มามโต
                ภาวะเลือดออก
                    ความดันโลหิต ชีพจร
                    ตรวจทางทวารหนักเพื่อสืบคนการเสียเลือดในทางเดินอาหาร
         3.3. สาเหตุเฉพาะของภาวะโลหิตจาง
                ลิ้นเลี่ยน ในภาวะโลหิตจางจากการขาดเหล็ก
                malar rash, ขออักเสบ ใน AIHA , ATP
                thalassemic faces
                gum hypertrophy ใน acute leukemia
                บวม ความดันโลหิตสูง ใน CRF
4. ขอสังเกตเฉพาะในภาวะโลหิตจางบางโรค
      4.1 Acute anemia
         ผูปวยบางรายอาจใหประวัติชัดเจนวามีอาการซีดในเวลาไมกี่วันกอนพบแพทย ลักษณะของการมีอาการ
ซีดลงในระยะเวลาอันสั้นจะชวยใหการวินิจฉัยแยกโรคงายขึ้น โดยทําใหพิจารณาโรคใน 2 กลุมใหญไดแก acute
blood loss และ acute hemolysis ซึ่งไดแก G6PD deficiency with hemolytic crisis, Hb H with hemolytic
crisis, Congenital spherocytosis, AIHA, Malaria และ ABO incompatibility ( ตาราง 3 )
      4.2 Pancytopenia ( ตาราง 4 )
         ภาวะ pancytopenia เปนภาวะที่สวนใหญเกิดจากการสรางเม็ดเลือดของไขกระดูกลดลง ไดแก ภาวะขาด
hematopoietic stem cell เชน aplastic anemia , มีเม็ดเลือดหรือเซลผิดปกติในไขกระดูกเชน myelodysplastic
syndrome (MDS), acute leukemia, multiple myeloma และ metastatic cancer เปนตน นอกจากนี้อาจเกิด
จากภาวะติดเชื้อแบบเฉียบพลันและเรื้อรังเชน ภาวะ severe sepsis, วัณโรค และการติดเชื้อฉวยโอกาสใน
immunocompromized host โดยเฉพาะอยางยิ่งผูปวย AIDS เปนตน
         ภาวะอื่นที่มีการสรางเม็ดเลือดลดลงจนทําใหเกิด pancytopenia ไดแก megaloblastic anemia, ผลของ
ยาตางๆรวมถึงยาเคมีบําบัดตอไขกระดูก, การฉายรังสีเปนบริเวณกวางซึ่งมีผลตอไขกระดูก
         นอกจากนี้อาจเกิดเนื่องจากมีการทําลายเม็ดเลือดมากขึ้นเชนกรณี Paroxysmal Nocturnal
Hemoglobinuria ( PNH ), ภาวะ hyperspenism, SLE เปนตน
5. การตรวจทางหองปฏิบัตการ     ิ
         การตรวจทางหองปฎิบัติการที่จะชวยประเมินผูปวยที่มีภาวะโลหิตจางที่สําคัญไดแก
         5.1 Complete blood count (CBC), red cell indices และ reticulocyte count
         การวัดระดับฮีโมโกลบินและคาฮีมาโตคริตจะบอกความรุนแรงของภาวะโลหิตจาง การนับจํานวนเม็ด
เลือดเพื่อพิจารณาหาความผิดปกติของจํานวนเม็ดเลือดขาวและเกร็ดเลือดรวมดวย หากผูปวยมีภาวะโลหิตจาง
                                                                                       
รวมกับเม็ดเลือดขาวและหรือเกร็ดเลือดลดต่ําลงมักจะชี้บอกถึงโรคที่มีสาเหตุจากความผิดปกติในไขกระดูกมากขึ้น
         การดูคา red cell indices เพื่อชวยแบงกลุมของโลหิตจาง เชน
กลุม hypochromic microcytic anemia (MCV < 80 fl.) จะพิจารณา iron deficiency anemia, thalassemic
disease, thalassemia trait , กลุม macrocytic anemia (MCV > 100 fl.) พิจารณากลุม megaloblastic anemia
และภาวะที่มี reticulocytosis มาก
          การตรวจนับ reticulocyte หากเพิ่มขึ้น (corrected reticulocyte count > 3%)จะชี้บอกถึงภาวะที่ไข
กระดูกตอบสนองตอภาวะโลหิตจางไดดีเชนภาวะเลือดออก หรือภาวะ hemolysis และไมพิจารณาสาเหตุของ
ภาวะโลหิตจางที่เกิดจากความผิดปกติของไขกระดูก
          5.2 การดูสเมียรเลือด ( Blood smear )
          การดูสเมียรเลือดเปนการชวยเสริมขอมูลจากประวัติ การตรวจรางกาย การตรวจ CBC และดัชนีของเม็ด
เลือดแดง เพื่อใหไดการวินิจฉัยโรคที่ชัดเจนขึ้น เชน ประวัติและผลการตรวจรางกายชี้บอกโรคในกลุม acquired
hemolytic anemia (AIHA) ขณะเดียวกันมีคา MCV ปกติหรือสูงขึ้น รวมกับ reticulocytosis การดูสเมียรเลือดเพื่อ
เพิ่มน้ําหนักของขอมูลในการวินิจฉัย hemolytic anemia ควรพบ microspherocyte และเพิ่มการพิจารณากลุม
AIHA มากขึ้นเมื่อพบ autoagglutination
        5.3 การตรวจพิเศษอื่นๆ
เปนการตรวจเพื่อใหไดการวินจฉัยโรคที่ชดเจน แนวทางการเลือกการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคมีดังนี้
                            ิ           ั
กลุม Hereditary hemolytic anemia:
        Thalassemic disease or trait
                - Hemoglobin electrophoresis
                - Inclusion body สําหรับ Hb H disease
        กลุมนอกเหนือจาก thalassemia
                - Osmotic fragility test, AGLT สําหรับ congenital spherocytosis
                - ระดับ G6PD ในเลือดสําหรับ G6PD deficiency
- Autohemolysis สําหรับ congenital hemolytic anemia อื่น ๆ
กลุม Acquired hemolytic anemia:
        AIHA
                - Coombs' test
        PNH
                - Urine hemosiderin
                - HAM test
กรณี Iron deficiency anemia
                - Stool examination and occult blood
                - Serum iron ,TIBC, serum ferritin
กรณี Chronic renal failure
                - BUN, creatinine
กรณี Hypothyroidism และ Hyperthyroidism
                - Thyroid function test
กรณี Megaloblastic anemia
                - Vitamin B12 และ folate levels ใน serum และ erythrocytes
กรณี Multiple myeloma
                - Bence Jones proteinuria , Globulin, Protein electrophoresis
ภาวะโลหิตจางที่มีสาเหตุจากไขกระดูกหรือกรณีหาไมพบสาเหตุ
                - Bone marrow aspiration หรือตรวจรวมกับ bone marrow biopsy

