SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 18
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง คา สั่งหรือชุดคา สั่ง ที่เขียนขึ้นมา 
เพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทา งานตามที่เราต้องการ เราจะให้ 
คอมพิวเตอร์ทา อะไรก็เขียนเป็นคา สั่ง ซึ่งต้องสั่งเป็นขั้นตอนและแต่ละ 
ขั้นตอนต้องทา อย่างละเอียดและครบถ้วน ซึ่งจะเกิดเป็นงานชิ้นหนึ่ง 
ขึ้นมามีชื่อเรียกว่า "โปรแกรม" 
ซอฟต์แวร์จะแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้2 ประเภท คือ
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) 
ซอฟต์แวร์ระบบ หมายถึงโปรแกรมที่ทา หน้าที่ 
ควบคุมการทา งานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่างและอา นวย 
ความสะดวกให้กับผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งแบ่งแต่ 
ละโปรแกรมตามหน้าที่การทา งานดังนี้
OS (Operating System) 
คือโปรแกรมระบบที่ทา หน้าที่ควบคุมการใช้ 
งานส่วนต่างๆของเครื่องคอมพิวเตอร์เช่นควบคุมหน่วยความจา ควบคุม 
หน่วยประมวลผลควบคุมหน่วยรับและควบคุมหน่วยแสดงผล ตลอดจน 
แฟ้มข้อมูลต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพสูงที่สุด
OS (Operating System) 
ปัจจุบันนี้มีโปรแกรมระบบอยู่หลายตัวด้วยกัน ซึ่ง 
แต่ละตัวนั้นก็เป็นโปรแกรมระบบปฏิบัติการ 
เหมือนกัน แต่ต่างกันที่ลักษณะการทา งานจะไม่ 
เหมือนกัน
คือ โปรแกรมระบบที่ทา หน้าที่ในการแปลโปรแกรมหรือชุดคา สั่งที่ 
เขียนด้วยภาษาที่ไม่ใช่ภาษาเครื่องหรือภาษาเครื่องที่ไม่เข้าใจให้เป็นภาษาที่ 
เครื่องเข้าใจและนาไปปฏิบัติได้เช่นภาษาBASIC,COBOL,C,PASCAL, FORTRAN, 
ASSEMBLY เป็นต้น สา หรับตัวแปลนั้นจะมีอยู่3 แบบคือ 
- Assembler 
- อินเตอร์พรีเตอร์(Interpreter) 
- คอมไพเลอร์ (Compiler) 
Translation Program
Utility Program 
คือโปรแกรมระบบที่ทา หน้าที่ในการอา นวยความ 
สะดวกให้กับผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ให้สามารถทา งานได้ 
สะดวก รวดเร็วและง่ายขึ้น เช่น โปรแกรมที่ใช้ในการ 
เรียงลา ดับข้อมูล โปรแกรมโอนย้ายข้อมูลจากชนิดหนึ่งไปยัง 
อีกชนิดหนึ่ง เป็นต้น สา หรับโปรแกรมที่ทา งานในด้านนี้ 
ได้แก่ Pctools, Sidekick, PKZIP, PKUNZIP Norton Utility เป็น 
ต้น
Diagnostic Program 
คือโปรแกรมระบบที่ทา หน้าที่ตรวจสอบข้อผิดพลาดใน 
การทา งานของอุปกรณ์ต่างๆของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้แก่ 
โปรแกรม QAPLUS โปรแกรม NORTON เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) 
หมายถึง โปรแกรมที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์เป็น 
ผู้เขียนขึ้นมาใช้เองเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ 
ทา งานอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่ต้องการ ซึ่งแบ่งได้ 
ดังนี้
User Program 
คือโปรแกรมที่ผู้ใช้เขียนขึ้นมาใช้เองโดยใช้ภาษาระดับต่างๆทาง 
คอมพิวเตอร์เช่นภาษาBASICCOBO, PASCAL, C, ASSEMBLY, ฯลฯ ซึ่งจะ 
ใช้ภาษาใดขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของงานเหล่านั้น เช่น 
โปรแกรมระบบบัญชี, โปรแกรมควบคุมสต็อกสินค้า เป็นต้น
Package Program 
คือโปรแกรมสา เร็จรูป ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ถูก 
สร้างหรือเขียนขึ้นมาโดยบริษัทต่างๆเสร็จเรียบร้อย 
แล้วพร้อมที่จะนามาใช้งานต่างๆได้ทันที
การออกแบบโปรแกรม(Program design) 
การออกแบบโปรแกรมเป็นระยะของการวางแผนและออกแบบโดย 
ระบุคุณลักษณะของข้อมูลเข้า (Input) ข้อมูลออก (Output) กรรมวิธีการ 
ประมวลกา หนดรายละเอียดของหน่วยเก็บข้อมูลและวิธีการควบคุมซึ่งค่า 
ของความพยายาม (effort) ใน การวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรมขึ้นอยู่กับ 
ความซับซ้อนของงานประยุกต์และจา นวนของงานในระบบโดยปกติจะเป็น 
การกา หนดกฎเกณฑ์ ตรรกะและคา สั่งที่ระบุถึงการ ปฏิบัติงานซึ่งเรียกว่า 
โมดุล
การออกแบบโปรแกรม(Program design) 
ส่วนมากมีโมดุลควบคุมใช้สาหรับตรวจสอบและควบคุมการทา งานต่าง ๆ เช่น 
1. ลา ดับของการประมวลผล 
2. ขั้นตอนการทา งานซ้า ๆ 
3. เงื่อนไขยกเว้น เช่น ข้อผิดพลาดต่าง ๆ 
4. สิ่งเบี่ยงเบนจากการประมวลผลปกติ
การเขียนคาสั่งโปรแกรม (Program coding) 
การเขียนคา สั่งโปรแกรมเป็นขั้นตอนในการแปลง (convert) ตรรกะ ที่ 
ได้ออกแบบในระยะการออกแบบโปรแกรมให้เป็นกลุ่มของคา สั่งโปรแกรม 
ภาษาเพื่อ สั่งให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามโปรแกรมภาษาในปัจจุบันมีมากมาย 
หลายภาษา ซึ่งเหมาะกับงานด้านต่าง ๆ ซึ่งแต่ละภาษามีการเขียนที่แตกต่างกัน 
ทั้งรูปแบบ กฎเกณฑ์ต่างๆ
การเขียนคาสั่งโปรแกรม (Program coding) 
ปัจจุบัน จะประกอบด้วยคา สั่งโครงสร้างพื้นฐาน 3 อย่างคือ 
1. แบบลา ดับ (Sequence) 
2. แบบทางเลือก (Selection) 
3. แบวนรอบ (Loop หรือ Repetition)
ภาษาคอมพิวเตอร์ ( Programming Languages ) 
เครื่องมือที่มนุษย์ใช้สื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์ โดย 
แต่ละภาษาจะมีลักษณะเฉพาะตัวที่ชัดเจน มีคา ศัพท์ที่ใช้ 
จา นวนจา กัด
ระดับของภาษา(Level of Languages) 
ภาษาเครื่อง(Machine Languages) 
ภาษาแอสแซมบลี(Assembly Languages) 
ภาษาระดับสูง(High-level Languages) 
ภาษาระดับสูงมาก(Very High-level Languages) 
ภาษาธรรมชาติ(Natural Languages)
จัดทาโดย 
นายวรพศ คมขา 
นางสาวกัญญาพัชร เจนกิจการ 
นางสาวสุพิชชา เดชรุ่ง 
นางสาวนิชา สนชัย 
นางสาวจิราวรรณ พิศูจน์ 
นางสาวอนันธิชา อชมหาต 
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่5/4

