SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 23
Baixar para ler offline
การศึกษาสัตว์ป่า
ปีงบประมาณ 2557
 ผีเสื้อกลางวัน
 นก
 แมงกะพรุนน้้าจืด
สถาบันนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง
การส้ารวจผีเสื้อกลางวันในเส้นทางศึกษาธรรมชาติ
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
: กรณีศึกษาเส้นทางศึกษาธรรมชาติ กม. 33-หนองผักชี
และเส้นทางศึกษาธรรมชาติน้้าตกกองแก้ว
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดนครราชสีมา
3
พื้นที่ศึกษา
เส้นทางศึกษาธรรมชาติ กม.33 – หนองผักชี เส้นทางศึกษาธรรมชาติน้้าตกกองแก้ว
วิธีการศึกษา
4
1) สารวจและเก็บภาพถ่ายผีเสื้อ
2) ใช้วิธีการวางแนวสารวจ (Transect) กว้าง 2 เมตรโดยวางแนวสารวจตลอดเส้นทางศึกษา
ธรรมชาติ จาแนกระดับวงศ์และชนิดผีเสื้อโดยใช้หนังสือ Butterflies of Thailand และ
Thailand ButterflyGuide (พิสุทธิ์ เอกอานวย) และ (เกรียงไกร สุวรรณภักดิ์) และเอกสาร
อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
3) ระยะเวลาที่ใช้ในการดาเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2557 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ 2558
ผลการศึกษา
5
จากการสารวจผีเสื้อกลางวัน กรณีศึกษาเส้นทางศึกษา
ธรรมชาติ กม.33 - หนองผักชี ในช่วงเดือนตุลาคม 2557 พบ
จานวนผีเสื้อกลางวันทั้งสิ้น 5 วงศ์ 37 ชนิด ได้แก่
- วงศ์ผีเสื้อสีน้าเงิน (LYCAENIEAD) จานวน 2 ชนิด
- วงศ์ผีเสื้อขาหน้าพู่ (NYMPHALIDAE) จานวน 16 ชนิด
- วงศ์ผีเสื้อหนอนกะหล่า (PIERIDAE) จานวน 5 ชนิด
- วงศ์ผีเสื้อหางติ่ง (PAPILIONIDAE) จานวน 9 ชนิด
- วงศ์ผีเสื้อบินเร็ว (HESPERIIDAE) จานวน 5 ชนิด
ผีเสื้อกลาสีธรรมดา
ผีเสื้อเณรยอดไม้ผีเสื้อหางติ่งปารีส
ผลการศึกษา
จากการสารวจผีเสื้อกลางวัน กรณีศึกษาเส้นทางศึกษาน้าตก
กองแก้ว ในช่วงเดือนตุลาคม 2557 พบจานวนผีเสื้อกลางวันทั้งสิ้น 4
วงศ์ 21 ชนิด ได้แก่
- วงศ์ผีเสื้อสีน้าเงิน (LYCAENIEAD) จานวน 2 ชนิด
- วงศ์ผีเสื้อขาหน้าพู่ (NYMPHALIDAE) จานวน 12 ชนิด
- วงศ์ผีเสื้อหนอนกะหล่า (PIERIDAE) จานวน 4 ชนิด
- วงศ์ผีเสื้อหางติ่ง (PAPILIONIDAE) จานวน 3 ชนิด
ผีเสื้อหางมังกรขาว
ผีเสื้อกลาสีแดง ผีเสื้อเคาท์มลายู
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองทางทะเล จังหวัดตรัง
การศึกษาความหลากชนิดนก
ในอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม ปี 2557
แนวเชื่อมต่อ
ป่าชายเลน
กับป่า
ชายหาด
ป่าชายเลน
ป่าชายหาด
ชายหาด
ป่าพรุ
(บ่อน้้าร้อน)
เส้นทางในการศึกษา
วิธีการส้ารวจแบ่งเป็น 2 วิธี
สารวจโดยวิธี Line transect จะกาหนดเส้นทางมีความ
ยาวเส้นทางละประมาณ 1 กิโลเมตร วิธีนี้ได้กาหนดเส้นทางเดินไว้
3 เส้นทาง ได้แก่ เส้นทางที่ 1 ป่าชายหาด เส้นทางที่ 2 แนว
เชื่อมต่อป่าชายเลนกับป่าชายหาดและเส้นทางที่ 3 ป่าพรุ (บ่อน้า
ร้อน)
สารวจแบบ Point count วิธีนี้
ให้ผู้สารวจหยุดอยู่กับที่ แล้วนับจานวนนกที่พบ
หรือจากการได้ยินเสียงใช้เวลาในการนับจุดละ
ประมาณ 10–20 นาที แล้วจึงเปลี่ยนจุดใหม่
วิธีนี้กาหนดไว้ 2 เส้นทาง คือ ป่าชายเลน และชายหาด เนื่องจาก
สภาพพื้นที่เป็นพื้นที่มีความยาวมาก และบางพื้นที่
ไม่สามารถเดินเข้าไปถึงได้
เส้นทางแนวเชื่อมต่อป่าฯ
เส้นทางป่าพรุ (บ่อน้้าร้อน)บริเวณป่าชายเลน
จากการศึกษาความหลากชนิดของนกในอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม เดือนธันวาคม
2556 – เดือนกรกฎาคม 2557 พบนกทั้งสิ้น 92 ชนิด 38 วงศ์ เป็นนกประจาถิ่น 70 ชนิด นก
อพยพ 22 ชนิด
ป่าเชิงทรง
พบนก 55 ชนิด 29
วงศ์
ป่าชายหาด
พบนก 23 ชนิด 14 วงศ์
ป่าชายเลน
พบนก 32 ชนิด 21