ความบกพรองที่พบไดเสมอในการดูแลผูปวยภาวะโลหิตจาง
         ความบกพรองที่มักพบในการดูแลผูปวยภาวะโลหิตจางนอกจากการซักประวัติและตรวจรางกายที่ไมครบ
ประเด็นสําคัญแลวไดแก
         - การใหยาบํารุงเพิ่มธาตุเหล็กหรือใหเลือดโดยไมหาสาเหตุของภาวะโลหิตจาง
         ดังที่แสดงในขั้นตนถึงสาเหตุนานับประการของภาวะโลหิตจาง ดังนั้นการใหยาบํารุงเพิ่มธาตเหล็กใน
เลือดหรือใหเลือดโดยไมหาสาเหตุของภาวะโลหิตจางนั้น เปนการชวยผูปวยเพียงชั่วคราวหรือไมไดผล และบาง
ครั้ง อาการของโรคที่เปนตนเหตุอาจรุนแรงขึ้น ควรพยายามเก็บขอมูลเพื่อการวินิจฉัยภาวะโลหิตจางใหไดแนชัด
และถึงที่สุดเพื่อการรักษาที่เหมาะสมแกตนเหตุโรคดวย เชน ผูปวยที่มีภาวะซีดจากการขาดเหล็กอาจมีตนเหตุจาก
มะเร็งในทางเดินอาหาร การไมพยายามหาสาเหตุเพื่อการรักษาที่เหมาะสมหรือหาชาอาจทําใหเปลี่ยนการ
พยากรณโรคจนทําใหผูปวยถึงแกชีวิตเร็วขึ้น
        - การสงตรวจ CBC โดยไมสงตรวจ MCV และ reticulocyte count รวมดวย
        ทําใหขาดรายละเอียดในการชวยจําแนกภาวะโลหิตจางตามลักษณะเม็ดเลือดแดง และ ความสามารถ
ของไขกระดูกในการสรางเม็ดเลือดแดง
        การมีขอมูลเหลานี้ครบถวนจะชวยใหวินิจฉัยโรคไดรวดเร็ว เชนผูปวยที่มีอาการซีดและเพลียนาน 2 เดือน
ไมมีประวัติที่บงชี้ถึง hemolytic anemia ตรวจพบลิ้นเลี่ยน ตรวจหา MCV ได 60 fl. และ reticulocyte 0.5%
พิจารณา iron deficiency anemia มากที่สุด ใหดาเนินการหาสาเหตุและใหการรักษาไดเลย
                                                 ํ
โดยสรุป ขั้นตอนดูแลผูปวยภาวะโลหิตจางเพื่อการวินิจฉัยโรค (CPG)ไดแก
1. ประเมินผูปวยที่มีอาการซีด เพลียหรือมีขอมูลวาโลหิตจางเพื่อความชัดเจนของภาวะโลหิตจาง
2. ซักประวัติและตรวจรางกายเพื่อประเมินภาวะโลหิตจางในประเด็นสําคัญดังนี้
    2.1 severity, onset
    2.2 pathophysiologic approach
    2.3 details of the causes of anemiaa
3. สงตรวจ CBC, MCV, reticulocyte count, platelet count, ( blood smear) หรือสงรวมกับการ ตรวจพิเศษอื่น
4. สรุปขอมูลตาม pathophysiologic และ morphologic approach

