SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
88



            กิจกรรมฐานการอ่าน
ฐานการอ่าน
     การจัดฐานการอ่านนั้นเป็นกิจกรรมหนึ่งที่สามารถ
นำาไปสู่กิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย รวมถึง
การกระตุ้นให้เด็กรักการอ่านและการค้นคว้ามากขึ้น ฐาน
การอ่านสามารถประยุกต์ได้หลายรูปแบบใช้องค์
ประกอบของสถานศึกษา สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรรอบตัว
ทีมีอยู่แล้วมาจัดทำาเป็นฐานหรือใช้แหล่งค้นคว้า เช่น
   ่
ห้องสมุด ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการทางศิลปะ
ห้องประกอบการศึกษาอื่น ๆ หากเราต้องจัดฐานต่าง ๆ
ให้สอดคล้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ก็สามารถดำาเนิน
การได้ไม่ยาก โดยดึงเอาเนื้อหาที่จะสอนมาประยุกต์
เป็นเกมเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนให้นักเรียนได้เล่น
อย่างมีความรู้
วั      ต      ถุ      ป    ร      ะ    ส     ง     ค์
     1. ส่งเสริมและปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน
     2. ฝึกให้รู้จักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
     3. ครูประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนในวิชาของตน
         ตามกลุ่มสาระ
การเรียนรู้
ขั้ น ต อ น ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม
     1. กำาหนดฐานต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาที่
         สอน
     2. เตรียมฐานต่าง ๆ ในบริเวณที่เหมาะสม เช่น ใน
         ห้องสมุด ใต้ต้นไม้
ใต้อาคาร หรือจากแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน
     3. กำาหนดกติกา วิธีการและชี้แจงให้นักเรียนทราบ
     4. แจกใบงานให้นักเรียนฝึกกิจกรรมฐานการอ่าน
89



      5. ให้นักเรียนแบ่งเป็นกลุ่ม หรืออาจเป็นงานเดี่ยว
         แล้วแต่จำานวนนักเรียนของแต่ละสถานศึกษา
      6. เมื่อทุกคนเข้าฐานทุกฐานแล้วควรให้นักเรียน
         ออกมานำาเสนอหรือสรุปและอภิปรายร่วมกัน
สื่                                                      อ
    1. หนังสือหมวดต่าง ๆ ของห้องสมุด
    2. ใบความรู้
    3. แผ่นพับ หนังสือพิมพ์ หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่
       สอดคล้องกับเนื้อหาที่ต้องการให้นักเรียนเรียนรู้
    4. สถานที่สำาคัญในโรงเรียนที่สามารถนำาเข้าสู่บท
       เรียนได้ เช่นหอประชุม ห้องสมุดกลุ่มสาระ ใต้
       ต้นไม้
ป      ร       ะ      เ     มิ      น       ผ       ล
    1. สังเกตพฤติกรรม
          - โดยวิทยากรกลุ่ม
          - ตัวแทนนักเรียน
    2. แบบประเมินพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม
    3. แบบรายงานการเข้าฐาน
    4. แบบสอบถาม
กำาหนดฐานต่าง ๆ ที่ต้องการให้นักเรียนได้เรียนรู้
คือ
    ฐานที่ ١ อ่านแล้วร้อง (เพลงชาติไทย)
    ฐานที่ ٢ อ่านแล้วมีมารยาทไทย (การไหว้)
    ฐานที่ ٣ อ่านแล้วเล่า
    ฐานที่ ٤ อ่านแล้วพับ
    ฐานที่ ٥ อ่านแล้วเขียน (จากหนังสือพิมพ์)
    ฐานที่ ٦ อ่านแล้วทาย
    ฐานที่ ٧ อ่านแล้วตีลังกาคิด
90




      ฐานที่ ١ อ่านแล้วร้องเพลงชาติไทย




วัตถุประสงค์
     1. ให้นักเรียนมีจิตสำานึกในความรักชาติ
     2. ให้นักเรียนขับร้องเพลงชาติไทยได้ถูกต้อง
อุปกรณ์
     1. ใบความรู้เกี่ยวกับเพลงชาติไทย
     2. ใบขอรับการปฏิบัติกิจกรรมฐาน
     3. ใบประเมินสำาหรับวิทยากรประจำาฐาน
     4. แถบบันทึกเสียงเพลงชาติไทย หรือ CD VCD
        เพลงชาติไทย
ขั้นตอนการดำาเนินกิจกรรม
     1. กลุ่มนักเรียนทั้งหมดแสดงเอกลักษณ์ประจำา
        กลุ่มหรือตระกูลของตนที่เรียกว่า การแสดง
         “พลัง” ก่อนปฏิบัติกิจกรรมฐาน
     2. วิทยากรประจำาฐานแจกใบความรู้เรื่อง “เพลง
        ชาติไทย” ให้นักเรียนอ่าน ประวัติ ความเป็นมา
        และเนื้อร้องเพลงชาติไทย
91



    3. ฝึกการร้องเพลงชาติไทยให้ถูกต้องตามเนื้อร้อง
         ทำานองจากแถบบันทึกเสียง CD VCD (อาจจะ
         แบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยเท่า ๆ กันไปฝึกการร้อง)
      4. กลุ่มมาร้องเพลงชาติไทยให้ถูกต้องตามจังหวะ
         ทำานองเพื่อให้วิทยากรฟัง
ขั้นสรุปและประยุกต์ใช้
         วิทยากรให้กลุ่มออกมาร้องเพลงชาติไทย และ
ให้ตัวแทนตอบคำาถามว่าจะนำากิจกรรมนี้ไปใช้ในชีวิต
ประจำาวันและเป็นแบบอย่างในการร้องเพลงชาติไทยได้
อย่างถูกต้อง
ข้อเสนอแนะ
         วิทยากรประจำาฐานควรมีความรู้ด้านดนตรีศึกษา
92




                          ใบความรู้
                    เรือง เพลงชาติไทย
                       ่

      เพลงชาติสมัยก่อนนั้นเราไม่มี มีแต่เพลงสรรเสริญ
พระบารมี ภายหลั ง การเปลี่ ย นแปลงการปกครองจาก
ร ะ บ อ บ ส ม บู ร ณ า ญ า สิ ท ธิ ร า ช ม า เ ป็ น ร ะ บ อ บ
ประชาธิ ป ไตย เมื่ อ วั น ที่ ٢٤ มิ ถุ น ายน ٢٤7 ٥ ไม่ กี่ วั น
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีก็แต่งบทร้องเพลงชาติขึ้นโดย
ใช้ทำานองเพลงมหาชัย ต่อมามีคณะก่อการกลุ่มหนึ่งดำาริ
จะให้มเพลงชาติแบบสากล จึงติดต่อให้พระเจนดุริยางค์
          ี
แต่ ง ทำา นอง และให้ ขุ น วิ จิ ต รมาตรา (สง่ า กาญจนาค
พั น ธุ์ ) เ ป็ น ผู้ แ ต่ ง คำา ร้ อ ง แ ต่ ท า ง ก า ร ไ ม่ รั บ ร อ ง
      ครั้นถึง พ.ศ. ٢٤٨٢ ชื่อประเทศสยามได้เปลี่ยนเป็น
ประเทศไทย ได้มีการประกวดบทร้องเพลงกับทำานอง
เพลงชาติขึ้น ผลการประกวด กองทัพบกได้รางวัล
ที่ ١ ผู้ประพันธ์บทร้องคือ พ.อ.หลวงสารานุประพันธ์
และได้ประกาศใช้บทร้องเพลงชาติของ พ.อ.หลวงสารา
นุประพันธ์ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ส่วนทำานองได้ใช้ของ
พระเจนดุริยางค์ ตามแนวที่มีอยู่ ณ กรมศิลปากร ( ครู
เงิน. ٢٥٣٩ : 18-19 )

                       เพลงชาติไทย
                   ประเทศไทยรวมเลือดเนื้อชาติเชื้อไทย
             เป็นประชารัฐ ผไทของไทยทุกส่วน
             อยู่ดำารงคงไว้ได้ทั้งมวล
             ด้วยไทยล้วนหมาย รักสามัคคี
             ไทยนี้รักสงบ แต่ถึงรบไม่ขลาด
             เอกราชจะไม่ให้ใครข่มขี่
             สละเลือดทุกหยาด เป็นชาติ พลี
93



           เถลิงประเทศชาติไทย ทวีมีชัย ไชโย



              แบบรายงานการเข้าฐาน
ค่ายเยาวชนรักการอ่าน ณ ..............................
       วันที.........................................
            ่