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์อยู่ไหน เหงา
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Tonkaw Napassorn
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Tonkaw Napassorn
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1fernleo
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1fernleo
 
Sheet5-1
Sheet5-1Sheet5-1
Sheet5-1sdcpnw
 
ระบบปฏิบัติการPu m
ระบบปฏิบัติการPu mระบบปฏิบัติการPu m
ระบบปฏิบัติการPu mAthirak Saengtong
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์Pokypoky Leonardo
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6sawitri555
 
ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01tonglots
 
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์Khunakon Thanatee
 
เรื่อง ซอฟต์แวร์
เรื่อง ซอฟต์แวร์เรื่อง ซอฟต์แวร์
เรื่อง ซอฟต์แวร์sarankorn
 
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)jiratchayalert
 

Mais procurados (19)

work3-57
work3-57work3-57
work3-57
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
 
Act1
Act1Act1
Act1
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
Learnning 04
Learnning 04Learnning 04
Learnning 04
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Sheet5-1
Sheet5-1Sheet5-1
Sheet5-1
 
ระบบปฏิบัติการPu m
ระบบปฏิบัติการPu mระบบปฏิบัติการPu m
ระบบปฏิบัติการPu m
 
ระบบปฏิบัติการGot
ระบบปฏิบัติการGotระบบปฏิบัติการGot
ระบบปฏิบัติการGot
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01ระบบปฏิบัติการ edit01
ระบบปฏิบัติการ edit01
 
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
สื่อการสอนเรื่อง ซอฟต์แวร์ประยุกต์
 
เรื่อง ซอฟต์แวร์
เรื่อง ซอฟต์แวร์เรื่อง ซอฟต์แวร์
เรื่อง ซอฟต์แวร์
 
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์ (1)
 