บทสงทาย
        บทความนี้ใหแนวปฏิบัติสําหรับแพทยเวชปฏิบัตกรณีภาวะโลหิตจางโดยทบทวนพื้นฐานความรูในการ
                                                   ิ
จําแนกสาเหตุ เนนความสําคัญในรายละเอียดการซักประวัติและตรวจรางกาย การเนนการตรวจ CBC, MCV และ
reticulocyte count และใหรายละเอียดการเลือกการตรวจทางหองปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัยตนเหตุของภาวะ
โลหิตจางใหถึงที่สดโดยสรุปจากขอมูลตาม pathophysiologic และ morphologic approach
                  ุ
ตาราง 1. Pathophysiologic classification of anemia
1. มีการสรางเม็ดเลือดแดงไดนอยลง
    1.1. Hypoproliferation
         Iron deficient erythropoiesis
                Iron deficiency , Anemia of chronic disorders
       Erythropoietin deficiency
                Renal disease, Endocrine deficiency
       Hypoplastic anemia
                Aplastic anemia, Pure red cell aplasia
       Infiltration
                Leukemia ,Metastatic carcinoma, Myelofibrosis
    1.2. Ineffective
         Megaloblastic anemia
                Vitamin B12 deficiency , Folate deficiency
       Microcytic
                Sideroblastic anemia
2. มีการทําลายเม็ดเลือดแดงมากขึ้น
   2.1 Inherited hemolytic anemia
       2.1.1 Defects in erythrocyte membrane
                Hereditary spherocytosis , Hereditary elliptocytosis
       2.1.2 Deficiency of erythrocyte enzymes
                Pyruvate kinase defiency ,G6PD deficiency
       2.1.3 Defects in globin structure and synthesis
                Thalassemia, Hemoglobinopathy
2.2 Acquired hemolytic anemia
      2.2.1 Immune hemolytic anemia
              Autoimmue hemolytic anemia
              Transfusion of incompatible blood
              Hemolytic disease of the newborn
      2.2.2 Microangiopathic hemolytic anemia
              Thrombotic thrombocytopenia purpura
              Hemolytic uremic syndrome
              Disseminated intravascular coagulation
              Prostatic valves and other cardiac abnormality
      2.2.3 Infectious agents
              Malaria , Clostridial infection
      2.2.4 Chemicals, drugs and venoms
      2.2.5 Paroxysmal nocturnal hemoglobinuria
      2.2.6 Others
              Hypersplenism
              Hypophosphatemia
              Spur cell anemia in liver disease
3. มีการสูญเสียเลือด
   3.1 External bleeding
   3.2 Internal bleeding
ตาราง 2. Classification of anemia: based on MCV and reticulocyte count

Reticulocyte
               low MCV                normal MCV                         high MCV
count
               Iron deficiency      Chronic disease                      Megaloblastic anemia
                                    Aplastic anemia
               Lead poisoning                                            MDS
                                    Pure red cell aplasia
low            Chronic disease                                           Alcoholism
                                    Marrow replacement or infiltration
               Aluminum toxicity                                         Liver disease
                                    MDS
               Protein malnutrition                                      Hypothryoidism
                                    Renal failure
               Thalassemia trait    Hypersplenism
normal
               Sideroblastic anemia Dyserythropoietic anemia
                                      Recent blood loss
                                      Hemolytic anemia
                                      [Ab-mediated hemolysis
               Thalassemia or         Hypersplenism
                                                                       Reticulocytosis
               hemoglobinopathy       Microangiopathy (HUS, TTP, DIC,
high                                                                   Treated B12 or folate
               PNH                    Kasabach-Merritt)
                                                                       deficiency
                                      Membranopathies (spherocytosis,
                                      eliptocytosis)
                                      Enzyme disorders (G6PD, pyruvate
                                      kinase) ]
ตาราง 3. Causes of Acute Anemia
Acute blood loss
Acute hemolysis
     G-6-PD deficiency with hemolytic crisis
     Hemohlobin H with hemolytic crisis
     Congenital spherocytosis
     Autoimmune hemolytic anemia
     Malaria
     ABO incompatibility
ตาราง 4. Causes of Pancytopenia
    Hypoplastic anemia
            Aplastic anemia, effect of chemotherapy, radiation
    Infiltration
            Leukemia, metastasis, myelofibrosis , multiple myeloma
    Infection
            Tuberculosis , opportunistic infections, severe sepsis
    Ineffective hematopoiesis
            MDS , megaloblastic anemia
    Increased destruction
            PNH , hypersplenism, SLE
CPG Anemia
Anemia      Hct < 36 % in male, postmenopausal women
         Hct < 33% in premenopausal women


                                                            Acut e blood loss
Severity , Onset                  Acute Anemia              Acute Hemolysis (Table 3)


                                                                   Acute blood loss
                                                                   Hemolysis
History taking loss
          Acute blood
                                Pathophysiologic approach
Physical examination                                               Inadequate production
                                                                      (Table 1)



Laboratory Evaluation

                                                       Morphpologic approach
             CBC,MCV,                                  (Table 2)
             reticulocyte count                        Pancytopenia
                                                       (Table 4)

Specific labs (2.4.3)
                                                            Diagnose the cause of
                                                            Anemia
เอกสารอางอิง
1. Hillman RS. Anemia. In Fauci, Braunwald, Isselbacher, Wilson et al, eds.
   Harrison’s Principle of Internal medicine. 14thed. New York: McGraw-
   Hill,1998;334-9.
2. Lee GR. Anemia: General aspects. In Lee GR, Foerster J, Lukens J,
   Paraskevas F, Greer JP, Rodger GM, eds. Wintrobe’s Clinical Hematology.
   10th ed. Marryland : Williams & Wilkins,1998;897-907.