          ชื่อฐาน อ่านแล้วร้องเพลงชาติไทย
                       ตรง     ความ   กล้า  รวม
                        ต่อ   สามารถ แสดงอ คะแน
                       เวลา   ตามฐาน   อก    น
    ที่    ชื่อกลุ่ม
                                     พร้อม
                                     เพรียง
                       ١٠       ١٠     ١٠   30
    ١
    .
    ٢
    .
    ٣
    .
    ٤
    .
    ٥
    .
    ٦
    .
    ٧
    .
94



ความคิดเห็น/ ข้อเสนอแนะของวิทยากรประจำาฐาน
........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
............................
                                 ลงชื่อ ...............................
                                      ....       ผู้ประเมิน




 ฐานที่ ٢ อ่านแล้วมีมารยาทไทย (การไหว้)




วัตถุประสงค์
     1. ให้นักเรียนอนุรักษ์ความเป็นไทยและเป็นแบบ
        อย่างที่ดแก่สังคมไทยได้
                  ี
อุปกรณ์
     1. ใบความรู้เรื่องการแสดงความเคารพโดยการไหว้
     2. รูปภาพการไหว้ระดับต่าง ๆ
95



     3. ใบขอรับการปฏิบัติกิจกรรมฐาน
     4. ใบประเมินสำาหรับวิทยากรประจำาฐาน
ขั้นตอนการดำาเนินกิจกรรม
     1. กลุ่มนักเรียนทั้งหมดแสดงเอกลักษณ์ประจำา
        กลุ่มหรือตระกูลของตนที่เรียกว่า การแสดง
         “พลัง” ก่อนปฏิบัติกิจกรรมฐาน
     2. วิทยากรประจำาฐานแจกใบความรู้เรื่องการแสดง
        ความเคารพโดยการไหว้
     3. วิทยากรสาธิตการไหว้ระดับต่าง ๆ พร้อมทั้งให้ดู
        ภาพประกอบ
     4. วิทยากรแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อย เพื่อ
        ฝึกปฏิบัติ โดยให้จับคู่กันและช่วยกันดูความถูก
        ต้องให้การปฏิบัติ จะเป็นความถูกต้อง อ่อนช้อย
     5. ให้นักเรียนทั้งหมดปฏิบัติการไหว้พร้อมกัน


ขั้นสรุปและประยุกต์ใช้
     1. ให้นักเรียนออกมาสรุปการมีมารยาทไทยโดย
        การไหว้ระดับต่าง ๆ
     2. นักเรียนสามารถนำากิจกรรมอ่านแล้วมีมารยาท
        ไทยไปใช้ในชีวิต
ประจำาวัน
96




                      ใบความรู้
       เรื่อง การแสดงความเคารพ (การไหว้)

     การแสดงความเคารพมี ห ลายลั ก ษณะ เช่ น การ
ประนมมือ การไหว้ การกราบ การคำานับ การถวายความ
เคารพ การถวายบั ง คม เป็ น ต้ น การที่ จ ะแสดงความ
เคารพในลั ก ษณะใดนั้ น ต้ อ งพิ จ ารณาผู้ ที่ จ ะรั บ ความ
เคารพด้วยว่าอยู่ในฐานะเช่นใด หรือในโอกาสใด แล้ว
จึงแสดงความเคารพให้ถูกต้องและเหมาะสม การแสดง
ความเคารพ ( สำา นั กงานคณะกรรมการวั ฒ นธรรมแห่ ง
ช า ติ . 2542 : 29 – 30 ) แ บ่ ง ไ ด้ ดั ง นี้
     ١. การประนมมือ (อัญชลี) ประนมมือให้นิ้วมือ
แนบชิดกัน ฝ่ามือราบ ปลายนิ้วตั้งขึ้น แขนแนบตัว ระดับ
อก ไม่กางศอก ทั้งชายและหญิงปฏิบัติเหมือนกัน การ
ประนมมือนี้ใช้ในการสวดมนต์ ฟังพระสวดมนต์ ฟังพระ
ธรรมเทศนา และขณะพู ด กั บ พระสงฆ์ ซึ่ ง เป็ น ที่ เ คารพ
นั    บ     ถื   อ          เ      ป็   น          ต้    น
97



     2. การไหว้ (วันทนา) การไหว้เป็นการแสดงความ
          เคารพโดยการประนมมือ
ให้นิ้วชิดกันยกมือไหว้ การไหว้แบบไทยแบ่งออกเป็น ٣
แบบ ตามระดับของบุคคล ดังนี้
       ระดับที่ ١ การไหว้พระ ได้แก่ การไหว้พระ
รัตนตรัยรวมทั้งปูชนียวัตถุและ ปูชนียสถานที่เกี่ยวกับ
พระพุทธศาสนา ในกรณีที่ไม่สามารถกราบแบบ
เบญจางคประดิษฐ์ได้โดยประนมมือให้ปลายนิ้วชี้จรด
ส่วนบนของหน้าผาก
            ชาย ยืนแล้วค้อมตัวลงให้ตำ่าพร้อมกับยกมือ
ขึ้นไหว้
            หญิง ยืนหรือย่อเข่าลงให้ตำ่าโดยถอยเท้าข้าง
ใดข้างหนึ่งตามถนัด พร้อมกับยกมือขึ้นไหว้
       ระดับที่ ٢ การไหว้ผู้มีพระคุณและผู้มีอาวุโส ได้แก่
พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ครู อาจารย์ และผู้ที่เราเคารพ
นับถืออย่างสูง โดยประนมมือให้ปลายนิ้วชี้จรดระหว่าง
คิ้ว
            ชาย ยืนแล้วค้อมตัวลงน้อยกว่าระดับการไหว้
พ ร ะ พ ร้ อ ม กั บ ย ก มื อ ขึ้ น
ไหว้
            หญิง ยืนหรือย่อเข่าลงน้อยกว่าระดับการไหว้
พระโดยถอยเท้าข้างใดข้างหนึ่งเล็กน้อย พร้อมกับ
ยกมือขึ้นไหว้
       ระดับที่ ٣ การไหว้บุคคลทั่ว ๆ ไป ที่เคารพนับถือ
หรือผูมีอาวุโส รวมทั้งผู้ทเสมอกันโดยประนมมือยกขึ้น
        ้                 ี่
ให้ปลายนิ้วจรดปลายจมูก
            ชาย ยืนแล้วค้อมตัวลงน้อยกว่าระดับการไหว้
ผูมีพระคุณ พร้อมกับยกมือขึ้นไหว้
   ้
            หญิง ยืนหรือย่อเข่าลงน้อยกว่าระดับการไหว้
ผูมีพระคุณโดยถอยเท้าข้างใดข้างหนึ่งเล็กน้อย พร้อม
     ้
กับยกมือขึ้นไหว้
98



     ในการไหว้ผู้เสมอกันทั้งชายและหญิงให้ยกมือขึ้น
ไหว้พร้อมกันหรือในเวลาใกล้เคียงกัน ในกรณีที่ทำา
พร้อมกันเป็นหมู่คณะ ควรจะนัดหมายให้ทำาอย่าง
เดียวกัน
     การไหว้ตามมารยาทไทยเช่นนี้ ปฏิบัติให้เรียบร้อย
นุ่มนวลด้วยความสำารวมจึงจะดูงาม

     หมายเหตุ ในปัจจุบัน หญิง จะไหว้แบบย่อเข่า
หรือไม่ย่อเข่าก็ได้ ถ้าย่อเข่าจะดูอ่อนช้อยสวยงาม
99



                 แบบรายงานการเข้าฐาน
    ค่ายเยาวชนรักการอ่าน ณ ………………..
         วันที่…......................................

               ชื่อฐาน อ่านแล้วมีมารยา (การไหว้)

                             ตรง   ความ   กล้า รวม
                              ต่อ สามารถ แสดง คะแ
                             เวลา  ตาม    ออก  นน
      ท
                ชื่อกลุ่ม          ฐาน   พร้อม
      ี่
                                         เพรีย
                              ١٠            ง  30
                                    ١٠     ١٠
           ١
           .
           ٢
           .
           ٣
           .
           ٤
           .
           ٥
           .
           ٦
           .
           ٧
           .

ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของวิทยากรประจำาฐาน
…......................................................................
........................................................................
100



........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
..........................
                                        ลงชื่อ ........................
                                        ......     ผู้ประเมิน

               ฐานที่ ٣ อ่านแล้วเล่าเรื่อง




วัตถุประสงค์
     1. นักเรียนกล้าแสดงออก
     2. นักเรียนสนุกและมีทัศนคติที่ดีทำาให้มีนิสัยรักการ
        อ่าน
อุปกรณ์
     1. ใบความรู้นิทานได้รับรางวัลดีเด่นงานสัปดาห์
        หนังสือแห่งชาติ เรื่อง “เพื่อนแท้”
     2. ใบขอรับการปฏิบัติกิจกรรมฐาน
     3. ใบประเมินสำาหรับวิทยากรประจำาฐาน
101



ขั้นตอนการดำาเนินกิจกรรม
     1. กลุ่มนักเรียนทั้งหมดแสดงเอกลักษณ์ประจำา
        กลุ่มหรือตระกูลของตนที่เรียกว่า การแสดง
         “พลัง” ก่อนปฏิบัติกิจกรรมฐาน
     2. วิทยากรชี้แจงข้อปฏิบัติและแจกใบความรู้นิทาน
        เรื่อง “เพื่อนแท้”
     3. นักเรียนในกลุ่มอ่าน ผู้นำากลุ่มแบ่งสมาชิกใน
        กลุ่มว่าใครจะแสดงเป็นตัวอะไรในนิทานเรื่อง “
        เพื่อนแท้”
     4. กำาหนดเวลาให้ฝึกซ้อม
     5. แสดงนิทานเรื่อง “เพื่อนแท้” พร้อมทั้งให้ข้อคิด
        คติเตือนใจแก่ผู้ชมด้วย


ขั้นสรุปและประยุกต์ใช้
      1. วิทยากรประจำาฐานให้นักเรียนออกมาสรุปอ่าน
         แล้วแสดงเรื่อง
“เพื่อนแท้” ข้อคิดที่ได้จากการแสดงเรื่องนี้
      2. นักเรียนสามารถนำากิจกรรมนี้ไปใช้ในชีวิตประจำา
         วัน
102




                      ใบความรู้
                เรื่อง เพื่อนแท้
   รางวัลดีเด่นงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ
       เมื่อดวงตะวันลอยเด่นเหนือขอบฟ้า ลำาแสงที่สาด
ฉายทอดมาก็ปลุกชีวิตทั้งหลายให้ตื่นขึ้น พร้อมกับความ
ร่าเริงยินดี สัตว์ป่านานาชนิดเริ่มออกหากิน ฝูงนก
โบยบินร่อนถลาหาเหยื่อ ทุกหนทุกแห่งเต็มไปด้วยรอย
ยิ้มอันแจ่มใส
       แต่สำาหรับเจ้าลูกหมีพิการ ซึงกำาพร้าทั้งพ่อและแม่
                                      ่
กลับมีแต่ความเหงาหงอย เศร้าซึม เมื่อถึงเวลาที่จะต้อง
ออกไปหาอาหารมาเลี้ยงยายผู้มีพระคุณ
       “อ้ายขาเป๋เดินโซเซ อ้ายขาเกเหไปหันมา...ฮ่า ๆ
ๆ” นี่คือเสียงตะโกน ล้อเลียนของลูกเสือลายกับเพื่อน
พ้องดังขรม ยิ่งไปกว่านั้นบางครั้ง เจ้าลูกหมีพิการ ก็ยัง
ถูกกลั่นแกล้งขว้างปาเอาอีกด้วย ทัง ๆ ทีมันไม่เคยสร้าง
                                        ้
ความเดือดร้อนให้กับใครเลย
       “ยายจ๋า ทำาไมขาฉันจึงพิการอย่างนี้” เสียงของเจ้า
ลูกหมีพิการสั่นเพร่า พร้อมหยาดนำ้าตาที่เอ่อริน
       “วันหนึ่งเมื่อเจ้ายังเล็ก ได้เกิดพายุโหมต้นไม้ใหญ่
โค่นล้มกิ่งไม้ฟาดมาโดนขาเจ้า เจ้าก็เลยพิการตั้งแต่นั้น
103



เป็นต้นมา” ยายเล่าจบก็ดึงลูกหมีพิการเข้ามากอดด้วย
ความสงสาร
      “แล้วขาพิการของฉัน มันเป็นความเลวที่ใคร ๆ
ต้องพากันเกลียดฉันด้วยหรือยาย”
      “ความพิการมิใช่ความเลว ความชั่วต่างหากที่เป็น
ความเลว จงอดทนและหมั่นทำาความดีเข้าไว้ แม้วันนี้ยัง
ไม่มีใครรักเจ้า แต่ยายนี่แหละที่รักเจ้าอยู่ทุกวัน” ยาย
ปลอบโยน
      ลมร้อนเริ่มพัดผ่าน ใบไม้สีเขียวเริ่มเหี่ยวเฉา ผืนดิน
บางตอนเริ่มแตกระแหงลำาธารเคยมีนำ้าเอ่อล้น เริ่มแห้ง
ขอด ปีนี้แล้งกว่าปีใด ๆ สัญญาณภัยครั้งใหญ่เกิดขึ้น
แล้ว
      “ไฟไหม้ ๆ ๆ” เสียงตะโกนบอกข่าวร้าย ดังก้อง
ไพร สัตว์ป่าทุกชนิดต่างหอบลูกจูงหลาน หนีความตาย
กันโกลาหล รวมทั้งเจ้าลูกหมีพิการกับยายเฒ่าด้วย
      “เพื่อน ๆ เราขาแพลง ช่วยพยุงเราไปด้วยเถิด”
กระต่ายน้อยออดอ้อน
      “เพื่อนรัก...เราหมดแรงเสียแล้วช่วยอุ้มเราไปด้วย
เถิด” เจ้าลิงวิงวอน
      “กรุณาเถิดเพื่อนรัก...เรากำาลังเป็นไข้ ช่วยแบกเรา
ไปด้วย” เจ้าหมูขอต่อหน้าเพื่อนลูกเสือลาย
      “ตัวใครตัวมัน!” แล้วเจ้าลูกเสือลายผู้มีร่างกาย
สมบูรณ์ก็วิ่งแจ้นตามแม่และพ่อของมันไป โดยทิ้งเพื่อน
ของมันไว้ข้างหลัง ส่วนเจ้าลูกหมี แม้ขาของมันจะพิการ
แต่จิตใจของมันกลับมีความสงสาร มันทั้งอุ้ม ทังแบก  ้
ทังพยุงเพื่อนเกเรเหล่านั้นหนีภัย อย่างทุลักทุเล
  ้
      ไฟป่าโหมไหม้ไล่หลังใกล้เข้ามาแล้ว เจ้าลูกหมีขา
พิการทั้งหนักแสนหนัก และเหนื่อยแสนเหนื่อย แต่มันก็
กัดฟันทน จนกระทั่งมันพายายและเพื่อน ๆ หนีไฟมาถึง
ริมลำาธาร
104



        เมื่อมันโซเซปีนขึ้นฝั่งตรงกันข้ามได้ ความเหนื่อย
ล้าทำาให้ลูกหมีพิการรู้สึกหน้ามืดมึนงง จนทรงตัวไม่อยู่
มันถึงกับล้มทรุดลง และหมดสติไป
        ดวงตะวันแห่งวันใหม่ขับไล่ราตรีให้หนีไป พร้อม
กับตัวมันเองไต่ฟ้าลอยตัวสูงขึ้นช้า ๆ จนพ้นแนวสันเขา
เจ้าลูกหมีพิการรู้สึกปวดร้าวไปทั้งร่าง ขณะที่มันรู้สึกตัว
และลืมตาตื่น มันก็ต้องพบกับความประหลาดใจเป็น
ที่สุด เจ้าหมูโบกพัดอยู่ใกล้ๆ เจ้ากระต่ายนวดเฟ้นอยู่ที่
ขา เจ้าลิงยื่นผลไม้ส่งให้ สัตว์ทงหลายต่างมองและส่ง
                                   ั้
ยิ้มอันอบอุ่นต้อนรับ ลูกหมีพิการยิ้มตอบด้วยความสุข
เมื่อรู้ว่า ผลของการที่ได้ทำาความดี ด้วยการให้ความช่วย
เหลือกับทุกชีวิตที่ประสบทุกข์ภัย คือหนทางของการ
สร้างความรักและสร้างมิตรแท้ที่ตนปรารถนา ( อำานาจ
เย็นสบาย. ٢٥٤١ : 3-5 )




               แบบรายงานการเข้าฐาน
   ค่ายเยาวชนรักการอ่าน ณ ………………..
        วันที.........................................
             ่

              ชื่อฐาน อ่านแล้วเล่าเรื่อง
                      ตรง     ความ        กล้า รวม
                       ต่อ สามารถ แสดง คะแ
                      เวลา    ตาม         ออก  นน
     ท
          ชื่อกลุ่ม           ฐาน       พร้อม
     ี่
                                         เพรีย
                       ١٠                   ง  30
                               ١٠          ١٠
105



      ١
      .
      ٢
      .
      ٣
      .
      ٤
      .
      ٥
      .
      ٦
      .
      ٧
      .

ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของวิทยากรประจำาฐาน
........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
............................
                                        ลงชื่อ ........................
                                          ........ ผู้ประเมิน



                       ฐานที่ ٤ อ่านแล้วพับ
106




วัตถุประสงค์
     1. นักเรียนนำาเศษวัสดุมาใช้ให้เกิดประโยชน์
     2. นักเรียนมีนำ้าใจช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
อุปกรณ์
     1. กาว
     2. กรรไกร
     3. ดินสอ
     4. ไม้บรรทัด
     5. กระดาษสีต่าง ๆ
     6. หนังสือ หรือวารสารเกี่ยวกับการพับ
     7. ใบขอรับการปฏิบัติกิจกรรมฐาน
     8. ใบประเมินสำาหรับวิทยากรประจำาฐาน
ขั้นตอนการดำาเนินกิจกรรม
     1.     กลุ่มนักเรียนทั้งหมดแสดงเอกลักษณ์ประจำา
            กลุ่มหรือตระกูลของตนที่เรียกว่า การแสดง
            “พลัง” ก่อนปฏิบัติกิจกรรมฐาน
     2.     วิทยากรแจ้งวัตถุประสงค์และให้กลุ่มใหญ่
            แบ่งเป็นกลุ่มย่อย
     3.     แจกหนังสือ หรือวารสารเกี่ยวกับการพับ
            พร้อมอุปกรณ์
     4.     นักเรียนช่วยกันพับ และประดิษฐ์ตกแต่งให้
            สวยงามตามแบบที่เลือก
107



(จะพับตัวอะไรก็ได้ถ้ามากกว่านี้เวลาไม่พอ)
     5.     นักเรียนในกลุ่มส่งชิ้นงาน จะได้ประมาณ
            กลุ่มละไม่เกิน ٣ ตัว
ขั้นสรุปและประยุกต์ใช้
     1. นักเรียนจะนำากิจกรรมนี้ไปใช้ได้อย่างไร
     2. วิทยากรสรุปข้อคิดเห็นของนักเรียนและเพิ่มเติม
        ความรู้ทแนวคิดของ
                 ี่                กิจกรรม




               แบบรายงานการเข้าฐาน
   ค่ายเยาวชนรักการอ่าน ณ ....................
        วันที.........................................
             ่
108



                     ชื่อฐาน อ่านแล้วพับ

                              ตรง   ความ   กล้า รวม
                               ต่อ สามารถ แสดง คะแ
                              เวลา  ตาม    ออก  นน
      ท
             ชื่อกลุ่ม              ฐาน   พร้อม
      ี่
                                          เพรีย
                               ١٠            ง  30
                                     ١٠     ١٠
      ١
      .
      ٢
      .
      ٣
      .
      ٤
      .
      ٥
      .
      ٦
      .
      ٧
      .

ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของวิทยากรประจำาฐาน
........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
109



........................................................................
............................
                                        ลงชื่อ ........................
                                           ..... ผู้ประเมิน



                  ฐานที่ ٥ อ่านแล้วเขียน




วัตถุประสงค์
     1. นักเรียนรู้จักคอลัมน์ต่าง ๆ ของหนังสือพิมพ์
     2. นักเรียนรู้จักเลือกอ่านหนังสือพิมพ์
อุปกรณ์
     1. หนังสือพิมพ์อย่างน้อย ٦ ชื่อ ชือเรื่องเท่ากับ
                                         ่
        สมาชิกในกลุ่ม
     2. ใบงาน เรื่องการอ่านหนังสือพิมพ์รายวัน
     3. ใบขอรับการปฏิบัติกิจกรรมฐาน
     4. ใบประเมินสำาหรับวิทยากรประจำาฐาน
ขั้นตอนการดำาเนินกิจกรรม
     1. กลุ่มนักเรียนทั้งหมดแสดงเอกลักษณ์ประจำา
        กลุ่มหรือตระกูลของตนที่เรียกว่า การแสดง
        “พลัง” ก่อนปฏิบัติกิจกรรมฐาน
110



     2. วิทยากรประจำาฐานแจ้งวัตถุประสงค์และการ
        ปฏิบัติงานในการอ่านหนังสือพิมพ์รายวันและ
        เขียนตามหัวข้อที่กำาหนดให้
     3. ให้นักเรียนแต่ละคนเลือกหนังสือพิมพ์ตามใจ
        ชอบ
     4. อ่านแล้วเลือกคอลัมน์ที่สนใจที่สุดแล้วเขียนตาม
        หัวข้อ ตามเวลา           ที่กำาหนด ส่งวิทยากร
        ประจำาฐาน (สำาหรับฐานนี้วิทยากรประจำาฐานจะ
        ใช้เวลาในการตรวจมากพอสมควร)
ขั้นสรุปและประยุกต์ใช้
     1. นักเรียนจะนำากิจกรรมนี้ไปใช้ได้อย่างไร
     2. วิทยากรประจำาฐาน สรุปข้อคิดเห็นของนักเรียน
        และเพิ่มเติมแนวคิดของกิจกรรม
111




                   ใบความรู้
       เรื่อง การอ่านหนังสือพิมพ์รายวัน
      หนังสือพิมพ์รายวัน เป็นสื่อมวลชน ( แม้นมาส
เชาวลิต. ٢٥٣٩ : 226 )           ได้กล่าวถึงเรื่องการอ่าน
หนังสือพิมพ์รายวัน หมายถึง การมีวัตถุประสงค์ให้
มหาชนได้ทราบภารกิจต่าง ๆ ได้มีการกำาหนดกันเอง
ภายในวงการสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือพิมพ์รายวันว่า
ภารกิจหลัก คือ การแสวงหาข้อมูล เรื่องราวที่เห็นพ้อง
กันว่าสำาคัญ ประชาชนต้องทราบเพราะเกี่ยวข้องกับวิถี
ชีวิต คุณภาพชีวิต สำาหรับการตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ
สำาหรับการเรียนรู้พฤติกรรมของบุคคล และกลุ่มคนใน
สังคมเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เรื่องน่าสนใจที่ค้นพบ ควร
ต้องนำาเสนอมหาชนโดยเร็วที่สุด เสนอเนื้อหาให้ได้ราย
ละเอียดมากที่สุด และเสนอในแง่มุมต่าง ๆ มากที่สุด
      พัฒนาการทางเทคโนโลยีการพิมพ์ ทำาให้ผลิต
หนังสือพิมพ์รายวันอย่างรวดเร็ว มีหลักสูตรการสอนวิชา
หนังสือพิมพ์หรือวารสารศาสตร์ในระดับมหาวิทยาลัย มี
การลงทุนเพื่อผลิต และกระจายให้ได้มากที่สุด เกิดเป็น
ธุรกิจหนังสือพิมพ์ มีกระบวนการจัดการหนังสือแต่ละ
ฉบับ เจ้าของหรือผู้จัดการหรือคณะบรรณาธิการรวมทั้ง
มีมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ
      อย่างไรก็ดี สำานักพิมพ์แต่ละแห่ง จะกำาหนด
นโยบาย แนวสนใจ ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับข่าว วิธีการเสนอ
ข่าวของสำานักพิมพ์ด้วย
      ในปัจจุบันนี้ ในยุคสังคมข่าวสาร โลกไร้พรมแดน
และโลกาภิวัตน์ หนังสือพิมพ์รายวัน นับเป็นสื่อสิ่งพิมพ์
ที่จะขาดมิได้จากชีวิตประจำาวัน
112




        วันที.........................................
              ่
  การวิเคราะห์ประเภทข่าวในหนังสือพิมพ์รายวัน
    เลือกข่าวในหน้าแรก ประเภทใดประเภทหนึ่ง
     (ทำาเครื่องหมาย ของประเภทข่าวที่เลือก)
     ข่าวสังคมทั่วไป                    ข่าวความเชื่อ
     ข่าวการศึกษา                ไสยศาสตร์
     ข่าวต่างประเทศ                     ข่าวกีฬา
                                         ข่าวเศรษฐกิจ
     พยากรณ์อากาศ                       ข่าวบันเทิง
     ข่าวการเมือง

พาดหัวข่าว
........................................................................
.............................................................
เนื้อหา – ใคร ทำาอะไร ที่ไหน อย่างไร
........................................................................
........................................................................
........................................................................
..................................................
เนื้อหาที่เป็นข้อเท็จจริง
........................................................................
........................................................................
........................................................................
..................................................
113



เนื้อหาที่เป็นข้อคิดเห็น – ความรู้สึกของคนรายงานข่าว
........................................................................
........................................................................
........................................................................
..................................................
ประโยชน์ของข่าวชิ้นนั้น
........................................................................
........................................................................
........................................................................
..................................................
ความน่าเชื่อถือ
........................................................................
........................................................................
........................................................................
..................................................
            วันที.........................................
                  ่
 เลือกแง่คดจากข่าวและข้อคิดเห็น ของข่าวประเภทใด
              ิ
 ประเภทหนึงต่อไปนี้ จากเนื้อในหนังสือพิมพ์ จำานวน ١
                ่
    ข่าว (ทำาเครื่องหมาย ของประเภทข่าวที่เลือก)
        อาชญากรรม                             เศรษฐกิจ
        กีฬา                                  สังคม
        หนังสือ                               บันเทิง
        การศึกษา                              แฟชั่น
        การเมือง                              เรื่องย่อจากละคร
                                        โทรทัศน์

ชื่อเรื่อง
........................................................................
.............................................................
เนื้อหา – ใคร ทำาอะไร ที่ไหน อย่างไร
114



........................................................................
........................................................................
........................................................................
..................................................
เนื้อหาที่เป็นข้อเท็จจริง
........................................................................
........................................................................
........................................................................
..................................................
เนื้อหาที่เป็นข้อคิดเห็น – ความรู้สึกของคนรายงานข่าว
........................................................................
........................................................................
........................................................................
..................................................
ประโยชน์ของข่าวชิ้นนั้น
........................................................................
........................................................................
........................................................................
..................................................
ความน่าเชื่อถือ
........................................................................
........................................................................
........................................................................
..................................................