วงศ์
ป่าพรุ (บ่อน้้าร้อน)
พบนก 21 ชนิด 12 วงศ์ชายหาด
พบนก 17 ชนิด 10
วงศ์
ผลการศึกษา
- สถานภาพใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง (Critically Endangered : CR) ได้แก่ นกเปล้าแดง
- สถานภาพใกล้สูญพันธุ์ (Endangered : EN) ได้แก่ นกหัวโตมลายู
- สถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ (Vulnerable : VU) ได้แก่ นกออก
นกเปล้าแดง นกหัวโตมลายู นกออก
นกในพื้นที่อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหมที่อยู่ในสถานภาพตาม
ทะเบียนรายการชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามของประเทศไทย
(Thailand Red Data)
- สถานภาพใกล้ถูกคุกคาม (Near Threatened : NT) ได้แก่ เหยี่ยวแดง , นกกะเต็นแดง
นกพญาปากกว้างท้องแดง , นกกะเต็นใหญ่ปีกสีน้าตาล , นกกระติ๊ดขี้หมู , นกหัวขวานเขียว
คอเขียว และนกทึดทือพันธุ์มลายู
เหยี่ยวแดง
นกกระเต็นแดง
นกพญาปากกว้างท้องแดง
นกกะเต็นใหญ่ปีกสีน้าตาล
นกกระติ๊ดขี้หมู
นกในพื้นที่อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหมที่อยู่ในสถานภาพตาม
ทะเบียนรายการชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามของประเทศไทย
(Thailand Red Data) (ต่อ)
นกทึดทือพันธุ์มลายู
พื้นที่ศึกษา ค่าความหลากชนิด ค่าความร่้ารวยของชนิด
ค่าความ
สม่้าเสมอ
ป่าเชิงทรง 3.60 54.82 0.90
ป่าชายหาด 1.75 22.79 0.56
ป่าชายเลน 1.32 31.80 0.38
ป่าดิบ 1.05 20.76 0.35
ชายหาด 1.62 16.75 0.57
ค่าความหลากหลายทางชีวภาพในแต่ละพื้นที่ศึกษา
พื้นที่ที่ท้าการส้ารวจ ค่าความคล้ายคลึง
ของชนิดนก
ป่าเชิงทรง - ป่าชายหาด 41.03
ป่าเชิงทรง - ป่าชายเลน 39.08
ป่าชายหาด - ป่าชายเลน 36.36
ป่าเชิงทรง - ป่าพรุ (บ่อน้าร้อน) 26.32
ป่าชายหาด - ชายหาด 25
ป่าชายเลน - ชายหาด 24.49
ป่าชายเลน – ป่าพรุ (บ่อน้าร้อน) 15.09
ป่าเชิงทรง - ชายหาด 13.89
บ่อน้าร้อน - ชายหาด 10.53
ป่าชายหาด – ป่าพรุ (บ่อน้าร้อน) 9.09
จากผลการศึกษาจะเห็นว่า
บริเวณป่าเชิงทรง กับบริเวณป่าชายหาด
มีค่าความคล้ายคลึงกันมากที่สุด
รองลงมาคือ บริเวณป่าเชิงทรง กับ
บริเวณป่าชายเลน ทั้งนี้เนื่องจากสภาพ
ป่า และโครงสร้างของป่าเป็นพื้นที่ที่มี
ความซ้าซ้อนกัน หรือมีความคล้ายคลึง
กันมาก ส่วนบริเวณป่าชายหาดกับป่า
พรุ(บ่อน้าร้อน) จะมีค่าความคล้ายคลึง
กันน้อยที่สุด
ค่าความคล้ายคลึงของชนิด (Species similarity)
พื้นที่ศึกษา
ความหลากหลาย
ของชนิดพันธุ์
2554 2557
ป่าเชิงทรง 3.13 3.60
ป่าชายหาด 2.65 1.75
ป่าชายเลน 2.59 1.32
ป่าพรุ (บ่อน้าร้อน) 2.82 1.05
ชายหาด 1.32 1.62
เมื่อเปรียบเทียบผลการศึกษาที่ได้
จากค่าความหลากหลายของชนิดพันธุ์ในปี
2557 กับปี 2554 พบว่าในป่าเชิงทรง ของทั้ง
2 ปีที่สารวจ มีค่าความหลากชนิดพันธุ์ ที่
ใกล้เคียงกันมากที่สุด จากข้อมูลที่ได้นี้แสดงให้
เห็นว่าลักษณะของโครงสร้างป่า ปัจจัย
แวดล้อมทางกายภาพและชีวภาพ ช่วงเดือน
และฤดูกาลที่ทาการ ศึกษา ล้วนมีอิทธิพลต่อ
การปรากฏตัวของนกทั้งสิ้น
เปรียบเทียบค่าความหลากหลายของชนิดพันธุ์
ในปี 2554 กับปี 2557
นอกจากนี้นกบางชนิดยังสามารถบ่งบอกถึงความสมบูรณ์ของสภาพป่าได้อีกด้วย เช่น
นกกะเต็นใหญ่ปีกสีน้าตาล จะอาศัยในป่าชายเลนที่มีความสมบูรณ์เท่านั้น ซึ่งการสารวจพบนก
ชนิดดังกล่าวนั้น แสดงว่าป่าชายเลนในพื้นที่อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม ยังมีความอุดมสมบูรณ์อยู่
การศึกษา ส้ารวจ และติดตามสัตว์ประจ้าถิ่นหายาก
แมงกะพรุนน้้าจืดสายพันธุ์น้้าไหล (Craspedacusta sowerbyi)
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
พื้นที่ดาเนินการศึกษา
แมงกะพรุนน้าจืด
สายพันธุ์น้าไหล