Semelhante a โปรแกรมคอมพิวเตอร์

โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Worapod Khomkham
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2ment1823
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ ComputerSPipe Pantaweesak
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์1
โปรแกรมคอมพิวเตอร์1โปรแกรมคอมพิวเตอร์1
โปรแกรมคอมพิวเตอร์1Worapod Khomkham
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net Saharat Yimpakdee
 
ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์Nalatporn
 
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศPhutawan Murcielago
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Yu Maneeploypeth
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6sawitri555
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบSPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)SittichaiSppd
 
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นC:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น-
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์SittichaiSppd
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 

Semelhante a โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (20)

โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์1
โปรแกรมคอมพิวเตอร์1โปรแกรมคอมพิวเตอร์1
โปรแกรมคอมพิวเตอร์1
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
Work3 19
Work3 19Work3 19
Work3 19
 
ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์
 
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
 
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นC:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Act1 m2-software
Act1 m2-softwareAct1 m2-software
Act1 m2-software
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 

Mais de Worapod Khomkham

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Worapod Khomkham
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกWorapod Khomkham
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระWorapod Khomkham
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐานWorapod Khomkham
 
นายวรพศ คมขำ 5 4 เลขที่ 5
นายวรพศ  คมขำ 5 4 เลขที่ 5นายวรพศ  คมขำ 5 4 เลขที่ 5
นายวรพศ คมขำ 5 4 เลขที่ 5Worapod Khomkham
 

Mais de Worapod Khomkham (6)

งานคอม#2
งานคอม#2งานคอม#2
งานคอม#2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
 
นายวรพศ คมขำ 5 4 เลขที่ 5
นายวรพศ  คมขำ 5 4 เลขที่ 5นายวรพศ  คมขำ 5 4 เลขที่ 5
นายวรพศ คมขำ 5 4 เลขที่ 5
 

