SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 37
Baixar para ler offline
1
2
1) เพื่อศึกษาผลกระทบของปศุสัตว์ต่อทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่าในเขตอุทยานแห่งชาติทับลาน
2) เพื่อศึกษาแนวทางในการแก้ไขผลกระทบของปศุสัตว์ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติทับลาน
1) เลือกพื้นที่เพื่อทาการศึกษา
2) ศึกษาผลกระทบของการเลี้ยงปศุสัตว์ต่อสังคมพืช
3) ศึกษาผลกระทบของการเลี้ยงปศุสัตว์ต่อสัตว์ป่า
4) ศึกษาผลกระทบของการเลี้ยงปศุสัตว์ต่อคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
5) ศึกษาผลกระทบของการเลี้ยงปศุสัตว์ต่อคุณภาพน้าในแหล่งน้าธรรมชาติ
6) ศึกษาสภาพเศรษฐกิจ สังคม ของผู้เลี้ยงปศุสัตว์
7) จัดประชุมกาหนดแนวทางในการแก้ไขผลกระทบระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
3
4
5
6พื้นที่ที่มีการเลี้ยงปศุสัตว์ พื้นที่ที่ไม่มีการเลี้ยงปศุสัตว์
7
ทาการวางแปลงตัวอย่างในพื้นที่ป่า โดยวางแนวสารวจแบบเส้นตรงในแนวเหนือ-ใต้ พื้นที่ละ 2 แนว
ห่างกันแนวละ 20 เมตร แต่ละแนววางแปลงตัวอย่างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 10 × 10 เมตร จานวน 8
แปลง แต่ละแปลงห่างกัน 10 เมตร พร้อมกาหนดรหัสประจาแปลง
ดังนั้น แปลงตัวอย่างในพื้นที่ศึกษาแต่ละป่าจึงมีทั้งหมด 1,600 ตารางเมตร (1 ไร่)
ภายในแปลงตัวอย่างขนาด 10 × 10 เมตรทุกแปลง จะวางแปลงย่อยขนาด 4 × 4 เมตร
และ 1 × 1 เมตร ซ้อนทับลงไปยังมุมด้านล่างซ้ายของแปลง
โดยที่ : แปลงตัวอย่างขนาด 10 × 10 เมตร ใช้ศึกษาไม้ยืนต้น (tree)
: แปลงตัวอย่างขนาด 4 × 4 เมตร ใช้ศึกษาไม้หนุ่ม (sapling)
: แปลงตัวอย่างขนาด 1 × 1 เมตร ใช้ศึกษากล้าไม้ (seedling) และไม้พื้นล่าง ได้แก่
ไม้พุ่ม (shrub) ไม้ล้มลุก (herb) และหญ้า (grass)
: ทาการเก็บตัวอย่างสังคมพืช 2 ครั้ง คือ ในฤดูแล้ง และฤดูฝน เพื่อเปรียบเทียบกัน
8
9
1 ความถี่ของชนิดไม้ (Plant species frequency)
: ความถี่ของชนิดไม้ (frequency)
: ความถี่สัมพัทธ์ของชนิดไม้ (Relative frequency)
2 ความหนาแน่นของชนิดไม้ (Plant species density)
: ความหนาแน่นของชนิดไม้ (Density)
: ความหนาแน่นสัมพัทธ์ของชนิดไม้ (Relative density)
3 ความเด่นของพืชพรรณ (Plant species Domidance)
: ความเด่นของชนิดไม้ (Domidance)
: ความเด่นสัมพัทธ์ของชนิดไม้ (Relative Domidance)
4 ดัชนีค่าความสาคัญ (Important Value Index, IVI)
5 การหาค่าดัชนีความคล้ายคลึง (Index of Similarity)
6 ดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (Plant diversity index)
7 การปกคลุมชั้นเรือนยอดชั้นบน (Overstorey density)
10
ฤดูแล้ง
พื้นที่ที่ไม่มีการเลี้ยงสัตว์ พื้นที่ที่มีการเลี้ยงสัตว์
ไม้ยืนต้น ไม้หนุ่ม
กล้าไม้ ไม้พุ่ม
ไม้ล้มลุก และหญ้า
ไม้ยืนต้น ไม้หนุ่ม
กล้าไม้ ไม้พุ่ม
ไม้ล้มลุก และหญ้า
ค่าดัชนีความหลากหลายชนิดของพรรณพืช
Shannon-Wiener index (H) 1.941 1.650 2.313 0.855 0.536 4.069
ค่าดัชนีความคล้ายคลึง Index of similarity 26.087
จากการศึกษาไม้ยืนต้นและไม้หนุ่ม ในแปลงตัวอย่างขนาด 10x10 เมตร และ 4x4 เมตร ค่าดัชนีความหลากหลายชนิดของพรรณพืช (Shannon-
Wiener index (H)) ในพื้นที่ที่ไม่มีการเลี้ยงปศุสัตว์ เท่ากับ 1.941 และ 1.650 ซึ่งมีค่ามากก่วาในพื้นที่ที่มีการเลี้ยงปศุสัตว์ เท่ากับ 0.855และ0.536
ตามลาดับ โดยทั้งสองพื้นที่มีค่าดัชนีความคล้ายคลึง (Index of similarity ) ร้อยละ 26.087 ซึ่งมีค่าค่อนข้างต่า
จากการศึกษากล้าไม้ ไม้พุ่ม ไม้ล้มลุก และหญ้า ในแปลงตัวอย่างขนาด 1 X 1 เมตร พบว่า ดัชนีความหลากหลายชนิดของพรรณพืช (Shannon-