More Related Content

What's hot

การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยOzone Thanasak
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurseTAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nursetaem
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Chutchavarn Wongsaree
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีCAPD AngThong
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559Kamol Khositrangsikun
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ ICwichudaice
 
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555Thorsang Chayovan
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยแนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยUtai Sukviwatsirikul
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายชนิกานต์ บุญชู
 

What's hot (20)

การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurseTAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
 
Cpg anemia
Cpg anemiaCpg anemia
Cpg anemia
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
Anemia
AnemiaAnemia
Anemia
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยแนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
 

Viewers also liked

Viewers also liked (11)

LR&H - Clinical case highlighting the approach to anaemia in small animals
LR&H - Clinical case highlighting the approach to anaemia in small animalsLR&H - Clinical case highlighting the approach to anaemia in small animals
LR&H - Clinical case highlighting the approach to anaemia in small animals
 
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
ชี้แจงแนวทางไต ปี 53
 
Approach to a case of iron defciency anaemia
Approach to a case of iron defciency anaemiaApproach to a case of iron defciency anaemia
Approach to a case of iron defciency anaemia
 
A Case of Osler-Rendu-Weber syndrome
A Case of Osler-Rendu-Weber syndromeA Case of Osler-Rendu-Weber syndrome
A Case of Osler-Rendu-Weber syndrome
 
Approach to anaemia
Approach to anaemiaApproach to anaemia
Approach to anaemia
 
Iron deficiency anemia
Iron deficiency anemiaIron deficiency anemia
Iron deficiency anemia
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
anemia ppt.
 anemia ppt. anemia ppt.
anemia ppt.
 
Iron deficiency anemia.
Iron deficiency anemia.Iron deficiency anemia.
Iron deficiency anemia.
 
Anemia
AnemiaAnemia
Anemia
 
Anemia ppt
Anemia pptAnemia ppt
Anemia ppt
 

Similar to Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)

Appoarch anemia
Appoarch anemiaAppoarch anemia
Appoarch anemiarung.3001
 
ศิริพงษ์
ศิริพงษ์ศิริพงษ์
ศิริพงษ์supphawan
 
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาทโปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาทโฮลลี่ เมดิคอล
 
Cpg thalassemia 2014-content 2
Cpg thalassemia 2014-content 2Cpg thalassemia 2014-content 2
Cpg thalassemia 2014-content 2Phatchara Chanosot
 
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์Utai Sukviwatsirikul
 
TAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine EmergencyTAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine Emergencytaem
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)Jittys Supat
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)Jittys Supat
 
Pharmacotherapy anticoagulation 56 01 24
Pharmacotherapy anticoagulation 56 01 24Pharmacotherapy anticoagulation 56 01 24
Pharmacotherapy anticoagulation 56 01 24Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to Clinical practice guideline_of_anemia(cpg) (20)

Appoarch anemia
Appoarch anemiaAppoarch anemia
Appoarch anemia
 
Approach to acute anemia
Approach to acute anemiaApproach to acute anemia
Approach to acute anemia
 
Approach bleeding extern
Approach bleeding externApproach bleeding extern
Approach bleeding extern
 
ศิริพงษ์
ศิริพงษ์ศิริพงษ์
ศิริพงษ์
 
Leukemia
LeukemiaLeukemia
Leukemia
 
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาทโปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
 
Cpg thalassemia 2014
Cpg thalassemia 2014Cpg thalassemia 2014
Cpg thalassemia 2014
 
Cpg thalassemia 2014-content 2
Cpg thalassemia 2014-content 2Cpg thalassemia 2014-content 2
Cpg thalassemia 2014-content 2
 
Cpg thalassemia 2014-content
Cpg thalassemia 2014-contentCpg thalassemia 2014-content
Cpg thalassemia 2014-content
 
Laboratory Testing
Laboratory TestingLaboratory Testing
Laboratory Testing
 
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
 
TAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine EmergencyTAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine Emergency
 
Dk
DkDk
Dk
 
Hemophilia
HemophiliaHemophilia
Hemophilia
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
 
Hypertension
HypertensionHypertension
Hypertension
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
 
Pharmacotherapy anticoagulation 56 01 24
Pharmacotherapy anticoagulation 56 01 24Pharmacotherapy anticoagulation 56 01 24
Pharmacotherapy anticoagulation 56 01 24
 
Acute renal failure
Acute renal failureAcute renal failure
Acute renal failure
 
Hemodynamic disorder
Hemodynamic disorderHemodynamic disorder
Hemodynamic disorder
 

More from Loveis1able Khumpuangdee (20)

Rollup01
Rollup01Rollup01
Rollup01
 
Protec
ProtecProtec
Protec
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Factsheet
FactsheetFactsheet
Factsheet
 
Eidnotebook54
Eidnotebook54Eidnotebook54
Eidnotebook54
 
Data l3 148
Data l3 148Data l3 148
Data l3 148
 
Data l3 147
Data l3 147Data l3 147
Data l3 147
 
Data l3 127
Data l3 127Data l3 127
Data l3 127
 
Data l3 126
Data l3 126Data l3 126
Data l3 126
 
Data l3 113
Data l3 113Data l3 113
Data l3 113
 
Data l3 112
Data l3 112Data l3 112
Data l3 112
 
Data l3 92
Data l3 92Data l3 92
Data l3 92
 
Data l3 89
Data l3 89Data l3 89
Data l3 89
 
Data l2 80
Data l2 80Data l2 80
Data l2 80
 
Hfm reccomment10072555
Hfm reccomment10072555Hfm reccomment10072555
Hfm reccomment10072555
 
Hfm work2550
Hfm work2550Hfm work2550
Hfm work2550
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Publichealth
PublichealthPublichealth
Publichealth
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 

Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)