                แบบรายงานการเข้าฐาน
    ค่ายเยาวชนรักการอ่าน ณ ......................
         วันที.........................................
              ่

                    ชื่อฐาน อ่านแล้วเขียน
115



                              ตรง   ความ   กล้า รวม
                               ต่อ สามารถ แสดง คะแ
                              เวลา  ตาม    ออก  นน
      ท
             ชื่อกลุ่ม              ฐาน   พร้อม
      ี่
                                          เพรีย
                               ١٠            ง  30
                                     ١٠     ١٠
      ١
      .
      ٢
      .
      ٣
      .
      ٤
      .
      ٥
      .
      ٦
      .
      ٧
      .

ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของวิทยากรประจำาฐาน
........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
............................
116



                            ลงชื่อ ........................
                              ..... ผู้ประเมิน

             ฐานที่ ٦ อ่านแล้วทาย




วัตถุประสงค์
      1. นักเรียนได้ฝึกการอ่าน แล้วสามารถตอบคำาถาม
         ได้ถูกต้อง
      2. นักเรียนได้ฝึกทักษะการคิด วิเคราะห์
อุปกรณ์
      1. ใบงาน อ่านแล้วทาย
      2. กระดาษคำาตอบ
      3. เอกสารให้คะแนนวิทยากรประจำาฐาน
ขั้นตอนการดำาเนินกิจกรรม
      1. กลุ่มนักเรียนทั้งหมดแสดงเอกลักษณ์ประจำา
         กลุ่มหรือตระกูลของตน
ทีเรียกว่า การแสดง “พลัง” ก่อนปฏิบัติกิจกรรมฐาน
   ่
      2. แจกใบงาน อ่านแล้วทาย ให้กับสมาชิกในกลุ่ม
         ทุกคน
      3. ให้เลือกตัวแทนกลุ่มออกมาอ่านเท่าจำานวนคำา
         กลอนที่จะทายเพื่อ
เปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มได้ฝึกการอ่าน
117



     4. ช่วยกันคิดและตอบคำาถาม จากนั้นวิทยากรก็จะ
        เฉลยคำาตอบ
ให้สมาชิกทราบ
ขั้นสรุปและประยุกต์ใช้
     1. นักเรียนได้ประโยชน์อะไรบ้างจากกิจกรรมนี้
        และสามารถนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้อย่างไร
     2. วิทยากรประจำาฐาน สรุปข้อคิดเห็นของนักเรียน
        และเพิ่มเติมแนวคิดของกิจกรรม




                      ใบงาน
118



                   เรื่อง อ่านแล้วทาย

คำา          เ ตื อ น ก่ อ น ต อ บ
       1. อ่านคำากลอนทั้งบทเพื่อให้เข้าใจความหมายรวม
       2. อ่านให้พี่น้องในกลุ่มฟังด้วย
       3. ดูว่าควรเติมคำาใดลงในช่องว่าง เพื่อให้ได้ความ
          หมาย คำาที่เติมต้องใช้รูปพยัญชนะ และสระ
          เดียวกัน ต่างกันแต่รูปวรรณยุกต์เท่านั้น
       4. ใครทายถูกมากที่สุดมีรางวัล
               ١. ตัวอะไรยังอ่อนคล้ายหนอนหนา
                   ชื่อขนมกินกับงารสเค็มหวาน
                 ชื่อซอสีเสียงสูงจังแหลมกังวาน
       ขอไขขาน ด อยู่หน้าตอบมาเอย.................

              ٢. ข้าวอะไรใช้คั่วตำาทำาขนม
                ชื่อแมลงโง่งมหลงแสงสี
                ชื่อไม้ต้นผลกินได้อร่อยดี
  ชื่ออย่างนี้สามความหมายลองทายเอย...............

             ٣. คำาอะไรคือกว้างขวางนัก
              เรารู้จักชื่อต้นไม้ใบจักสาน
            นาฬิกาเดินเพราะมันช่วยบันดาล
      โปรดสอบทานหาคำาทายให้เหมาะเอย...............

                        ٤. เครื่องจักสานใช้ตักนำ้าคำาใดหนา
                แทนคำาว่า “ครู” ก็ได้ไม่ผิดกัน
             แต่ฉันท์ใช้แทนคำาหนักมักเรียนกัน
       คำาใดนั้นคำาใดนั้นลองคิดสักนิดเอย................
            ٥. ส่วนล่างของต้นไม้เรียกใดหนา
                 พ้องชื่อเห็ดรสโอชาน่าสงสัย
                เป็นชื่อตัวหมากรุกบุกทแยงไป
119



    คำาอะไรไม่ยากหากคิดเอย.....................

        ٦. ช้างพลายมีอะไรให้แต่งบ้าน
         พ้องชื่อพืชทำาอาหารและขนม
          เครื่องดักปลาแต่ก่อนมีผู้นิยม
   คำาเหมาะสมคืออะไรตอบไวเอย...............

         ٧. บ้านผู้ว่าเรียกอะไรใครรู้หนา
         พ้องชื่อผ้าชนิดหนึ่งอย่างพึงฉงน
        แปลว่า “เกือบ” หรือใกล้ใช้ทุกคน
    คำาใดค้นอักษร จ พอจบเอย...................

        ٨. โต๊ะต้องมีอะไรไว้เป็นหลัก
         คนเล่นไพ่เขามักเรียกคำาไหน
           กุลสตรีขานรับด้วยคำาใด
    ตอบไวไวคำานี้ง่ายทายเถิดเอย...............

              ٩. วัสดุอะไรใช้เย็บผ้า
           พ้องชื่อปลาจำาได้ไหมจ๊ะหนู
            อีกทั้งชื่อดอกไม้วันไหว้ครู
      พินิจดูคำาอะไรตอบไวเอย.................

      ١٠. อะไรเอ่ยอยู่เสียดฟ้าหญ้าสูงกว่า
        ใช้เรียกสวนงอกออกมาอยู่บนหัว
         พ้องชื่อนกมีราคาแพงน่ากลัว
  เป็นสรรพนามแทนตัวคนอื่นเอย...................
                     เฉลย
                 อ่านแล้วทาย

1.ด้วง
  ด ตัวแมลงหรือผีเสื้อที่ยังไม่มีปีกคล้ายตัวหนอน
120



      ชื่อขนมชนิดหนึ่งทำาด้วยแป้งข้าเจ้าเป็นตัวเล็ก ๆ
      คล้ายตัวด้วง
  ค ชื่อซอชนิดหนึงกระบอกทำาด้วยไม้เนื้อแข็งใช้
                   ่
      หนังหรือกระดาษหลายๆ ชั้นปิดด้านหนึง มีสาย ٢
                                            ่
      สาย
2.เม่า
   ชื่อข้าวเปลือกที่ยังไม่แก่จัด เอามาคั่วแล้วตำา
  ให้แบนเรียกว่า ข้าวเม่า
  ข ชื่อแมลงชนิดหนึ่งเรียกว่า แมลงเม่า
  แ ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ผลกินได้ เรียกว่า หมากเม่า
3.ลาน
   บริเวณที่ว่าง สนาม ที่สำาหรับนวดข้าว ทางกีฬา
  ห ม า ย ถึ ง             ที่ เ ล่ น ส น า ม
  กีฬา
   ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง คล้ายต้นตาล ใบใช้จาร
  หนังสือ ทำาหมวก เป็นต้น
   เหล็กแบนที่ม้วนไว้แล้วคลายตัวออก เกิดกำาลัง
  ดันทำาให้ตัวจักรหมุน
4.ครุ
   ภาชนะสานชนิดหนึงใช้ตักนำ้า รูปกลม ๆ ยาชัน
                         ่
   ครู
   หนัก ใช้ในตำาราฉันทลักษณ์ หมายถึง พยางค์
  ทีมีสระยาว หรือสระสั้นที่มีตัวสะกด
    ่
5.โคน
   ส่วนล่างขิงสิ่งที่ยาวกลม เช่น โคนไม้ โคนเสา
  โคนชา
   ชื่อเห็ดอย่างหนึงรับประทานได้
                      ่
   ชื่อตัวหมากรุกที่ใช้เดินทแยงมุมและไปข้าง
  หน้าเท่านั้น
121