(Craspedacusta sowerbyi)
วิธีการศึกษา
1. ตรวจเอกสารที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ศึกษา และข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับแมงกะพุรนน้าจืด
2. สารวจในพื้นที่เป้าหมายในบริเวณลาน้าเข็ก 12 จุดสารวจ
3. เก็บข้อมูล ในแต่ละจุดของพื้นที่ศึกษา ได้แก่
3.1 สัมภาษณ์กลุ่มบุคคลเพื่อศึกษาแนวความคิดต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ
ในพื้นที่
3.2 ศึกษาสภาพแวดล้อมบริเวณพื้นที่
3.3 สารวจในแหล่งน้าธรรมชาติ เมื่อพบแมงกะพรุนน้าจืด นาขึ้นมาวัดขนาดโดยใช้
เหรียญกษาปณ์ขนาดต่างๆ สังเกตพฤติกรรม และปล่อยกลับคืนสู่ลาน้าธรรมชาติต่อไป
3.4 บันทึกข้อมูลคุณภาพน้า ได้แก่ อุณหภูมิอากาศ อุณหภูมิของผิวน้า อุณหภูมิใต้น้าโดย
ความลึกจากผิวน้า ที่ความลึก 1 เมตร และ 2 เมตร และค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH)
4. ระยะเวลาทาการสารวจข้อมูล ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ – เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557
จุดส้ารวจ
อุณหภูมิเฉลี่ยของน้้า
บริเวณจุดส้ารวจ ค่าความเป็นกรด-ด่าง
(pH) เฉลี่ย
พบ/
ไม่พบ
หมายเหตุ
อากาศ ๐
C ผิวน้้า ๐
C
1. แก่งสอง 29 26.8 6.8 กรดอ่อนๆ  นอกเขตอุทยานฯ
2. ท่าน้้าสถานที่ปฏิบัติธรรมแก่งบางระจัน 28 27 7.4 ด่างอ่อนๆ  นอกเขตอุทยานฯ
3. แก่งบางระจัน 27 26.5 7.2 ด่างอ่อนๆ  นอกเขตอุทยานฯ
4. แก่งวังน้้าเย็น 24.5 23 7.5 ด่างอ่อนๆ  ในเขตอุทยานฯ
5. แก่งหักไพรี 27 26 8.1 ด่าง  ในเขตอุทยานฯ
6. สวนป่าทุ่งแสลงหลวงหน่วยที่ 2 (จุดสกัด) 25.5 25 7.6 ด่างอ่อนๆ  ในเขตอุทยานฯ
7. หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ สล.1 (สะพานสลิง) 26 24.5 7.2 ด่างอ่อนๆ  ในเขตอุทยานฯ
8. แก่งฮอม 28.5 27 7.1 ด่างอ่อนๆ  ในเขตอุทยานฯ
9. แก่งจิก 29 27 7 กลาง  ในเขตอุทยานฯ
10. น้้าตกแก่งโสภา 27 25 7.2 ด่างอ่อนๆ  ในเขตอุทยานฯ
11. น้้าตกปอย 28 27 7.4 ด่างอ่อนๆ  นอกเขตอุทยานฯ
12. หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ สล.4 (ล้ากระโดน) 28 27.5 7.2 ด่างอ่อนๆ  นอกเขตอุทยานฯ
ผลการส้ารวจแมงกะพรุนน้้าจืด ระหว่างวันที่ 13 – 25 มีนาคม 2557 ช่วงเวลา 10.00 น.–13.00 น.
สรุปผลการส้ารวจแมงกะพรุนน้้าจืดในรอบ 5 ปี (พ.ศ.2553 -2557)
ที่ จุดส้ารวจ
การปรากฏตัวของแมงกะพรุนน้้าจืด
ปี พ.ศ. ที่ส้ารวจ หมายเหตุ
2553 2554 2555 2556 2557
1 แก่งสอง -     นอกเขตอุทยานฯ
2 ท่าน้้าสถานที่ปฏิบัติธรรมแก่งบางระจัน      นอกเขตอุทยานฯ
3 แก่งบางระจัน      นอกเขตอุทยานฯ
4 แก่งวังน้้าเย็น -     ในเขตอุทยานฯ
5 แก่งหักไพรี -     ในเขตอุทยานฯ
6 สวนป่าทุ่งแสลงหลวงหน่วยที่ 2 (จุดสกัด) -     ในเขตอุทยานฯ
7 หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ สล.1 (สะพานสลิง) -     ในเขตอุทยานฯ
8 แก่งฮอม      ในเขตอุทยานฯ
9 แก่งจิก      ในเขตอุทยานฯ
10 น้้าตกแก่งโสภา -     ในเขตอุทยานฯ
11 น้้าตกปอย -     นอกเขตอุทยานฯ
12 หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ สล.4 (ล้ากระโดน) -     นอกเขตอุทยานฯ
รวมจุดส้ารวจ/แห่ง 4 12 12 12 12
นอกเขตอุทยานฯ 5 แห่ง
ในเขตอุทยานฯ 7 แห่ง
จ้านวนจุดที่พบ 1 4 2 1 2
จ้านวนจุดที่ไม่พบ 3 8 10 11 10
ร่วมกับ คุณผ่องศรี โสภา เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบาย
และแผน องค์การบริหารส่วนตาบลหนองแม่นา
อาเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
และคณะ ผศ.ดร.ไพรัช ทาบสีแพร
อาจารย์ประจาภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Contact :
ฝ่ายวิจัยฯ email :hnukool@hotmail.com
www.dnpii.org