  • 1. Clinical Practice Guideline of Anemia (CPG) ธราธร ธรรมประสิทธิ์ บทนํา โลหิตจางเปนภาวะที่พบมากในเวชปฏิบัติ สาเหตุของโลหิตจางอาจเปนจากการสูญเสียเลือดแบบเรื้อรัง ในทางเดินอาหารซึ่งเปนไดตั้งแตแผลในกระเพาะอาหารจนถึงมะเร็งในทางเดินอาหารจากการที่เม็ดเลือดแดงแตก งายและจากไขกระดูกเสื่อมประสิทธิภาพในดานการสรางเม็ดเลือดหรือมะเร็งลุกลามในไขกระดูก ภาวะโลหิตจาง ที่รุนแรงมีผลใหรางกายออนเพลีย เพิ่มการทํางานของหัวใจจนบางครั้งอาจทําใหเกิดภาวะหัวใจวาย นอกจากนี้ อาจมีอาการอื่นที่เปนผลจากโรคที่เปนตนเหตุ บทความนี้ใหขอคิดการพิจารณาการเริ่มสืบคน แนวทางในการสืบคนหาสาเหตุ การประเมิน ภาวะโลหิต  จางเพื่อเปนแนวปฏิบัตในเวชปฏิบัตท่วไป ิ ิ ั การพิจารณาการเริ่มสืบคนภาวะโลหิตจาง การพิจารณาสืบคนผูปวยภาวะโลหิตจางเริ่มจากการใชขอมูลจากประวัติ การตรวจรางกายและคาความ เขมขนของ hemoglobin( Hb) และหรือคา Hematocrit (Hct ) แนะนําใหเริ่มสืบคนสาเหตุของภาวะโลหิตจางเมื่อ คาความเขมขนของ Hb และหรือ Hct ลดลงเหลือต่ํากวารอยละ 80 ของคาเฉลี่ยของคนปกติซึ่งเทากับ Hct 33 % ในสตรีวัยเจริญพันธุและ Hct 36 % ในผูชายและสตรีวัยหมดระดู สําหรับผูปวยบางรายที่มีความเขมขน Hb ภาวะปกติสงกวาคนทั่วไป อาจตองพิจารณาสืบคนเมื่อมีคาความเขมขนของ Hbที่สูงกวาของบุคคลทั่วไป เชนในผู ู ปวย COPD ที่มีภาวะขาดอ็อกซิเจนเรื้อรัง เปนตน แนวทางการปฏิบัตเมื่อพบภาวะโลหิตจาง ิ กอนจะพิจารณาคนหาสาเหตุ ความรุนแรงของภาวะโลหิตจาง ควรทําความเขาใจกับพื้นฐานของการ จําแนกสาเหตุ ความสําคัญในการซักประวัติ การตรวจรางกายผูปวย และการตรวจทางหองปฏิบัติการที่เกี่ยวของ ในภาวะโลหิตจางดังนี้ 1. การจําแนกสาเหตุของภาวะโลหิตจาง จําแนกตาม pathophysiologic และ morphologic approach ไดแก 1.1 ภาวะซีด ตาม pathophysiologic approach แบงเปน 3 กลุมใหญ (ตาราง 1) ไดแก 1.2.1 มีการสรางเม็ดเลือดแดงไดนอยลง 1.2.2 มีการทําลายเม็ดเลือดแดงมากขึ้น 1.2.3 มีการสูญเสียเลือด
  • 2. 1.2 สาเหตุของภาวะโลหิตจาง ตาม morphologic approach ( แสดงรายละเอียดในตาราง 2 )คือ 1.2.1 Normochromic normocytic anemia 1.2.2 Hypochromic microcytic anemia 1.2.3 Macrocytic anemia 2. ความสําคัญของการซักประวัติในผูปวยที่มีภาวะโลหิตจาง การซักประวัติเปนระบบอยางถูกตอง เปนสิ่งสําคัญที่จะไดขอมูลเพื่อนําไปสูการวินิจฉัยโรคหรือสาเหตุของ ภาวะซีดโลหิตจางได และจะชวยในการตัดสินใจเพื่อเลือกสงตรวจทางหองปฎิบติการที่เหมาะสมตอไป ั ในการซักประวัติผูปวยที่มีภาวะโลหิตจาง ใหแยกเปน 3 ประเด็น ไดแก 2.1 ประวัติเพื่อแยกโรคอื่นจากอาการที่เปนผลจากภาวะโลหิตจางและรายละอียดของการดําเนิน อาการโลหิตจางเพื่อยืนยันการเกิดภาวะโลหิตจาง ความรุนแรง ความเร็วและระยะเวลาในการเกิด 2.2 ประวัติเพื่อแยกตามสาเหตุหลักที่ทําใหเกิดภาวะโลหิตจาง ไดแก ประวัติเกี่ยวเนื่องกับการเสียเลือด เชน ถายดํา อาเจียนเปนเลือด ประวัติอุบัติเหตุ การผาตัด ประวัติระดู อาการของภาวะ hypovolumia ประวัติเกี่ยวกับการทําลายเม็ดเลือดแดงมากขึ้น เชน ดีซาน ปสสาวะสีเขม ปสสาวะสีดํา ประวัติดีซานหรือโลหิตจางในครอบครัว ประวัติที่เคยมี hemolytic crisis ประวัติเกี่ยวกับไขกระดูกทํางานผิดปกติ เชน เลือดออกผิดปกติ ไข กอนตามตัว น้ําหนักลด และปวด กระดูก เปนตน 2.3 ประวัติอ่นเพื่อใหการวินิจฉัยโดยละเอียดหรือหาสาเหตุของโรคที่ทําใหเกิดภาวะโลหิตจาง ื เชน ประวัติการใชยา ประวัติที่สืบเนื่องกับโรค SLE ในผูปวย AIHA ประวัติรายละเอียดของการเสียเลือดหรือภาวะเสี่ยงที่ทําใหเกิดการเสียเลือดเรื้อรังในภาวะซีดจากการขาด เหล็ก เปนตน 3. การตรวจรางกายผูปวยที่มีภาวะโลหิตจาง การตรวจรางกายชวยเสริมการซักประวัติเพื่อหาสาเหตุของภาวะโลหิตจาง โดยเนนการตรวจหาดังนี้ 3.1. ความรุนแรงของภาวะโลหิตจาง ดูสีของเยื่อบุตางๆเชน conjunctiva ริมฝปาก และผิวหนัง 3.2. สาเหตุหลักของภาวะโลหิตจาง