โปรแกรมคอมพิวเตอร์

  • 2. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง คา สั่งหรือชุดคา สั่ง ที่เขียนขึ้นมา เพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทา งานตามที่เราต้องการ เราจะให้ คอมพิวเตอร์ทา อะไรก็เขียนเป็นคา สั่ง ซึ่งต้องสั่งเป็นขั้นตอนและแต่ละ ขั้นตอนต้องทา อย่างละเอียดและครบถ้วน ซึ่งจะเกิดเป็นงานชิ้นหนึ่ง ขึ้นมามีชื่อเรียกว่า "โปรแกรม" ซอฟต์แวร์จะแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้2 ประเภท คือ
  • 3. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ซอฟต์แวร์ระบบ หมายถึงโปรแกรมที่ทา หน้าที่ ควบคุมการทา งานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่างและอา นวย ความสะดวกให้กับผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งแบ่งแต่ ละโปรแกรมตามหน้าที่การทา งานดังนี้
  • 4. OS (Operating System) คือโปรแกรมระบบที่ทา หน้าที่ควบคุมการใช้ งานส่วนต่างๆของเครื่องคอมพิวเตอร์เช่นควบคุมหน่วยความจา ควบคุม หน่วยประมวลผลควบคุมหน่วยรับและควบคุมหน่วยแสดงผล ตลอดจน แฟ้มข้อมูลต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพสูงที่สุด
  • 5. OS (Operating System) ปัจจุบันนี้มีโปรแกรมระบบอยู่หลายตัวด้วยกัน ซึ่ง แต่ละตัวนั้นก็เป็นโปรแกรมระบบปฏิบัติการ เหมือนกัน แต่ต่างกันที่ลักษณะการทา งานจะไม่ เหมือนกัน
  • 6. คือ โปรแกรมระบบที่ทา หน้าที่ในการแปลโปรแกรมหรือชุดคา สั่งที่ เขียนด้วยภาษาที่ไม่ใช่ภาษาเครื่องหรือภาษาเครื่องที่ไม่เข้าใจให้เป็นภาษาที่ เครื่องเข้าใจและนาไปปฏิบัติได้เช่นภาษาBASIC,COBOL,C,PASCAL, FORTRAN, ASSEMBLY เป็นต้น สา หรับตัวแปลนั้นจะมีอยู่3 แบบคือ - Assembler - อินเตอร์พรีเตอร์(Interpreter) - คอมไพเลอร์ (Compiler) Translation Program
  • 7. Utility Program คือโปรแกรมระบบที่ทา หน้าที่ในการอา นวยความ สะดวกให้กับผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ให้สามารถทา งานได้ สะดวก รวดเร็วและง่ายขึ้น เช่น โปรแกรมที่ใช้ในการ เรียงลา ดับข้อมูล โปรแกรมโอนย้ายข้อมูลจากชนิดหนึ่งไปยัง อีกชนิดหนึ่ง เป็นต้น สา หรับโปรแกรมที่ทา งานในด้านนี้ ได้แก่ Pctools, Sidekick, PKZIP, PKUNZIP Norton Utility เป็น ต้น
  • 8. Diagnostic Program คือโปรแกรมระบบที่ทา หน้าที่ตรวจสอบข้อผิดพลาดใน การทา งานของอุปกรณ์ต่างๆของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้แก่ โปรแกรม QAPLUS โปรแกรม NORTON เป็นต้น
  • 9. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) หมายถึง โปรแกรมที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์เป็น ผู้เขียนขึ้นมาใช้เองเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ทา งานอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่ต้องการ ซึ่งแบ่งได้ ดังนี้
  • 10. User Program คือโปรแกรมที่ผู้ใช้เขียนขึ้นมาใช้เองโดยใช้ภาษาระดับต่างๆทาง คอมพิวเตอร์เช่นภาษาBASICCOBO, PASCAL, C, ASSEMBLY, ฯลฯ ซึ่งจะ ใช้ภาษาใดขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของงานเหล่านั้น เช่น โปรแกรมระบบบัญชี, โปรแกรมควบคุมสต็อกสินค้า เป็นต้น
  • 11. Package Program คือโปรแกรมสา เร็จรูป ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ถูก สร้างหรือเขียนขึ้นมาโดยบริษัทต่างๆเสร็จเรียบร้อย แล้วพร้อมที่จะนามาใช้งานต่างๆได้ทันที
  • 12. การออกแบบโปรแกรม(Program design) การออกแบบโปรแกรมเป็นระยะของการวางแผนและออกแบบโดย ระบุคุณลักษณะของข้อมูลเข้า (Input) ข้อมูลออก (Output) กรรมวิธีการ ประมวลกา หนดรายละเอียดของหน่วยเก็บข้อมูลและวิธีการควบคุมซึ่งค่า ของความพยายาม (effort) ใน การวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรมขึ้นอยู่กับ ความซับซ้อนของงานประยุกต์และจา นวนของงานในระบบโดยปกติจะเป็น การกา หนดกฎเกณฑ์ ตรรกะและคา สั่งที่ระบุถึงการ ปฏิบัติงานซึ่งเรียกว่า โมดุล
  • 13. การออกแบบโปรแกรม(Program design) ส่วนมากมีโมดุลควบคุมใช้สาหรับตรวจสอบและควบคุมการทา งานต่าง ๆ เช่น 1. ลา ดับของการประมวลผล 2. ขั้นตอนการทา งานซ้า ๆ 3. เงื่อนไขยกเว้น เช่น ข้อผิดพลาดต่าง ๆ 4. สิ่งเบี่ยงเบนจากการประมวลผลปกติ
  • 14. การเขียนคาสั่งโปรแกรม (Program coding) การเขียนคา สั่งโปรแกรมเป็นขั้นตอนในการแปลง (convert) ตรรกะ ที่ ได้ออกแบบในระยะการออกแบบโปรแกรมให้เป็นกลุ่มของคา สั่งโปรแกรม ภาษาเพื่อ สั่งให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามโปรแกรมภาษาในปัจจุบันมีมากมาย หลายภาษา ซึ่งเหมาะกับงานด้านต่าง ๆ ซึ่งแต่ละภาษามีการเขียนที่แตกต่างกัน ทั้งรูปแบบ กฎเกณฑ์ต่างๆ
  • 15. การเขียนคาสั่งโปรแกรม (Program coding) ปัจจุบัน จะประกอบด้วยคา สั่งโครงสร้างพื้นฐาน 3 อย่างคือ 1. แบบลา ดับ (Sequence) 2. แบบทางเลือก (Selection) 3. แบวนรอบ (Loop หรือ Repetition)
  • 16. ภาษาคอมพิวเตอร์ ( Programming Languages ) เครื่องมือที่มนุษย์ใช้สื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์ โดย แต่ละภาษาจะมีลักษณะเฉพาะตัวที่ชัดเจน มีคา ศัพท์ที่ใช้ จา นวนจา กัด
  • 17. ระดับของภาษา(Level of Languages) ภาษาเครื่อง(Machine Languages) ภาษาแอสแซมบลี(Assembly Languages) ภาษาระดับสูง(High-level Languages) ภาษาระดับสูงมาก(Very High-level Languages) ภาษาธรรมชาติ(Natural Languages)
  • 18. จัดทาโดย นายวรพศ คมขา นางสาวกัญญาพัชร เจนกิจการ นางสาวสุพิชชา เดชรุ่ง นางสาวนิชา สนชัย นางสาวจิราวรรณ พิศูจน์ นางสาวอนันธิชา อชมหาต นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่5/4