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) UNDP
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นSompop Petkleang
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่างAuraphin Phetraksa
 
นวัตกรรมใหม่
นวัตกรรมใหม่ นวัตกรรมใหม่
นวัตกรรมใหม่ UNDP
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลกT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
Kick off program
Kick off programKick off program
Kick off programrattapol
 
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาyah2527
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชาศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชาyah2527
 
โครงการปลูกป่ารักษ์ มข
โครงการปลูกป่ารักษ์ มขโครงการปลูกป่ารักษ์ มข
โครงการปลูกป่ารักษ์ มขPoonsri Praserttan
 
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPAรายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPAyah2527
 
โครงการค่ายนักกีฏวิทยาป่าไม้ (Forest entomologist camp)2015
โครงการค่ายนักกีฏวิทยาป่าไม้ (Forest entomologist camp)2015โครงการค่ายนักกีฏวิทยาป่าไม้ (Forest entomologist camp)2015
โครงการค่ายนักกีฏวิทยาป่าไม้ (Forest entomologist camp)2015Sircom Smarnbua
 
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...Dr.Choen Krainara
 
Permanent plot
Permanent plotPermanent plot
Permanent plotUNDP
 
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557Narong Jaiharn
 

Mais procurados (20)

นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
 
นวัตกรรมใหม่
นวัตกรรมใหม่ นวัตกรรมใหม่
นวัตกรรมใหม่
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลกT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
 
Kick off program
Kick off programKick off program
Kick off program
 
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
 
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชาศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
 
โครงการปลูกป่ารักษ์ มข
โครงการปลูกป่ารักษ์ มขโครงการปลูกป่ารักษ์ มข
โครงการปลูกป่ารักษ์ มข
 
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPAรายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
 
โครงการค่ายนักกีฏวิทยาป่าไม้ (Forest entomologist camp)2015
โครงการค่ายนักกีฏวิทยาป่าไม้ (Forest entomologist camp)2015โครงการค่ายนักกีฏวิทยาป่าไม้ (Forest entomologist camp)2015
โครงการค่ายนักกีฏวิทยาป่าไม้ (Forest entomologist camp)2015
 