Wiener index (H)) ในพื้นที่ที่ไม่มีการเลี้ยงปศุสัตว์ เท่ากับ 2.313 ซึ่งมีค่าต่าก่วาในพื้นที่ที่มีการเลี้ยงปศุสัตว์ เท่ากับ 4.069
11
12
114
48
19
6 5 3 0 0 1 0 0 1
0
20
40
60
80
100
120
<10 10-15 15-20 20-25 25-30 30-35 35-40 40-45 45-50 50-55 55-60 >60
จานวน(ต้น)
ชั้นขนาดความโต (เซนติเมตร)
84
23
14
7
2 0 0 0 0 1 0 0
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
<10 10-15 15-20 20-25 25-30 30-35 35-40 40-45 45-50 50-55 55-60 >60
จานวน(ค้น)
ชั้นขนาดความโต (เซนติเมตร)
13
พื้นที่ที่มีกิจกรรมการเลี้ยงปศุสัตว์มีความสมบูรณ์ของสภาพป่า น้อยกว่า พื้นที่ที่ไม่มีการ
เลี้ยงปศุสัตว์
พื้นที่ที่มีกิจกรรมการเลี้ยงปศุสัตว์มีจานวนและชนิดของกล้าไม้ น้อยกว่า พื้นที่ที่ไม่มีการ
เลี้ยงปศุสัตว์ ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อการทดแทนเป็นป่าสมบูรณ์ต่อไปในอนาคต
พื้นที่ที่มีกิจกรรมการเลี้ยงปศุสัตว์มีการปกคลุมเรือนยอดของต้นไม้ น้อยกว่าพื้นที่ที่ไม่มี
การเลี้ยงปศุสัตว์ เมื่อเข้าสู่ในช่วงฤดูฝนจะส่งผลให้พื้นที่ที่มีการเลี้ยงปศุสัตว์มีวัชพืชขึ้น
อย่างหนาแน่น เป็นเหตุให้กล้าไม้ไม่สามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติ
14
ภาพถ่ายดาวเทียมแสดงการใช้ประโยชน์ที่ดิน
ปี พ.ศ. 2543 ปี พ.ศ. 2557
15
โดยทาการเดินสารวจ
เพื่อบันทึกพิกัดทาง
ภูมิศาสตร์ของร่องรอย
ปศุสัตว์และสัตว์ป่ า
ในบริเวณพื้นที่อนุรักษ์
ที่คาดว่า มีการเลี้ ยง
ปศุสัตว์ และนาข้อมูลค่า
พิกัดที่ได้มาทาการ
วิเคราะห์
16
17
18
Properties
Summer Rainny
Pasture land Forested land Pasture land Forested land
1. Infiltration (mm./hr.) 132.05 518.33 159.00 535.57
2. Ksat (mm./hr.)
Upper soil 459.78 328.85 145.13 714.23
Lower soil 174.70 274.27 185.92 178.81
3. Soil moisture (% by weight)
Upper soil 1.52 2.63 5.89 4.87
Lower soil 3.88 3.68 3.68 4.95
4. Bulk density (g./cm3
)
Upper soil 1.51 1.26 1.39 1.43
Lower soil 1.56 1.46 1.35 1.38
19
ชั้นดิน
การใช้
ประโยชน์
ที่ดิน
ความเป็น
กรด-ด่าง
จาแนกเนื้อดิน อินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม NO3-N
pH ระดับ เนื้อดิน คาอธิบาย เปอร์เซ็นต์ ระดับ มก. / กก. ระดับ มก. / กก. ระดับ มก. / กก. ระดับ มก. / กก. ระดับ มก. / กก. ระดับ
ดินบน
ไม่มีการเลี้ยง
ปศุสัตว์
5.9
กรด
ปานกลาง
SL ร่วนปนทราย 1.76 ต่า 8 ต่า 47 ต่า 649 สูง 106 สูง 6.1
ดินล่าง
ไม่มีการเลี้ยง
ปศุสัตว์
5.6
กรด
ปานกลาง
SL ร่วนปนทราย 0.84 ต่ามาก 5 ต่า 50 ต่า 385 ต่า 71 ปานกลาง น้อยมาก
ดินบน
มีการเลี้ยง
ปศุสัตว์
6.0
กรด
ปานกลาง
LS ทรายร่วน 1.27 ต่า 5 ต่า 32 ต่ามาก 458 ปานกลาง 96 สูง 12.0
ดินล่าง
มีการเลี้ยง
ปศุสัตว์
5.8
กรด
ปานกลาง
SL ร่วนปนทราย 0.52 ต่ามาก 4 ต่า 17 ต่ามาก 296 ต่า 49 ปานกลาง 7.3
20
21
การเก็บดินโดยใช้วิธี core method
เพื่อศึกษาคุณสมบัติทางเคมีของดิน
22
การศึกษาคุณสมบัติกายภาพของดินใช้ soil core
23
การศึกษาอัตราการแทรกซึมของน้า
24
25
รายละเอียด / ดัชนีคุณภาพน้า หน่วย
ฤดูร้อน ฤดูฝน
พื้นที่เลี้ยงปศุสัตว์ ป่าธรรมชาติ พื้นที่เลี้ยงปศุสัตว์ ป่าธรรมชาติ
pH 7.21 7.11 7.30 6.77
EC μs/cm2
36.33 29.33 42.67 34.00
อุณหภูมิอากาศ O
C 24.90 31.80 28.60 27.80
อุณหภูมิน้า O
C 27.37 26.63 29.49 28.85
EC μs/cm2
37.77 34.60 46.73 38.33
TDS g/l 0.0235 0.0218 0.0267 0.0218
สี Clear yellow Clear yellow Clear yellow Clear yellow