  • 3. ภาวะสรางนอยไดแกอาการแสดงของ เลือดออกตามผิวหนังหรือเยื่อบุ ตับ มาม ตอมน้ําเหลืองโต ไข ปวดกระดูกเมื่อกด ภาวะทําลายมาก ดีซาน ตับ มามโต ภาวะเลือดออก ความดันโลหิต ชีพจร ตรวจทางทวารหนักเพื่อสืบคนการเสียเลือดในทางเดินอาหาร 3.3. สาเหตุเฉพาะของภาวะโลหิตจาง ลิ้นเลี่ยน ในภาวะโลหิตจางจากการขาดเหล็ก malar rash, ขออักเสบ ใน AIHA , ATP thalassemic faces gum hypertrophy ใน acute leukemia บวม ความดันโลหิตสูง ใน CRF 4. ขอสังเกตเฉพาะในภาวะโลหิตจางบางโรค 4.1 Acute anemia ผูปวยบางรายอาจใหประวัติชัดเจนวามีอาการซีดในเวลาไมกี่วันกอนพบแพทย ลักษณะของการมีอาการ ซีดลงในระยะเวลาอันสั้นจะชวยใหการวินิจฉัยแยกโรคงายขึ้น โดยทําใหพิจารณาโรคใน 2 กลุมใหญไดแก acute blood loss และ acute hemolysis ซึ่งไดแก G6PD deficiency with hemolytic crisis, Hb H with hemolytic crisis, Congenital spherocytosis, AIHA, Malaria และ ABO incompatibility ( ตาราง 3 ) 4.2 Pancytopenia ( ตาราง 4 ) ภาวะ pancytopenia เปนภาวะที่สวนใหญเกิดจากการสรางเม็ดเลือดของไขกระดูกลดลง ไดแก ภาวะขาด hematopoietic stem cell เชน aplastic anemia , มีเม็ดเลือดหรือเซลผิดปกติในไขกระดูกเชน myelodysplastic syndrome (MDS), acute leukemia, multiple myeloma และ metastatic cancer เปนตน นอกจากนี้อาจเกิด จากภาวะติดเชื้อแบบเฉียบพลันและเรื้อรังเชน ภาวะ severe sepsis, วัณโรค และการติดเชื้อฉวยโอกาสใน immunocompromized host โดยเฉพาะอยางยิ่งผูปวย AIDS เปนตน ภาวะอื่นที่มีการสรางเม็ดเลือดลดลงจนทําใหเกิด pancytopenia ไดแก megaloblastic anemia, ผลของ ยาตางๆรวมถึงยาเคมีบําบัดตอไขกระดูก, การฉายรังสีเปนบริเวณกวางซึ่งมีผลตอไขกระดูก นอกจากนี้อาจเกิดเนื่องจากมีการทําลายเม็ดเลือดมากขึ้นเชนกรณี Paroxysmal Nocturnal
  • 4. Hemoglobinuria ( PNH ), ภาวะ hyperspenism, SLE เปนตน 5. การตรวจทางหองปฏิบัตการ ิ การตรวจทางหองปฎิบัติการที่จะชวยประเมินผูปวยที่มีภาวะโลหิตจางที่สําคัญไดแก 5.1 Complete blood count (CBC), red cell indices และ reticulocyte count การวัดระดับฮีโมโกลบินและคาฮีมาโตคริตจะบอกความรุนแรงของภาวะโลหิตจาง การนับจํานวนเม็ด เลือดเพื่อพิจารณาหาความผิดปกติของจํานวนเม็ดเลือดขาวและเกร็ดเลือดรวมดวย หากผูปวยมีภาวะโลหิตจาง  รวมกับเม็ดเลือดขาวและหรือเกร็ดเลือดลดต่ําลงมักจะชี้บอกถึงโรคที่มีสาเหตุจากความผิดปกติในไขกระดูกมากขึ้น การดูคา red cell indices เพื่อชวยแบงกลุมของโลหิตจาง เชน กลุม hypochromic microcytic anemia (MCV < 80 fl.) จะพิจารณา iron deficiency anemia, thalassemic disease, thalassemia trait , กลุม macrocytic anemia (MCV > 100 fl.) พิจารณากลุม megaloblastic anemia และภาวะที่มี reticulocytosis มาก การตรวจนับ reticulocyte หากเพิ่มขึ้น (corrected reticulocyte count > 3%)จะชี้บอกถึงภาวะที่ไข กระดูกตอบสนองตอภาวะโลหิตจางไดดีเชนภาวะเลือดออก หรือภาวะ hemolysis และไมพิจารณาสาเหตุของ ภาวะโลหิตจางที่เกิดจากความผิดปกติของไขกระดูก 5.2 การดูสเมียรเลือด ( Blood smear ) การดูสเมียรเลือดเปนการชวยเสริมขอมูลจากประวัติ การตรวจรางกาย การตรวจ CBC และดัชนีของเม็ด เลือดแดง เพื่อใหไดการวินิจฉัยโรคที่ชัดเจนขึ้น เชน ประวัติและผลการตรวจรางกายชี้บอกโรคในกลุม acquired hemolytic anemia (AIHA) ขณะเดียวกันมีคา MCV ปกติหรือสูงขึ้น รวมกับ reticulocytosis การดูสเมียรเลือดเพื่อ เพิ่มน้ําหนักของขอมูลในการวินิจฉัย hemolytic anemia ควรพบ microspherocyte และเพิ่มการพิจารณากลุม AIHA มากขึ้นเมื่อพบ autoagglutination 5.3 การตรวจพิเศษอื่นๆ เปนการตรวจเพื่อใหไดการวินจฉัยโรคที่ชดเจน แนวทางการเลือกการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคมีดังนี้ ิ ั กลุม Hereditary hemolytic anemia: Thalassemic disease or trait - Hemoglobin electrophoresis - Inclusion body สําหรับ Hb H disease กลุมนอกเหนือจาก thalassemia - Osmotic fragility test, AGLT สําหรับ congenital spherocytosis - ระดับ G6PD ในเลือดสําหรับ G6PD deficiency