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
 
Permanent plot
Permanent plotPermanent plot
Permanent plot
 
NTFP
NTFPNTFP
NTFP
 
NSTDA CPMO e-News 11-2552
NSTDA CPMO e-News 11-2552NSTDA CPMO e-News 11-2552
NSTDA CPMO e-News 11-2552
 
06_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.1
06_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.106_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.1
06_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.1
 
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
 

Destaque

Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติCarrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติUNDP
 
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทยการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทยUNDP
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS bookUNDP
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินUNDP
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ UNDP
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...UNDP
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗Auraphin Phetraksa
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติyah2527
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์UNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...UNDP
 

Destaque (16)

Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติCarrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
 
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทยการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS book
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
 
The Value of Nature
The Value of NatureThe Value of Nature
The Value of Nature
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
Cc 3 ส.ค. 58
Cc 3 ส.ค. 58Cc 3 ส.ค. 58
Cc 3 ส.ค. 58
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
 

Semelhante a การศึกษาสัตว์ป่า

คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทยคัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทยUNDP
 
ศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรJaae Watcharapirak
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อAuraphin Phetraksa
 
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตCorridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตAuraphin Phetraksa
 
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11aj_moo
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติAuraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservationaunun
 
ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว Auraphin Phetraksa
 
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์Taweesak Poochai
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรAuraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติyah2527
 

Semelhante a การศึกษาสัตว์ป่า (20)

คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทยคัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
 
Tab000125534831c
Tab000125534831cTab000125534831c
Tab000125534831c
 
ศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพร
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
 
Caral tachai mar2015
Caral tachai mar2015Caral tachai mar2015
Caral tachai mar2015
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อ
 
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตCorridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
 
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
carrying capacity
carrying capacitycarrying capacity
carrying capacity
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservation
 
ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาว
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
 
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวร
 
2.สารบัญ
2.สารบัญ2.สารบัญ
2.สารบัญ
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
 

Mais de Auraphin Phetraksa

การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณAuraphin Phetraksa
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์Auraphin Phetraksa
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557Auraphin Phetraksa
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดAuraphin Phetraksa
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรAuraphin Phetraksa
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...Auraphin Phetraksa
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีAuraphin Phetraksa
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติAuraphin Phetraksa
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีAuraphin Phetraksa
 
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗Auraphin Phetraksa
 
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่Auraphin Phetraksa
 
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)Auraphin Phetraksa
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 

Mais de Auraphin Phetraksa (17)

การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรี
 
Corridor 55-56
Corridor 55-56Corridor 55-56
Corridor 55-56
 
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
 
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
 
Prosopis juliflora tha_edit1
Prosopis juliflora tha_edit1Prosopis juliflora tha_edit1
Prosopis juliflora tha_edit1
 