BOD 5 days mg/l 6.4 6.5 5.0 5.5
Nitrogen, Nitrate mg/l N 0.447 0.447 0.611 0.585
Nitrogen, TKN mg/l N 0.000 0.000 0.000 0.000
Phosphate, Total mg/l P 0.680 0.356 0.159 0.366
Total coliform bacteria MPN/100 ml 70 <1.8 <1.8 <1.8
Faecal coliform bacteria MPN/100 ml 11 <1.8 <1.8 <1.8
26
Code
Total Coliform
(MPN/100 ml)
Faecal Coliform
(MPN/100 ml)
ลาปลายมาศ 70 11
ลาเพียก <1.8 <1.8
จากผลที่ได้ข้างต้นทาให้ทราบว่า :
1) ค่าที่ได้ไม่เกินค่ามาตรฐานของกรมควบคุมมลพิษ
2) แต่ในพื้นที่ที่มีการเลี้ยงปศุสัตว์ (ลาปลายมาศ) มีค่า
Total Coliform และFaecal Coliform สูงกว่า พื้นที่ที่ไม่มี
การเลี้ยงปศุสัตว์ (ลาเพียก)
จากมาตรฐานคุณภาพน้าผิวดินของกรมควบคุมมลพิษค่า total coliform และค่า Faecal coliform มีค่าไม่เกินมาตรฐานที่
กรมควบคุมมลพิษที่กาหนดไว้ที่ คุณภาพน้า ประเภทที่ 2 คุณภาพน้า ประเภทที่ 3
total coliform ≤5000 mpn/100ml total coliform ≤ 20000
Faecal coliform ≤1000 mpn/100ml faecal coliform ≤4000
27
28
29
30
31
ไม่มีที่ดิน เป็นของตัวเอง
ไม่เคย เข้าร่วมการประชุมหารือเกี่ยวกับมาตรการการแก้ไขปัญหาการนาปศุสัตว์เข้าไปเลี้ยงในเขตอุทยานแห่งชาติ
ไม่เคย ได้รับการอบรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
รู้จักพื้นที่ มรดกโลกดงพญาเย็น-เขาใหญ่ แต่ไม่ทราบว่าตาบลที่ตนเองอาศัยอยู่ ตั้งอยู่ในพื้นที่มรดกโลกทาง
ธรรมชาติดงพญาเย็น-เขาใหญ่
เห็นด้วย ว่าการเลี้ยงปศุสัตว์ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติและพื้นที่มรดกโลกที่มีมากขึ้น จะทาให้เกิดโรคระบาดในสัตว์
ป่าทาให้จานวนสัตว์ป่าลดลง ส่งผลกระทบต่อสังคมพืช สภาพดินและน้า
เห็นด้วย ว่าการเลี้ยงปศุสัตว์ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติและพื้นที่มรดกโลก จะทาบ้างก็ไม่เกิดความเสียหายและไม่ผิด
กฎหมาย
32
ผู้เลี้ยงปศุสัตว์ส่วนใหญ่ : เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย
1) การจัดให้มีการพัฒนาอาชีพเสริม เพื่อทดแทนรายได้ที่หายไปจากการลด
จานวนการเลี้ยงปศุสัตว์ โดยมิให้สร้างความเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
2) การบังคับใช้กฎหมายในกรณีที่ผู้เลี้ยงปศุสัตว์ในอุทยานแห่งชาติทับลาน
ไม่ปฏิบัติตามข้อตกลง
3) การส่งเสริม ถ่ายทอดความรู้ และเทคโนโลยีในการจัดการปศุสัตว์ให้แก่
ผู้เลี้ยงปศุสัตว์ เพื่อนาปศุสัตว์ออกไปเลี้ยงนอกพื้นที่อุทยานแห่งชาติทับลาน
33
ผู้เลี้ยงปศุสัตว์ส่วนใหญ่ : เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย
1) การห้ามเลี้ยงปศุสัตว์แบบปล่อยอิสระ ต้องมีการควบคุมดูแลโดยเจ้าของอย่างใกล้ชิด 
2) การห้ามเลี้ยงปศุสัตว์ในแปลงปลูกป่า และป่าธรรมชาติ เพราะอาจจะเหยียบย่าต้นไม้ และทาลายต้นไม้ได้ 
3) การห้ามนาอาวุธ เครื่องมือ หรือสิ่งก่อสร้าง สิ่งปลูกสร้างทั้งชั่วคราวและถาวรเพื่อเลี้ยงปศุสัตว์ 
4) การห้ามเลี้ยงปศุสัตว์ในแหล่งท่องเที่ยวอันเป็นการทาลายภูมิทัศน์ 
5) การห้ามจุดไฟเผาป่า เพื่อให้เกิดหญ้าระบัด หรือล่าสัตว์โดยเด็ดขาด 
6) ให้ร่วมกันกาหนดพื้นที่ที่จะอนุโลมให้เลี้ยงปศุสัตว์ได้เป็นการชั่วคราวแบบจากัดพื้นที่ และร่วมกันหาวิธี
ในการจากัดระยะเวลา จากัดพื้นที่ และจากัดจานวนปศุสัตว์ที่เลี้ยงในเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติทับลาน 
7) การกาหนดระยะเวลาไม่เกิน 1-2 ปี ในการทยอยนาปศุสัตว์ออกไปเลี้ยงนอกพื้นที่อุทยานแห่งชาติทับลาน
ทั้งหมด อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง 
34
35
36
37