6.งา
    ฟันที่งอกออกจากปากช้างพลาย ลักษณะนาม
   เรียกว่า “กิ่ง”
    ชื่อไม้ลมลุกชนิดหนึ่ง ผลเป็นฝัก มีเมล็ดเล็ก ๆ
                ้
   สีขาวหรือดำา ใช้ประกอบอาหาร
    ส่วนหนึ่งของเครื่องดักสัตว์ เช่น ลอบ หริไซ
   ทำาเป็นซี่ ๆ ปลายสอบเข้าหากัน
7.จวน
    ที่อยู่ของเจ้าเมือง บ้านที่ทางราชการจัดให้เป็น
   ที่อยู่ของผู้ว่าราชการจังหวัด
    ผ้าชนิดหนึ่ง
    เกือบ ใกล้ เช่น จวนถึง จวนได้ จวนตาย
8.ขา
    อวั ย วะตั้ ง แต่ ส ะโพกถึ ง ข้ อ เท้ า สิ่ ง ของที่ มี
ลักษณะคล้ายขาสำา หรับยัน หรือรองรับสิ่งหนึ่งสิ่งใด
เ      ช่      น            ข     า        โ       ต๊     ะ
    พ ว ก ฝ่ า ย เ ช่ น ข า ไ พ่ ข า นั ก เ ล ง
       เป็นคำาขานรับของผู้หญิง
9.เข็ม
    เหล็กแหลมใช้เย็บหรือกลัดสิ่งของ
        ชื่อปลานำ้าจืดขนาดเล็ก รูปร่างยาวเรียว
เป็นรูปเข็ม ปากล่างยืดยาวออก แต่ปากบนสั้น
    ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง ดอกตูมมีลักษณะคล้าย
   เข็ม ดอกมี ٤ กลีบ สี
ต่างๆ
10.เขา
    เป็นที่สูงขึ้นไปเป็นจอมเด่น
    สิ่งทีงอกออกมาจากหัวสัตว์บางชนิด
            ่
    ชื่อนกพวกหนึ่ง มีหลายชนิด เช่น นกเขาไฟน
   สรรพนามบุรุษที่ ٣ ใช้แทนชื่อคนที่เราพูดถึง (
มูลนิธิเด็ก. ٢٥٤٠ : 146 – 150 )
122



               แบบรายงานการเข้าฐาน
  ค่ายเยาวชนรักการอ่าน ณ ..........................
        วันที.........................................
             ่

                    ชื่อฐาน อ่านแล้วทาย

                             ตรง   ความ   กล้า รวม
                              ต่อ สามารถ แสดง คะแ
                             เวลา  ตาม    ออก  นน
      ท
         ชื่อตระกูล                ฐาน   พร้อม
      ี่
                                         เพรีย
                              ١٠            ง  30
                                    ١٠     ١٠
      ١
      .
      ٢
      .
      ٣
      .
      ٤
      .
      ٥
      .
      ٦
      .
      ٧
      .

ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของวิทยากรประจำาฐาน
........................................................................
........................................................................
123



........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
                      ............................

                                                ลงชื่อ
               .......................... ผู้ประเมิน

                        กระดาษคำาตอบ
                        ฐานอ่านแล้วทาย

ชื่อกลุ่ม
........................................................................
................................................

ข้อ                   คำาตอบ                         คะแนนที่ได้
 ที่
 ١.
 ٢.
 ٣.
 ٤.
 ٥.
 ٦.
 ٧.
 ٨.
 ٩.
١٠.
                         รวม
124




          ฐานที่ ٧ อ่านแล้วตีลังกาคิด




วัตถุประสงค์
     1. ฝึกคิดมุมกลับเพื่อสร้างความสมดุลแก่จิตใจ
     2. ไม่หลงเกลียดหลงชอบอะไรง่าย ๆ
อุปกรณ์
     1. ใบงาน เรื่อง “อ่านแล้วตีลังกาคิด”
     2. กระดาษตำาตอบ
     3. กระดาษให้คะแนนวิทยากรประจำาฐาน
125



ขั้นตอนการดำาเนินกิจกรรม
      1. กลุ่มนักเรียนทั้งหมดแสดงเอกลักษณ์ประจำา
         กลุ่มหรือตระกูลของตนที่เรียกว่า การแสดง
         “พลัง” ก่อนปฏิบัติกิจกรรมฐาน
      2. แจกใบงาน อ่านแล้วตีลงกาคิด ให้กับสมาชิกใน
                                    ั
         กลุ่มทุกคน
      3. วิทยากรประจำาฐานสนทนากับสมาชิกกลุ่มในการ
         คิด วิเคราะห์ ว่าไม่มีสิ่งใดดี หรือไม่ดีไปหมด ถ้า
         รู้จักมองในมุมกลับกัน อาจจะตรงกันข้ามก็ได้
      4. ให้สมาชิกในกลุ่มร่วมกันคิด และเขียนคำาตอบ
         ตามหัวข้อที่ให้ แล้วนำามาอ่านสรุปตอนท้าย จะ
         เห็นว่า การที่คนเราจะมองอะไร และสรุปอะไร
         อาจจะไม่ถูกต้องเสมอไปก็ได้
ขั้นวิเคราะห์ สรุป และประยุกต์ใช้
      สมาชิกภายในกลุ่มร่วมกันอภิปรายเรื่องที่เขียนขึ้น
มา ช่ ว ยกั น แสดงความคิ ด เห็ น และนำา ข้ อ คิ ด ที่ ไ ด้ ไ ป
ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จำา วั น ไ ด้ ต่ อ ไ ป
126




                      ใบงาน
             เรื่อง อ่านแล้วตีลังกาคิด

     วันนี้เรามาตีลังกาคิดกันดีกว่า คิดอะไรแปลก ไม่
เหมือนใคร ฝึกคิดไว้ สมองฉับไว ดีจังเลย
     1. ให้เขียนความน่าสงสารของ “ผีปอบ” มา ٥
        อย่าง
     2. ให้เขียนความน่าเกลียดน่ากลัวของ “ไอศกรีม”
        มา ٥ อย่าง
     3. ให้เขียนความน่ารักของ “กิ้งกือ” มา ٥ อย่าง
127




                 กระดาษคำาตอบ

1. ให้เขียนความน่าสงสารของ “ผีปอบ” มา ٥
   อย่าง
..................................................................
..................................................................
..................................................................
..................................................................
..................................................................
..................................................................
..................................................................
..................................................................
..................................................................
...........
2. ให้เขียนความน่าเกลียดน่ากลัวของ “ไอศกรีม”
   มา ٥ อย่าง
..................................................................
..................................................................
..................................................................
..................................................................
..................................................................
..................................................................
..................................................................
..................................................................
128



    ..................................................................
    ...........
    3. ให้เขียนความน่ารักของ “กิ้งกือ” มา ٥ อย่าง
    ..................................................................
    ..................................................................
    ..................................................................
    ..................................................................
    ..................................................................
    ..................................................................
    ..................................................................
    ..................................................................
    ..................................................................
    ...........




               สำาหรับวิทยากรประจำาฐาน
                   อ่านแล้วตีลังกาคิด

                  บรรย
                     าย   ใช้ ความ
                                      รวม
                  ความ ภาษา คิด
                                     คะแน
                   รู้สึก ถูก สร้างส
ท                                      น  หมาย
   ชื่อกลุ่ม      ของผู้ ต้อง  รรค์
ี่                                         เหตุ
                  อื่นให้
                  เข้าใ
                                      30
                      จ   ١٠    ١٠
                     ١٠
129



١
.
٢
.
٣
.
٤
.
٥
.
٦
.
٧
.

ข้อเสนอแนะ
........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
........................................................................
.................