แปลงถาวร
แปลงถาวร แปลงถาวร
แปลงถาวร
 
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 

การศึกษาสัตว์ป่า

  • 1. การศึกษาสัตว์ป่า ปีงบประมาณ 2557  ผีเสื้อกลางวัน  นก  แมงกะพรุนน้้าจืด สถาบันนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง
  • 2. การส้ารวจผีเสื้อกลางวันในเส้นทางศึกษาธรรมชาติ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ : กรณีศึกษาเส้นทางศึกษาธรรมชาติ กม. 33-หนองผักชี และเส้นทางศึกษาธรรมชาติน้้าตกกองแก้ว ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดนครราชสีมา
  • 3. 3 พื้นที่ศึกษา เส้นทางศึกษาธรรมชาติ กม.33 – หนองผักชี เส้นทางศึกษาธรรมชาติน้้าตกกองแก้ว
  • 4. วิธีการศึกษา 4 1) สารวจและเก็บภาพถ่ายผีเสื้อ 2) ใช้วิธีการวางแนวสารวจ (Transect) กว้าง 2 เมตรโดยวางแนวสารวจตลอดเส้นทางศึกษา ธรรมชาติ จาแนกระดับวงศ์และชนิดผีเสื้อโดยใช้หนังสือ Butterflies of Thailand และ Thailand ButterflyGuide (พิสุทธิ์ เอกอานวย) และ (เกรียงไกร สุวรรณภักดิ์) และเอกสาร อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3) ระยะเวลาที่ใช้ในการดาเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2557 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ 2558
  • 5. ผลการศึกษา 5 จากการสารวจผีเสื้อกลางวัน กรณีศึกษาเส้นทางศึกษา ธรรมชาติ กม.33 - หนองผักชี ในช่วงเดือนตุลาคม 2557 พบ จานวนผีเสื้อกลางวันทั้งสิ้น 5 วงศ์ 37 ชนิด ได้แก่ - วงศ์ผีเสื้อสีน้าเงิน (LYCAENIEAD) จานวน 2 ชนิด - วงศ์ผีเสื้อขาหน้าพู่ (NYMPHALIDAE) จานวน 16 ชนิด - วงศ์ผีเสื้อหนอนกะหล่า (PIERIDAE) จานวน 5 ชนิด - วงศ์ผีเสื้อหางติ่ง (PAPILIONIDAE) จานวน 9 ชนิด - วงศ์ผีเสื้อบินเร็ว (HESPERIIDAE) จานวน 5 ชนิด ผีเสื้อกลาสีธรรมดา ผีเสื้อเณรยอดไม้ผีเสื้อหางติ่งปารีส
  • 6. ผลการศึกษา จากการสารวจผีเสื้อกลางวัน กรณีศึกษาเส้นทางศึกษาน้าตก กองแก้ว ในช่วงเดือนตุลาคม 2557 พบจานวนผีเสื้อกลางวันทั้งสิ้น 4 วงศ์ 21 ชนิด ได้แก่ - วงศ์ผีเสื้อสีน้าเงิน (LYCAENIEAD) จานวน 2 ชนิด - วงศ์ผีเสื้อขาหน้าพู่ (NYMPHALIDAE) จานวน 12 ชนิด - วงศ์ผีเสื้อหนอนกะหล่า (PIERIDAE) จานวน 4 ชนิด - วงศ์ผีเสื้อหางติ่ง (PAPILIONIDAE) จานวน 3 ชนิด ผีเสื้อหางมังกรขาว ผีเสื้อกลาสีแดง ผีเสื้อเคาท์มลายู
  • 9. วิธีการส้ารวจแบ่งเป็น 2 วิธี สารวจโดยวิธี Line transect จะกาหนดเส้นทางมีความ ยาวเส้นทางละประมาณ 1 กิโลเมตร วิธีนี้ได้กาหนดเส้นทางเดินไว้ 3 เส้นทาง ได้แก่ เส้นทางที่ 1 ป่าชายหาด เส้นทางที่ 2 แนว เชื่อมต่อป่าชายเลนกับป่าชายหาดและเส้นทางที่ 3 ป่าพรุ (บ่อน้า ร้อน) สารวจแบบ Point count วิธีนี้ ให้ผู้สารวจหยุดอยู่กับที่ แล้วนับจานวนนกที่พบ หรือจากการได้ยินเสียงใช้เวลาในการนับจุดละ ประมาณ 10–20 นาที แล้วจึงเปลี่ยนจุดใหม่ วิธีนี้กาหนดไว้ 2 เส้นทาง คือ ป่าชายเลน และชายหาด เนื่องจาก สภาพพื้นที่เป็นพื้นที่มีความยาวมาก และบางพื้นที่ ไม่สามารถเดินเข้าไปถึงได้ เส้นทางแนวเชื่อมต่อป่าฯ เส้นทางป่าพรุ (บ่อน้้าร้อน)บริเวณป่าชายเลน
  • 10. จากการศึกษาความหลากชนิดของนกในอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม เดือนธันวาคม 2556 – เดือนกรกฎาคม 2557 พบนกทั้งสิ้น 92 ชนิด 38 วงศ์ เป็นนกประจาถิ่น 70 ชนิด นก อพยพ 22 ชนิด ป่าเชิงทรง พบนก 55 ชนิด 29 วงศ์ ป่าชายหาด พบนก 23 ชนิด 14 วงศ์ ป่าชายเลน พบนก 32 ชนิด 21 วงศ์ ป่าพรุ (บ่อน้้าร้อน) พบนก 21 ชนิด 12 วงศ์ชายหาด พบนก 17 ชนิด 10 วงศ์ ผลการศึกษา