Mais conteúdo relacionado

Destaque

อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรีอ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรีyah2527
 
プログラミング言語に関する学生へのアンケート
プログラミング言語に関する学生へのアンケートプログラミング言語に関する学生へのアンケート
プログラミング言語に関する学生へのアンケートHiroto Yamakawa
 
Yapc8oji: セキュリティテストサービスを開発運営してきた2年
Yapc8oji: セキュリティテストサービスを開発運営してきた2年Yapc8oji: セキュリティテストサービスを開発運営してきた2年
Yapc8oji: セキュリティテストサービスを開発運営してきた2年ichikaway
 
concrete5 多言語サイト制作へのお誘い
concrete5 多言語サイト制作へのお誘いconcrete5 多言語サイト制作へのお誘い
concrete5 多言語サイト制作へのお誘いKatz Ueno
 
kintone hive ライトニングトーク ジョイゾー 四宮様
kintone hive ライトニングトーク ジョイゾー 四宮様kintone hive ライトニングトーク ジョイゾー 四宮様
kintone hive ライトニングトーク ジョイゾー 四宮様Cybozucommunity
 
kintoneでスピード解決!JV企業の社員管理
kintoneでスピード解決!JV企業の社員管理kintoneでスピード解決!JV企業の社員管理
kintoneでスピード解決!JV企業の社員管理Shotaro Matsuda
 
チケット管理システム大決戦第二弾
チケット管理システム大決戦第二弾チケット管理システム大決戦第二弾
チケット管理システム大決戦第二弾Ryutaro YOSHIBA
 
CPANの依存モジュールをもう少し正しく検出したい
CPANの依存モジュールをもう少し正しく検出したいCPANの依存モジュールをもう少し正しく検出したい
CPANの依存モジュールをもう少し正しく検出したいcharsbar
 
10 words that define you as ‘successful'
10 words that define you as ‘successful'10 words that define you as ‘successful'
10 words that define you as ‘successful'Simplify360
 
The Power of Belief - Mindset and Success
The Power of Belief -  Mindset and Success The Power of Belief -  Mindset and Success
The Power of Belief - Mindset and Success 67 Golden Rules
 