  • 5. - Autohemolysis สําหรับ congenital hemolytic anemia อื่น ๆ กลุม Acquired hemolytic anemia: AIHA - Coombs' test PNH - Urine hemosiderin - HAM test กรณี Iron deficiency anemia - Stool examination and occult blood - Serum iron ,TIBC, serum ferritin กรณี Chronic renal failure - BUN, creatinine กรณี Hypothyroidism และ Hyperthyroidism - Thyroid function test กรณี Megaloblastic anemia - Vitamin B12 และ folate levels ใน serum และ erythrocytes กรณี Multiple myeloma - Bence Jones proteinuria , Globulin, Protein electrophoresis ภาวะโลหิตจางที่มีสาเหตุจากไขกระดูกหรือกรณีหาไมพบสาเหตุ - Bone marrow aspiration หรือตรวจรวมกับ bone marrow biopsy ความบกพรองที่พบไดเสมอในการดูแลผูปวยภาวะโลหิตจาง ความบกพรองที่มักพบในการดูแลผูปวยภาวะโลหิตจางนอกจากการซักประวัติและตรวจรางกายที่ไมครบ ประเด็นสําคัญแลวไดแก - การใหยาบํารุงเพิ่มธาตุเหล็กหรือใหเลือดโดยไมหาสาเหตุของภาวะโลหิตจาง ดังที่แสดงในขั้นตนถึงสาเหตุนานับประการของภาวะโลหิตจาง ดังนั้นการใหยาบํารุงเพิ่มธาตเหล็กใน เลือดหรือใหเลือดโดยไมหาสาเหตุของภาวะโลหิตจางนั้น เปนการชวยผูปวยเพียงชั่วคราวหรือไมไดผล และบาง ครั้ง อาการของโรคที่เปนตนเหตุอาจรุนแรงขึ้น ควรพยายามเก็บขอมูลเพื่อการวินิจฉัยภาวะโลหิตจางใหไดแนชัด และถึงที่สุดเพื่อการรักษาที่เหมาะสมแกตนเหตุโรคดวย เชน ผูปวยที่มีภาวะซีดจากการขาดเหล็กอาจมีตนเหตุจาก มะเร็งในทางเดินอาหาร การไมพยายามหาสาเหตุเพื่อการรักษาที่เหมาะสมหรือหาชาอาจทําใหเปลี่ยนการ
  • 6. พยากรณโรคจนทําใหผูปวยถึงแกชีวิตเร็วขึ้น - การสงตรวจ CBC โดยไมสงตรวจ MCV และ reticulocyte count รวมดวย ทําใหขาดรายละเอียดในการชวยจําแนกภาวะโลหิตจางตามลักษณะเม็ดเลือดแดง และ ความสามารถ ของไขกระดูกในการสรางเม็ดเลือดแดง การมีขอมูลเหลานี้ครบถวนจะชวยใหวินิจฉัยโรคไดรวดเร็ว เชนผูปวยที่มีอาการซีดและเพลียนาน 2 เดือน ไมมีประวัติที่บงชี้ถึง hemolytic anemia ตรวจพบลิ้นเลี่ยน ตรวจหา MCV ได 60 fl. และ reticulocyte 0.5% พิจารณา iron deficiency anemia มากที่สุด ใหดาเนินการหาสาเหตุและใหการรักษาไดเลย ํ
  • 7. โดยสรุป ขั้นตอนดูแลผูปวยภาวะโลหิตจางเพื่อการวินิจฉัยโรค (CPG)ไดแก 1. ประเมินผูปวยที่มีอาการซีด เพลียหรือมีขอมูลวาโลหิตจางเพื่อความชัดเจนของภาวะโลหิตจาง 2. ซักประวัติและตรวจรางกายเพื่อประเมินภาวะโลหิตจางในประเด็นสําคัญดังนี้ 2.1 severity, onset 2.2 pathophysiologic approach 2.3 details of the causes of anemiaa 3. สงตรวจ CBC, MCV, reticulocyte count, platelet count, ( blood smear) หรือสงรวมกับการ ตรวจพิเศษอื่น 4. สรุปขอมูลตาม pathophysiologic และ morphologic approach บทสงทาย บทความนี้ใหแนวปฏิบัติสําหรับแพทยเวชปฏิบัตกรณีภาวะโลหิตจางโดยทบทวนพื้นฐานความรูในการ ิ จําแนกสาเหตุ เนนความสําคัญในรายละเอียดการซักประวัติและตรวจรางกาย การเนนการตรวจ CBC, MCV และ reticulocyte count และใหรายละเอียดการเลือกการตรวจทางหองปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัยตนเหตุของภาวะ โลหิตจางใหถึงที่สดโดยสรุปจากขอมูลตาม pathophysiologic และ morphologic approach ุ