                      ลงชื่อ.....................................
............ผูให้คะแนน
              ้

(..................................................)
130



วิทยากรประจำาฐาน

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1juckit009
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4wittawat_name
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศssuser456899
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์Aun Chun Cha Ree
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5krutitirut
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยNU
 
แผนการจัดประสบการณ์ หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบkrutitirut
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 

What's hot (20)

ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 
แผนการจัดประสบการณ์ หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบ
 
เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
 

Similar to กิจกรรมฐาน

สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6  สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6 khomkrit2511
 
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูดถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูดpyopyo
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
การเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือการเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือTeeraporn Pingkaew
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionRachabodin Suwannakanthi
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7  สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7 khomkrit2511
 
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfssuser6a0d4f
 
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยสรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยkrunakhonch
 
สรุปแนวทางการจัดค่ายอาเซียน
สรุปแนวทางการจัดค่ายอาเซียนสรุปแนวทางการจัดค่ายอาเซียน
สรุปแนวทางการจัดค่ายอาเซียนเมธิณี กรเจริญ
 
สรุปแนวทางการจัดค่ายอาเซียน
สรุปแนวทางการจัดค่ายอาเซียนสรุปแนวทางการจัดค่ายอาเซียน
สรุปแนวทางการจัดค่ายอาเซียนเมธิณี กรเจริญ
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรทับทิม เจริญตา
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55Yatphirun Phuangsuwan
 

Similar to กิจกรรมฐาน (20)

ค่าย
ค่ายค่าย
ค่าย
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6  สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
 
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูดถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
การเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือการเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือ
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
Ppp+มิ้น+..
Ppp+มิ้น+..Ppp+มิ้น+..
Ppp+มิ้น+..
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7  สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
 
02 ตอนที่ 2 หน่วย 1
02 ตอนที่ 2 หน่วย 102 ตอนที่ 2 หน่วย 1
02 ตอนที่ 2 หน่วย 1
 
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
 
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยสรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
 
สรุปแนวทางการจัดค่ายอาเซียน
สรุปแนวทางการจัดค่ายอาเซียนสรุปแนวทางการจัดค่ายอาเซียน
สรุปแนวทางการจัดค่ายอาเซียน
 
สรุปแนวทางการจัดค่ายอาเซียน
สรุปแนวทางการจัดค่ายอาเซียนสรุปแนวทางการจัดค่ายอาเซียน
สรุปแนวทางการจัดค่ายอาเซียน
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
 

More from wara

โลโก
โลโกโลโก
โลโกwara
 
Microsoft word 2003 2
Microsoft word 2003 2Microsoft word 2003 2
Microsoft word 2003 2wara
 
Microsoft word 2003 1
Microsoft word 2003 1Microsoft word 2003 1
Microsoft word 2003 1wara
 
Microsoft word 2003 4
Microsoft word 2003 4Microsoft word 2003 4
Microsoft word 2003 4wara
 
โครงสร้างรายวิชา ม.6
โครงสร้างรายวิชา ม.6โครงสร้างรายวิชา ม.6
โครงสร้างรายวิชา ม.6wara
 
Work of eis1
Work of eis1Work of eis1
Work of eis1wara
 
My school
My schoolMy school
My schoolwara
 
Social media
Social mediaSocial media
Social mediawara
 
ทดสอบ
ทดสอบทดสอบ
ทดสอบwara
 

More from wara (9)

โลโก
โลโกโลโก
โลโก
 
Microsoft word 2003 2
Microsoft word 2003 2Microsoft word 2003 2
Microsoft word 2003 2
 
Microsoft word 2003 1
Microsoft word 2003 1Microsoft word 2003 1
Microsoft word 2003 1
 
Microsoft word 2003 4
Microsoft word 2003 4Microsoft word 2003 4
Microsoft word 2003 4
 
โครงสร้างรายวิชา ม.6
โครงสร้างรายวิชา ม.6โครงสร้างรายวิชา ม.6
โครงสร้างรายวิชา ม.6
 