View customize pluginを使いこなす
View customize pluginを使いこなすView customize pluginを使いこなす
View customize pluginを使いこなすonozaty
 

Destaque (11)

อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรีอ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
 
プログラミング言語に関する学生へのアンケート
プログラミング言語に関する学生へのアンケートプログラミング言語に関する学生へのアンケート
プログラミング言語に関する学生へのアンケート
 
Yapc8oji: セキュリティテストサービスを開発運営してきた2年
Yapc8oji: セキュリティテストサービスを開発運営してきた2年Yapc8oji: セキュリティテストサービスを開発運営してきた2年
Yapc8oji: セキュリティテストサービスを開発運営してきた2年
 
concrete5 多言語サイト制作へのお誘い
concrete5 多言語サイト制作へのお誘いconcrete5 多言語サイト制作へのお誘い
concrete5 多言語サイト制作へのお誘い
 
kintone hive ライトニングトーク ジョイゾー 四宮様
kintone hive ライトニングトーク ジョイゾー 四宮様kintone hive ライトニングトーク ジョイゾー 四宮様
kintone hive ライトニングトーク ジョイゾー 四宮様
 
kintoneでスピード解決!JV企業の社員管理
kintoneでスピード解決!JV企業の社員管理kintoneでスピード解決!JV企業の社員管理
kintoneでスピード解決!JV企業の社員管理
 
チケット管理システム大決戦第二弾
チケット管理システム大決戦第二弾チケット管理システム大決戦第二弾
チケット管理システム大決戦第二弾
 
CPANの依存モジュールをもう少し正しく検出したい
CPANの依存モジュールをもう少し正しく検出したいCPANの依存モジュールをもう少し正しく検出したい
CPANの依存モジュールをもう少し正しく検出したい
 
10 words that define you as ‘successful'
10 words that define you as ‘successful'10 words that define you as ‘successful'
10 words that define you as ‘successful'
 
The Power of Belief - Mindset and Success
The Power of Belief -  Mindset and Success The Power of Belief -  Mindset and Success
The Power of Belief - Mindset and Success
 
View customize pluginを使いこなす
View customize pluginを使いこなすView customize pluginを使いこなす
View customize pluginを使いこなす
 

Mais de Auraphin Phetraksa

การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณAuraphin Phetraksa
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อAuraphin Phetraksa
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์Auraphin Phetraksa
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรAuraphin Phetraksa
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557Auraphin Phetraksa
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว Auraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดAuraphin Phetraksa
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรAuraphin Phetraksa
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗Auraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...Auraphin Phetraksa
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีAuraphin Phetraksa
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังAuraphin Phetraksa
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติAuraphin Phetraksa
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีAuraphin Phetraksa
 

Mais de Auraphin Phetraksa (20)

การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อ
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวร
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรี
 