  • 8. ตาราง 1. Pathophysiologic classification of anemia 1. มีการสรางเม็ดเลือดแดงไดนอยลง 1.1. Hypoproliferation Iron deficient erythropoiesis Iron deficiency , Anemia of chronic disorders Erythropoietin deficiency Renal disease, Endocrine deficiency Hypoplastic anemia Aplastic anemia, Pure red cell aplasia Infiltration Leukemia ,Metastatic carcinoma, Myelofibrosis 1.2. Ineffective Megaloblastic anemia Vitamin B12 deficiency , Folate deficiency Microcytic Sideroblastic anemia 2. มีการทําลายเม็ดเลือดแดงมากขึ้น 2.1 Inherited hemolytic anemia 2.1.1 Defects in erythrocyte membrane Hereditary spherocytosis , Hereditary elliptocytosis 2.1.2 Deficiency of erythrocyte enzymes Pyruvate kinase defiency ,G6PD deficiency 2.1.3 Defects in globin structure and synthesis Thalassemia, Hemoglobinopathy
  • 9. 2.2 Acquired hemolytic anemia 2.2.1 Immune hemolytic anemia Autoimmue hemolytic anemia Transfusion of incompatible blood Hemolytic disease of the newborn 2.2.2 Microangiopathic hemolytic anemia Thrombotic thrombocytopenia purpura Hemolytic uremic syndrome Disseminated intravascular coagulation Prostatic valves and other cardiac abnormality 2.2.3 Infectious agents Malaria , Clostridial infection 2.2.4 Chemicals, drugs and venoms 2.2.5 Paroxysmal nocturnal hemoglobinuria 2.2.6 Others Hypersplenism Hypophosphatemia Spur cell anemia in liver disease 3. มีการสูญเสียเลือด 3.1 External bleeding 3.2 Internal bleeding
  • 10. ตาราง 2. Classification of anemia: based on MCV and reticulocyte count Reticulocyte low MCV normal MCV high MCV count Iron deficiency Chronic disease Megaloblastic anemia Aplastic anemia Lead poisoning MDS Pure red cell aplasia low Chronic disease Alcoholism Marrow replacement or infiltration Aluminum toxicity Liver disease MDS Protein malnutrition Hypothryoidism Renal failure Thalassemia trait Hypersplenism normal Sideroblastic anemia Dyserythropoietic anemia Recent blood loss Hemolytic anemia [Ab-mediated hemolysis Thalassemia or Hypersplenism Reticulocytosis hemoglobinopathy Microangiopathy (HUS, TTP, DIC, high Treated B12 or folate PNH Kasabach-Merritt) deficiency Membranopathies (spherocytosis, eliptocytosis) Enzyme disorders (G6PD, pyruvate kinase) ]
  • 11. ตาราง 3. Causes of Acute Anemia Acute blood loss Acute hemolysis G-6-PD deficiency with hemolytic crisis Hemohlobin H with hemolytic crisis Congenital spherocytosis Autoimmune hemolytic anemia Malaria ABO incompatibility
  • 12. ตาราง 4. Causes of Pancytopenia Hypoplastic anemia Aplastic anemia, effect of chemotherapy, radiation Infiltration Leukemia, metastasis, myelofibrosis , multiple myeloma Infection Tuberculosis , opportunistic infections, severe sepsis Ineffective hematopoiesis MDS , megaloblastic anemia Increased destruction PNH , hypersplenism, SLE
  • 13. CPG Anemia Anemia Hct < 36 % in male, postmenopausal women  Hct < 33% in premenopausal women Acut e blood loss Severity , Onset Acute Anemia Acute Hemolysis (Table 3) Acute blood loss Hemolysis History taking loss Acute blood Pathophysiologic approach Physical examination Inadequate production (Table 1) Laboratory Evaluation Morphpologic approach CBC,MCV, (Table 2) reticulocyte count Pancytopenia (Table 4) Specific labs (2.4.3) Diagnose the cause of Anemia
  • 14. เอกสารอางอิง 1. Hillman RS. Anemia. In Fauci, Braunwald, Isselbacher, Wilson et al, eds. Harrison’s Principle of Internal medicine. 14thed. New York: McGraw- Hill,1998;334-9. 2. Lee GR. Anemia: General aspects. In Lee GR, Foerster J, Lukens J, Paraskevas F, Greer JP, Rodger GM, eds. Wintrobe’s Clinical Hematology. 10th ed. Marryland : Williams & Wilkins,1998;897-907.