  • 11. - สถานภาพใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง (Critically Endangered : CR) ได้แก่ นกเปล้าแดง - สถานภาพใกล้สูญพันธุ์ (Endangered : EN) ได้แก่ นกหัวโตมลายู - สถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ (Vulnerable : VU) ได้แก่ นกออก นกเปล้าแดง นกหัวโตมลายู นกออก นกในพื้นที่อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหมที่อยู่ในสถานภาพตาม ทะเบียนรายการชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามของประเทศไทย (Thailand Red Data)
  • 12. - สถานภาพใกล้ถูกคุกคาม (Near Threatened : NT) ได้แก่ เหยี่ยวแดง , นกกะเต็นแดง นกพญาปากกว้างท้องแดง , นกกะเต็นใหญ่ปีกสีน้าตาล , นกกระติ๊ดขี้หมู , นกหัวขวานเขียว คอเขียว และนกทึดทือพันธุ์มลายู เหยี่ยวแดง นกกระเต็นแดง นกพญาปากกว้างท้องแดง นกกะเต็นใหญ่ปีกสีน้าตาล นกกระติ๊ดขี้หมู นกในพื้นที่อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหมที่อยู่ในสถานภาพตาม ทะเบียนรายการชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามของประเทศไทย (Thailand Red Data) (ต่อ) นกทึดทือพันธุ์มลายู
  • 13. พื้นที่ศึกษา ค่าความหลากชนิด ค่าความร่้ารวยของชนิด ค่าความ สม่้าเสมอ ป่าเชิงทรง 3.60 54.82 0.90 ป่าชายหาด 1.75 22.79 0.56 ป่าชายเลน 1.32 31.80 0.38 ป่าดิบ 1.05 20.76 0.35 ชายหาด 1.62 16.75 0.57 ค่าความหลากหลายทางชีวภาพในแต่ละพื้นที่ศึกษา
  • 14. พื้นที่ที่ท้าการส้ารวจ ค่าความคล้ายคลึง ของชนิดนก ป่าเชิงทรง - ป่าชายหาด 41.03 ป่าเชิงทรง - ป่าชายเลน 39.08 ป่าชายหาด - ป่าชายเลน 36.36 ป่าเชิงทรง - ป่าพรุ (บ่อน้าร้อน) 26.32 ป่าชายหาด - ชายหาด 25 ป่าชายเลน - ชายหาด 24.49 ป่าชายเลน – ป่าพรุ (บ่อน้าร้อน) 15.09 ป่าเชิงทรง - ชายหาด 13.89 บ่อน้าร้อน - ชายหาด 10.53 ป่าชายหาด – ป่าพรุ (บ่อน้าร้อน) 9.09 จากผลการศึกษาจะเห็นว่า บริเวณป่าเชิงทรง กับบริเวณป่าชายหาด มีค่าความคล้ายคลึงกันมากที่สุด รองลงมาคือ บริเวณป่าเชิงทรง กับ บริเวณป่าชายเลน ทั้งนี้เนื่องจากสภาพ ป่า และโครงสร้างของป่าเป็นพื้นที่ที่มี ความซ้าซ้อนกัน หรือมีความคล้ายคลึง กันมาก ส่วนบริเวณป่าชายหาดกับป่า พรุ(บ่อน้าร้อน) จะมีค่าความคล้ายคลึง กันน้อยที่สุด ค่าความคล้ายคลึงของชนิด (Species similarity)
  • 15. พื้นที่ศึกษา ความหลากหลาย ของชนิดพันธุ์ 2554 2557 ป่าเชิงทรง 3.13 3.60 ป่าชายหาด 2.65 1.75 ป่าชายเลน 2.59 1.32 ป่าพรุ (บ่อน้าร้อน) 2.82 1.05 ชายหาด 1.32 1.62 เมื่อเปรียบเทียบผลการศึกษาที่ได้ จากค่าความหลากหลายของชนิดพันธุ์ในปี 2557 กับปี 2554 พบว่าในป่าเชิงทรง ของทั้ง 2 ปีที่สารวจ มีค่าความหลากชนิดพันธุ์ ที่ ใกล้เคียงกันมากที่สุด จากข้อมูลที่ได้นี้แสดงให้ เห็นว่าลักษณะของโครงสร้างป่า ปัจจัย แวดล้อมทางกายภาพและชีวภาพ ช่วงเดือน และฤดูกาลที่ทาการ ศึกษา ล้วนมีอิทธิพลต่อ การปรากฏตัวของนกทั้งสิ้น เปรียบเทียบค่าความหลากหลายของชนิดพันธุ์ ในปี 2554 กับปี 2557 นอกจากนี้นกบางชนิดยังสามารถบ่งบอกถึงความสมบูรณ์ของสภาพป่าได้อีกด้วย เช่น นกกะเต็นใหญ่ปีกสีน้าตาล จะอาศัยในป่าชายเลนที่มีความสมบูรณ์เท่านั้น ซึ่งการสารวจพบนก ชนิดดังกล่าวนั้น แสดงว่าป่าชายเลนในพื้นที่อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม ยังมีความอุดมสมบูรณ์อยู่
  • 16. การศึกษา ส้ารวจ และติดตามสัตว์ประจ้าถิ่นหายาก แมงกะพรุนน้้าจืดสายพันธุ์น้้าไหล (Craspedacusta sowerbyi) ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