T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดนครราชสีมา

  • 1. 1
  • 2. 2 1) เพื่อศึกษาผลกระทบของปศุสัตว์ต่อทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่าในเขตอุทยานแห่งชาติทับลาน 2) เพื่อศึกษาแนวทางในการแก้ไขผลกระทบของปศุสัตว์ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติทับลาน 1) เลือกพื้นที่เพื่อทาการศึกษา 2) ศึกษาผลกระทบของการเลี้ยงปศุสัตว์ต่อสังคมพืช 3) ศึกษาผลกระทบของการเลี้ยงปศุสัตว์ต่อสัตว์ป่า 4) ศึกษาผลกระทบของการเลี้ยงปศุสัตว์ต่อคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน 5) ศึกษาผลกระทบของการเลี้ยงปศุสัตว์ต่อคุณภาพน้าในแหล่งน้าธรรมชาติ 6) ศึกษาสภาพเศรษฐกิจ สังคม ของผู้เลี้ยงปศุสัตว์ 7) จัดประชุมกาหนดแนวทางในการแก้ไขผลกระทบระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
  • 3. 3
  • 4. 4
  • 5. 5
  • 7. 7 ทาการวางแปลงตัวอย่างในพื้นที่ป่า โดยวางแนวสารวจแบบเส้นตรงในแนวเหนือ-ใต้ พื้นที่ละ 2 แนว ห่างกันแนวละ 20 เมตร แต่ละแนววางแปลงตัวอย่างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 10 × 10 เมตร จานวน 8 แปลง แต่ละแปลงห่างกัน 10 เมตร พร้อมกาหนดรหัสประจาแปลง ดังนั้น แปลงตัวอย่างในพื้นที่ศึกษาแต่ละป่าจึงมีทั้งหมด 1,600 ตารางเมตร (1 ไร่) ภายในแปลงตัวอย่างขนาด 10 × 10 เมตรทุกแปลง จะวางแปลงย่อยขนาด 4 × 4 เมตร และ 1 × 1 เมตร ซ้อนทับลงไปยังมุมด้านล่างซ้ายของแปลง โดยที่ : แปลงตัวอย่างขนาด 10 × 10 เมตร ใช้ศึกษาไม้ยืนต้น (tree) : แปลงตัวอย่างขนาด 4 × 4 เมตร ใช้ศึกษาไม้หนุ่ม (sapling) : แปลงตัวอย่างขนาด 1 × 1 เมตร ใช้ศึกษากล้าไม้ (seedling) และไม้พื้นล่าง ได้แก่ ไม้พุ่ม (shrub) ไม้ล้มลุก (herb) และหญ้า (grass) : ทาการเก็บตัวอย่างสังคมพืช 2 ครั้ง คือ ในฤดูแล้ง และฤดูฝน เพื่อเปรียบเทียบกัน
  • 8. 8
  • 9. 9 1 ความถี่ของชนิดไม้ (Plant species frequency) : ความถี่ของชนิดไม้ (frequency) : ความถี่สัมพัทธ์ของชนิดไม้ (Relative frequency) 2 ความหนาแน่นของชนิดไม้ (Plant species density) : ความหนาแน่นของชนิดไม้ (Density) : ความหนาแน่นสัมพัทธ์ของชนิดไม้ (Relative density) 3 ความเด่นของพืชพรรณ (Plant species Domidance) : ความเด่นของชนิดไม้ (Domidance) : ความเด่นสัมพัทธ์ของชนิดไม้ (Relative Domidance) 4 ดัชนีค่าความสาคัญ (Important Value Index, IVI) 5 การหาค่าดัชนีความคล้ายคลึง (Index of Similarity) 6 ดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (Plant diversity index) 7 การปกคลุมชั้นเรือนยอดชั้นบน (Overstorey density)
  • 10. 10 ฤดูแล้ง พื้นที่ที่ไม่มีการเลี้ยงสัตว์ พื้นที่ที่มีการเลี้ยงสัตว์ ไม้ยืนต้น ไม้หนุ่ม กล้าไม้ ไม้พุ่ม ไม้ล้มลุก และหญ้า ไม้ยืนต้น ไม้หนุ่ม กล้าไม้ ไม้พุ่ม ไม้ล้มลุก และหญ้า ค่าดัชนีความหลากหลายชนิดของพรรณพืช Shannon-Wiener index (H) 1.941 1.650 2.313 0.855 0.536 4.069 ค่าดัชนีความคล้ายคลึง Index of similarity 26.087 จากการศึกษาไม้ยืนต้นและไม้หนุ่ม ในแปลงตัวอย่างขนาด 10x10 เมตร และ 4x4 เมตร ค่าดัชนีความหลากหลายชนิดของพรรณพืช (Shannon- Wiener index (H)) ในพื้นที่ที่ไม่มีการเลี้ยงปศุสัตว์ เท่ากับ 1.941 และ 1.650 ซึ่งมีค่ามากก่วาในพื้นที่ที่มีการเลี้ยงปศุสัตว์ เท่ากับ 0.855และ0.536 ตามลาดับ โดยทั้งสองพื้นที่มีค่าดัชนีความคล้ายคลึง (Index of similarity ) ร้อยละ 26.087 ซึ่งมีค่าค่อนข้างต่า จากการศึกษากล้าไม้ ไม้พุ่ม ไม้ล้มลุก และหญ้า ในแปลงตัวอย่างขนาด 1 X 1 เมตร พบว่า ดัชนีความหลากหลายชนิดของพรรณพืช (Shannon- Wiener index (H)) ในพื้นที่ที่ไม่มีการเลี้ยงปศุสัตว์ เท่ากับ 2.313 ซึ่งมีค่าต่าก่วาในพื้นที่ที่มีการเลี้ยงปศุสัตว์ เท่ากับ 4.069
  • 11. 11
  • 12. 12 114 48 19 6 5 3 0 0 1 0 0 1 0 20 40 60 80 100 120 <10 10-15 15-20 20-25 25-30 30-35 35-40 40-45 45-50 50-55 55-60 >60 จานวน(ต้น) ชั้นขนาดความโต (เซนติเมตร) 84 23 14 7 2 0 0 0 0 1 0 0 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 <10 10-15 15-20 20-25 25-30 30-35 35-40 40-45 45-50 50-55 55-60 >60 จานวน(ค้น) ชั้นขนาดความโต (เซนติเมตร)
  • 13. 13 พื้นที่ที่มีกิจกรรมการเลี้ยงปศุสัตว์มีความสมบูรณ์ของสภาพป่า น้อยกว่า พื้นที่ที่ไม่มีการ เลี้ยงปศุสัตว์ พื้นที่ที่มีกิจกรรมการเลี้ยงปศุสัตว์มีจานวนและชนิดของกล้าไม้ น้อยกว่า พื้นที่ที่ไม่มีการ เลี้ยงปศุสัตว์ ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อการทดแทนเป็นป่าสมบูรณ์ต่อไปในอนาคต พื้นที่ที่มีกิจกรรมการเลี้ยงปศุสัตว์มีการปกคลุมเรือนยอดของต้นไม้ น้อยกว่าพื้นที่ที่ไม่มี การเลี้ยงปศุสัตว์ เมื่อเข้าสู่ในช่วงฤดูฝนจะส่งผลให้พื้นที่ที่มีการเลี้ยงปศุสัตว์มีวัชพืชขึ้น อย่างหนาแน่น เป็นเหตุให้กล้าไม้ไม่สามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติ
  • 16. 16
  • 17. 17
  • 18. 18 Properties Summer Rainny Pasture land Forested land Pasture land Forested land 1. Infiltration (mm./hr.) 132.05 518.33 159.00 535.57 2. Ksat (mm./hr.) Upper soil 459.78 328.85 145.13 714.23 Lower soil 174.70 274.27 185.92 178.81 3. Soil moisture (% by weight) Upper soil 1.52 2.63 5.89 4.87 Lower soil 3.88 3.68 3.68 4.95 4. Bulk density (g./cm3 ) Upper soil 1.51 1.26 1.39 1.43 Lower soil 1.56 1.46 1.35 1.38
  • 19. 19 ชั้นดิน การใช้ ประโยชน์ ที่ดิน ความเป็น กรด-ด่าง จาแนกเนื้อดิน อินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม NO3-N pH ระดับ เนื้อดิน คาอธิบาย เปอร์เซ็นต์ ระดับ มก. / กก. ระดับ มก. / กก. ระดับ มก. / กก. ระดับ มก. / กก. ระดับ มก. / กก. ระดับ ดินบน ไม่มีการเลี้ยง ปศุสัตว์ 5.9 กรด ปานกลาง SL ร่วนปนทราย 1.76 ต่า 8 ต่า 47 ต่า 649 สูง 106 สูง 6.1 ดินล่าง ไม่มีการเลี้ยง ปศุสัตว์ 5.6 กรด ปานกลาง SL ร่วนปนทราย 0.84 ต่ามาก 5 ต่า 50 ต่า 385 ต่า 71 ปานกลาง น้อยมาก ดินบน มีการเลี้ยง ปศุสัตว์ 6.0 กรด ปานกลาง LS ทรายร่วน 1.27 ต่า 5 ต่า 32 ต่ามาก 458 ปานกลาง 96 สูง 12.0 ดินล่าง มีการเลี้ยง ปศุสัตว์ 5.8 กรด ปานกลาง SL ร่วนปนทราย 0.52 ต่ามาก 4 ต่า 17 ต่ามาก 296 ต่า 49 ปานกลาง 7.3
  • 20. 20
  • 24. 24
  • 25. 25 รายละเอียด / ดัชนีคุณภาพน้า หน่วย ฤดูร้อน ฤดูฝน พื้นที่เลี้ยงปศุสัตว์ ป่าธรรมชาติ พื้นที่เลี้ยงปศุสัตว์ ป่าธรรมชาติ pH 7.21 7.11 7.30 6.77 EC μs/cm2 36.33 29.33 42.67 34.00 อุณหภูมิอากาศ O C 24.90 31.80 28.60 27.80 อุณหภูมิน้า O C 27.37 26.63 29.49 28.85 EC μs/cm2 37.77 34.60 46.73 38.33 TDS g/l 0.0235 0.0218 0.0267 0.0218 สี Clear yellow Clear yellow Clear yellow Clear yellow BOD 5 days mg/l 6.4 6.5 5.0 5.5 Nitrogen, Nitrate mg/l N 0.447 0.447 0.611 0.585 Nitrogen, TKN mg/l N 0.000 0.000 0.000 0.000 Phosphate, Total mg/l P 0.680 0.356 0.159 0.366 Total coliform bacteria MPN/100 ml 70 <1.8 <1.8 <1.8 Faecal coliform bacteria MPN/100 ml 11 <1.8 <1.8 <1.8