  • 18. วิธีการศึกษา 1. ตรวจเอกสารที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ศึกษา และข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับแมงกะพุรนน้าจืด 2. สารวจในพื้นที่เป้าหมายในบริเวณลาน้าเข็ก 12 จุดสารวจ 3. เก็บข้อมูล ในแต่ละจุดของพื้นที่ศึกษา ได้แก่ 3.1 สัมภาษณ์กลุ่มบุคคลเพื่อศึกษาแนวความคิดต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ ในพื้นที่ 3.2 ศึกษาสภาพแวดล้อมบริเวณพื้นที่ 3.3 สารวจในแหล่งน้าธรรมชาติ เมื่อพบแมงกะพรุนน้าจืด นาขึ้นมาวัดขนาดโดยใช้ เหรียญกษาปณ์ขนาดต่างๆ สังเกตพฤติกรรม และปล่อยกลับคืนสู่ลาน้าธรรมชาติต่อไป 3.4 บันทึกข้อมูลคุณภาพน้า ได้แก่ อุณหภูมิอากาศ อุณหภูมิของผิวน้า อุณหภูมิใต้น้าโดย ความลึกจากผิวน้า ที่ความลึก 1 เมตร และ 2 เมตร และค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) 4. ระยะเวลาทาการสารวจข้อมูล ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ – เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557
  • 19. จุดส้ารวจ อุณหภูมิเฉลี่ยของน้้า บริเวณจุดส้ารวจ ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) เฉลี่ย พบ/ ไม่พบ หมายเหตุ อากาศ ๐ C ผิวน้้า ๐ C 1. แก่งสอง 29 26.8 6.8 กรดอ่อนๆ  นอกเขตอุทยานฯ 2. ท่าน้้าสถานที่ปฏิบัติธรรมแก่งบางระจัน 28 27 7.4 ด่างอ่อนๆ  นอกเขตอุทยานฯ 3. แก่งบางระจัน 27 26.5 7.2 ด่างอ่อนๆ  นอกเขตอุทยานฯ 4. แก่งวังน้้าเย็น 24.5 23 7.5 ด่างอ่อนๆ  ในเขตอุทยานฯ 5. แก่งหักไพรี 27 26 8.1 ด่าง  ในเขตอุทยานฯ 6. สวนป่าทุ่งแสลงหลวงหน่วยที่ 2 (จุดสกัด) 25.5 25 7.6 ด่างอ่อนๆ  ในเขตอุทยานฯ 7. หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ สล.1 (สะพานสลิง) 26 24.5 7.2 ด่างอ่อนๆ  ในเขตอุทยานฯ 8. แก่งฮอม 28.5 27 7.1 ด่างอ่อนๆ  ในเขตอุทยานฯ 9. แก่งจิก 29 27 7 กลาง  ในเขตอุทยานฯ 10. น้้าตกแก่งโสภา 27 25 7.2 ด่างอ่อนๆ  ในเขตอุทยานฯ 11. น้้าตกปอย 28 27 7.4 ด่างอ่อนๆ  นอกเขตอุทยานฯ 12. หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ สล.4 (ล้ากระโดน) 28 27.5 7.2 ด่างอ่อนๆ  นอกเขตอุทยานฯ ผลการส้ารวจแมงกะพรุนน้้าจืด ระหว่างวันที่ 13 – 25 มีนาคม 2557 ช่วงเวลา 10.00 น.–13.00 น.
  • 20. สรุปผลการส้ารวจแมงกะพรุนน้้าจืดในรอบ 5 ปี (พ.ศ.2553 -2557) ที่ จุดส้ารวจ การปรากฏตัวของแมงกะพรุนน้้าจืด ปี พ.ศ. ที่ส้ารวจ หมายเหตุ 2553 2554 2555 2556 2557 1 แก่งสอง -     นอกเขตอุทยานฯ 2 ท่าน้้าสถานที่ปฏิบัติธรรมแก่งบางระจัน      นอกเขตอุทยานฯ 3 แก่งบางระจัน      นอกเขตอุทยานฯ 4 แก่งวังน้้าเย็น -     ในเขตอุทยานฯ 5 แก่งหักไพรี -     ในเขตอุทยานฯ 6 สวนป่าทุ่งแสลงหลวงหน่วยที่ 2 (จุดสกัด) -     ในเขตอุทยานฯ 7 หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ สล.1 (สะพานสลิง) -     ในเขตอุทยานฯ 8 แก่งฮอม      ในเขตอุทยานฯ 9 แก่งจิก      ในเขตอุทยานฯ 10 น้้าตกแก่งโสภา -     ในเขตอุทยานฯ 11 น้้าตกปอย -     นอกเขตอุทยานฯ 12 หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ สล.4 (ล้ากระโดน) -     นอกเขตอุทยานฯ รวมจุดส้ารวจ/แห่ง 4 12 12 12 12 นอกเขตอุทยานฯ 5 แห่ง ในเขตอุทยานฯ 7 แห่ง จ้านวนจุดที่พบ 1 4 2 1 2 จ้านวนจุดที่ไม่พบ 3 8 10 11 10
  • 21. ร่วมกับ คุณผ่องศรี โสภา เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบาย และแผน องค์การบริหารส่วนตาบลหนองแม่นา อาเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ และคณะ ผศ.ดร.ไพรัช ทาบสีแพร อาจารย์ประจาภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 22.
  • 23. Contact : ฝ่ายวิจัยฯ email :hnukool@hotmail.com www.dnpii.org