  • 26. 26 Code Total Coliform (MPN/100 ml) Faecal Coliform (MPN/100 ml) ลาปลายมาศ 70 11 ลาเพียก <1.8 <1.8 จากผลที่ได้ข้างต้นทาให้ทราบว่า : 1) ค่าที่ได้ไม่เกินค่ามาตรฐานของกรมควบคุมมลพิษ 2) แต่ในพื้นที่ที่มีการเลี้ยงปศุสัตว์ (ลาปลายมาศ) มีค่า Total Coliform และFaecal Coliform สูงกว่า พื้นที่ที่ไม่มี การเลี้ยงปศุสัตว์ (ลาเพียก) จากมาตรฐานคุณภาพน้าผิวดินของกรมควบคุมมลพิษค่า total coliform และค่า Faecal coliform มีค่าไม่เกินมาตรฐานที่ กรมควบคุมมลพิษที่กาหนดไว้ที่ คุณภาพน้า ประเภทที่ 2 คุณภาพน้า ประเภทที่ 3 total coliform ≤5000 mpn/100ml total coliform ≤ 20000 Faecal coliform ≤1000 mpn/100ml faecal coliform ≤4000
  • 27. 27
  • 28. 28
  • 29. 29
  • 30. 30
  • 31. 31 ไม่มีที่ดิน เป็นของตัวเอง ไม่เคย เข้าร่วมการประชุมหารือเกี่ยวกับมาตรการการแก้ไขปัญหาการนาปศุสัตว์เข้าไปเลี้ยงในเขตอุทยานแห่งชาติ ไม่เคย ได้รับการอบรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ รู้จักพื้นที่ มรดกโลกดงพญาเย็น-เขาใหญ่ แต่ไม่ทราบว่าตาบลที่ตนเองอาศัยอยู่ ตั้งอยู่ในพื้นที่มรดกโลกทาง ธรรมชาติดงพญาเย็น-เขาใหญ่ เห็นด้วย ว่าการเลี้ยงปศุสัตว์ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติและพื้นที่มรดกโลกที่มีมากขึ้น จะทาให้เกิดโรคระบาดในสัตว์ ป่าทาให้จานวนสัตว์ป่าลดลง ส่งผลกระทบต่อสังคมพืช สภาพดินและน้า เห็นด้วย ว่าการเลี้ยงปศุสัตว์ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติและพื้นที่มรดกโลก จะทาบ้างก็ไม่เกิดความเสียหายและไม่ผิด กฎหมาย
  • 32. 32 ผู้เลี้ยงปศุสัตว์ส่วนใหญ่ : เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย 1) การจัดให้มีการพัฒนาอาชีพเสริม เพื่อทดแทนรายได้ที่หายไปจากการลด จานวนการเลี้ยงปศุสัตว์ โดยมิให้สร้างความเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 2) การบังคับใช้กฎหมายในกรณีที่ผู้เลี้ยงปศุสัตว์ในอุทยานแห่งชาติทับลาน ไม่ปฏิบัติตามข้อตกลง 3) การส่งเสริม ถ่ายทอดความรู้ และเทคโนโลยีในการจัดการปศุสัตว์ให้แก่ ผู้เลี้ยงปศุสัตว์ เพื่อนาปศุสัตว์ออกไปเลี้ยงนอกพื้นที่อุทยานแห่งชาติทับลาน
  • 33. 33 ผู้เลี้ยงปศุสัตว์ส่วนใหญ่ : เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย 1) การห้ามเลี้ยงปศุสัตว์แบบปล่อยอิสระ ต้องมีการควบคุมดูแลโดยเจ้าของอย่างใกล้ชิด  2) การห้ามเลี้ยงปศุสัตว์ในแปลงปลูกป่า และป่าธรรมชาติ เพราะอาจจะเหยียบย่าต้นไม้ และทาลายต้นไม้ได้  3) การห้ามนาอาวุธ เครื่องมือ หรือสิ่งก่อสร้าง สิ่งปลูกสร้างทั้งชั่วคราวและถาวรเพื่อเลี้ยงปศุสัตว์  4) การห้ามเลี้ยงปศุสัตว์ในแหล่งท่องเที่ยวอันเป็นการทาลายภูมิทัศน์  5) การห้ามจุดไฟเผาป่า เพื่อให้เกิดหญ้าระบัด หรือล่าสัตว์โดยเด็ดขาด  6) ให้ร่วมกันกาหนดพื้นที่ที่จะอนุโลมให้เลี้ยงปศุสัตว์ได้เป็นการชั่วคราวแบบจากัดพื้นที่ และร่วมกันหาวิธี ในการจากัดระยะเวลา จากัดพื้นที่ และจากัดจานวนปศุสัตว์ที่เลี้ยงในเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติทับลาน  7) การกาหนดระยะเวลาไม่เกิน 1-2 ปี ในการทยอยนาปศุสัตว์ออกไปเลี้ยงนอกพื้นที่อุทยานแห่งชาติทับลาน ทั้งหมด อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง 
  • 34. 34
  • 35. 35
  • 36. 36
  • 37. 37