Work of eis1
Work of eis1Work of eis1
Work of eis1
 
My school
My schoolMy school
My school
 
Social media
Social mediaSocial media
Social media
 
ทดสอบ
ทดสอบทดสอบ
ทดสอบ
 

กิจกรรมฐาน

  • 1. 88 กิจกรรมฐานการอ่าน ฐานการอ่าน การจัดฐานการอ่านนั้นเป็นกิจกรรมหนึ่งที่สามารถ นำาไปสู่กิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย รวมถึง การกระตุ้นให้เด็กรักการอ่านและการค้นคว้ามากขึ้น ฐาน การอ่านสามารถประยุกต์ได้หลายรูปแบบใช้องค์ ประกอบของสถานศึกษา สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรรอบตัว ทีมีอยู่แล้วมาจัดทำาเป็นฐานหรือใช้แหล่งค้นคว้า เช่น ่ ห้องสมุด ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการทางศิลปะ ห้องประกอบการศึกษาอื่น ๆ หากเราต้องจัดฐานต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ก็สามารถดำาเนิน การได้ไม่ยาก โดยดึงเอาเนื้อหาที่จะสอนมาประยุกต์ เป็นเกมเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนให้นักเรียนได้เล่น อย่างมีความรู้ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ 1. ส่งเสริมและปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน 2. ฝึกให้รู้จักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 3. ครูประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนในวิชาของตน ตามกลุ่มสาระ การเรียนรู้ ขั้ น ต อ น ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม 1. กำาหนดฐานต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาที่ สอน 2. เตรียมฐานต่าง ๆ ในบริเวณที่เหมาะสม เช่น ใน ห้องสมุด ใต้ต้นไม้ ใต้อาคาร หรือจากแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน 3. กำาหนดกติกา วิธีการและชี้แจงให้นักเรียนทราบ 4. แจกใบงานให้นักเรียนฝึกกิจกรรมฐานการอ่าน
  • 2. 89 5. ให้นักเรียนแบ่งเป็นกลุ่ม หรืออาจเป็นงานเดี่ยว แล้วแต่จำานวนนักเรียนของแต่ละสถานศึกษา 6. เมื่อทุกคนเข้าฐานทุกฐานแล้วควรให้นักเรียน ออกมานำาเสนอหรือสรุปและอภิปรายร่วมกัน สื่ อ 1. หนังสือหมวดต่าง ๆ ของห้องสมุด 2. ใบความรู้ 3. แผ่นพับ หนังสือพิมพ์ หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ สอดคล้องกับเนื้อหาที่ต้องการให้นักเรียนเรียนรู้ 4. สถานที่สำาคัญในโรงเรียนที่สามารถนำาเข้าสู่บท เรียนได้ เช่นหอประชุม ห้องสมุดกลุ่มสาระ ใต้ ต้นไม้ ป ร ะ เ มิ น ผ ล 1. สังเกตพฤติกรรม - โดยวิทยากรกลุ่ม - ตัวแทนนักเรียน 2. แบบประเมินพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม 3. แบบรายงานการเข้าฐาน 4. แบบสอบถาม กำาหนดฐานต่าง ๆ ที่ต้องการให้นักเรียนได้เรียนรู้ คือ ฐานที่ ١ อ่านแล้วร้อง (เพลงชาติไทย) ฐานที่ ٢ อ่านแล้วมีมารยาทไทย (การไหว้) ฐานที่ ٣ อ่านแล้วเล่า ฐานที่ ٤ อ่านแล้วพับ ฐานที่ ٥ อ่านแล้วเขียน (จากหนังสือพิมพ์) ฐานที่ ٦ อ่านแล้วทาย ฐานที่ ٧ อ่านแล้วตีลังกาคิด
  • 3. 90 ฐานที่ ١ อ่านแล้วร้องเพลงชาติไทย วัตถุประสงค์ 1. ให้นักเรียนมีจิตสำานึกในความรักชาติ 2. ให้นักเรียนขับร้องเพลงชาติไทยได้ถูกต้อง อุปกรณ์ 1. ใบความรู้เกี่ยวกับเพลงชาติไทย 2. ใบขอรับการปฏิบัติกิจกรรมฐาน 3. ใบประเมินสำาหรับวิทยากรประจำาฐาน 4. แถบบันทึกเสียงเพลงชาติไทย หรือ CD VCD เพลงชาติไทย ขั้นตอนการดำาเนินกิจกรรม 1. กลุ่มนักเรียนทั้งหมดแสดงเอกลักษณ์ประจำา กลุ่มหรือตระกูลของตนที่เรียกว่า การแสดง “พลัง” ก่อนปฏิบัติกิจกรรมฐาน 2. วิทยากรประจำาฐานแจกใบความรู้เรื่อง “เพลง ชาติไทย” ให้นักเรียนอ่าน ประวัติ ความเป็นมา และเนื้อร้องเพลงชาติไทย
  • 4. 91 3. ฝึกการร้องเพลงชาติไทยให้ถูกต้องตามเนื้อร้อง ทำานองจากแถบบันทึกเสียง CD VCD (อาจจะ แบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยเท่า ๆ กันไปฝึกการร้อง) 4. กลุ่มมาร้องเพลงชาติไทยให้ถูกต้องตามจังหวะ ทำานองเพื่อให้วิทยากรฟัง ขั้นสรุปและประยุกต์ใช้ วิทยากรให้กลุ่มออกมาร้องเพลงชาติไทย และ ให้ตัวแทนตอบคำาถามว่าจะนำากิจกรรมนี้ไปใช้ในชีวิต ประจำาวันและเป็นแบบอย่างในการร้องเพลงชาติไทยได้ อย่างถูกต้อง ข้อเสนอแนะ วิทยากรประจำาฐานควรมีความรู้ด้านดนตรีศึกษา
  • 5. 92 ใบความรู้ เรือง เพลงชาติไทย ่ เพลงชาติสมัยก่อนนั้นเราไม่มี มีแต่เพลงสรรเสริญ พระบารมี ภายหลั ง การเปลี่ ย นแปลงการปกครองจาก ร ะ บ อ บ ส ม บู ร ณ า ญ า สิ ท ธิ ร า ช ม า เ ป็ น ร ะ บ อ บ ประชาธิ ป ไตย เมื่ อ วั น ที่ ٢٤ มิ ถุ น ายน ٢٤7 ٥ ไม่ กี่ วั น เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีก็แต่งบทร้องเพลงชาติขึ้นโดย ใช้ทำานองเพลงมหาชัย ต่อมามีคณะก่อการกลุ่มหนึ่งดำาริ จะให้มเพลงชาติแบบสากล จึงติดต่อให้พระเจนดุริยางค์ ี แต่ ง ทำา นอง และให้ ขุ น วิ จิ ต รมาตรา (สง่ า กาญจนาค พั น ธุ์ ) เ ป็ น ผู้ แ ต่ ง คำา ร้ อ ง แ ต่ ท า ง ก า ร ไ ม่ รั บ ร อ ง ครั้นถึง พ.ศ. ٢٤٨٢ ชื่อประเทศสยามได้เปลี่ยนเป็น ประเทศไทย ได้มีการประกวดบทร้องเพลงกับทำานอง เพลงชาติขึ้น ผลการประกวด กองทัพบกได้รางวัล ที่ ١ ผู้ประพันธ์บทร้องคือ พ.อ.หลวงสารานุประพันธ์ และได้ประกาศใช้บทร้องเพลงชาติของ พ.อ.หลวงสารา นุประพันธ์ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ส่วนทำานองได้ใช้ของ พระเจนดุริยางค์ ตามแนวที่มีอยู่ ณ กรมศิลปากร ( ครู เงิน. ٢٥٣٩ : 18-19 ) เพลงชาติไทย ประเทศไทยรวมเลือดเนื้อชาติเชื้อไทย เป็นประชารัฐ ผไทของไทยทุกส่วน อยู่ดำารงคงไว้ได้ทั้งมวล ด้วยไทยล้วนหมาย รักสามัคคี ไทยนี้รักสงบ แต่ถึงรบไม่ขลาด เอกราชจะไม่ให้ใครข่มขี่ สละเลือดทุกหยาด เป็นชาติ พลี
  • 6. 93 เถลิงประเทศชาติไทย ทวีมีชัย ไชโย แบบรายงานการเข้าฐาน ค่ายเยาวชนรักการอ่าน ณ .............................. วันที......................................... ่ ชื่อฐาน อ่านแล้วร้องเพลงชาติไทย ตรง ความ กล้า รวม ต่อ สามารถ แสดงอ คะแน เวลา ตามฐาน อก น ที่ ชื่อกลุ่ม พร้อม เพรียง ١٠ ١٠ ١٠ 30 ١ . ٢ . ٣ . ٤ . ٥ . ٦ . ٧ .
  • 7. 94 ความคิดเห็น/ ข้อเสนอแนะของวิทยากรประจำาฐาน ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ............................ ลงชื่อ ............................... .... ผู้ประเมิน ฐานที่ ٢ อ่านแล้วมีมารยาทไทย (การไหว้) วัตถุประสงค์ 1. ให้นักเรียนอนุรักษ์ความเป็นไทยและเป็นแบบ อย่างที่ดแก่สังคมไทยได้ ี อุปกรณ์ 1. ใบความรู้เรื่องการแสดงความเคารพโดยการไหว้ 2. รูปภาพการไหว้ระดับต่าง ๆ
  • 8. 95 3. ใบขอรับการปฏิบัติกิจกรรมฐาน 4. ใบประเมินสำาหรับวิทยากรประจำาฐาน ขั้นตอนการดำาเนินกิจกรรม 1. กลุ่มนักเรียนทั้งหมดแสดงเอกลักษณ์ประจำา กลุ่มหรือตระกูลของตนที่เรียกว่า การแสดง “พลัง” ก่อนปฏิบัติกิจกรรมฐาน 2. วิทยากรประจำาฐานแจกใบความรู้เรื่องการแสดง ความเคารพโดยการไหว้ 3. วิทยากรสาธิตการไหว้ระดับต่าง ๆ พร้อมทั้งให้ดู ภาพประกอบ 4. วิทยากรแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อย เพื่อ ฝึกปฏิบัติ โดยให้จับคู่กันและช่วยกันดูความถูก ต้องให้การปฏิบัติ จะเป็นความถูกต้อง อ่อนช้อย 5. ให้นักเรียนทั้งหมดปฏิบัติการไหว้พร้อมกัน ขั้นสรุปและประยุกต์ใช้ 1. ให้นักเรียนออกมาสรุปการมีมารยาทไทยโดย การไหว้ระดับต่าง ๆ 2. นักเรียนสามารถนำากิจกรรมอ่านแล้วมีมารยาท ไทยไปใช้ในชีวิต ประจำาวัน
  • 9. 96 ใบความรู้ เรื่อง การแสดงความเคารพ (การไหว้) การแสดงความเคารพมี ห ลายลั ก ษณะ เช่ น การ ประนมมือ การไหว้ การกราบ การคำานับ การถวายความ เคารพ การถวายบั ง คม เป็ น ต้ น การที่ จ ะแสดงความ เคารพในลั ก ษณะใดนั้ น ต้ อ งพิ จ ารณาผู้ ที่ จ ะรั บ ความ เคารพด้วยว่าอยู่ในฐานะเช่นใด หรือในโอกาสใด แล้ว จึงแสดงความเคารพให้ถูกต้องและเหมาะสม การแสดง ความเคารพ ( สำา นั กงานคณะกรรมการวั ฒ นธรรมแห่ ง ช า ติ . 2542 : 29 – 30 ) แ บ่ ง ไ ด้ ดั ง นี้ ١. การประนมมือ (อัญชลี) ประนมมือให้นิ้วมือ แนบชิดกัน ฝ่ามือราบ ปลายนิ้วตั้งขึ้น แขนแนบตัว ระดับ อก ไม่กางศอก ทั้งชายและหญิงปฏิบัติเหมือนกัน การ ประนมมือนี้ใช้ในการสวดมนต์ ฟังพระสวดมนต์ ฟังพระ ธรรมเทศนา และขณะพู ด กั บ พระสงฆ์ ซึ่ ง เป็ น ที่ เ คารพ นั บ ถื อ เ ป็ น ต้ น
  • 10. 97 2. การไหว้ (วันทนา) การไหว้เป็นการแสดงความ เคารพโดยการประนมมือ ให้นิ้วชิดกันยกมือไหว้ การไหว้แบบไทยแบ่งออกเป็น ٣ แบบ ตามระดับของบุคคล ดังนี้ ระดับที่ ١ การไหว้พระ ได้แก่ การไหว้พระ รัตนตรัยรวมทั้งปูชนียวัตถุและ ปูชนียสถานที่เกี่ยวกับ พระพุทธศาสนา ในกรณีที่ไม่สามารถกราบแบบ เบญจางคประดิษฐ์ได้โดยประนมมือให้ปลายนิ้วชี้จรด ส่วนบนของหน้าผาก ชาย ยืนแล้วค้อมตัวลงให้ตำ่าพร้อมกับยกมือ ขึ้นไหว้ หญิง ยืนหรือย่อเข่าลงให้ตำ่าโดยถอยเท้าข้าง ใดข้างหนึ่งตามถนัด พร้อมกับยกมือขึ้นไหว้ ระดับที่ ٢ การไหว้ผู้มีพระคุณและผู้มีอาวุโส ได้แก่ พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ครู อาจารย์ และผู้ที่เราเคารพ นับถืออย่างสูง โดยประนมมือให้ปลายนิ้วชี้จรดระหว่าง คิ้ว ชาย ยืนแล้วค้อมตัวลงน้อยกว่าระดับการไหว้ พ ร ะ พ ร้ อ ม กั บ ย ก มื อ ขึ้ น ไหว้ หญิง ยืนหรือย่อเข่าลงน้อยกว่าระดับการไหว้ พระโดยถอยเท้าข้างใดข้างหนึ่งเล็กน้อย พร้อมกับ ยกมือขึ้นไหว้ ระดับที่ ٣ การไหว้บุคคลทั่ว ๆ ไป ที่เคารพนับถือ หรือผูมีอาวุโส รวมทั้งผู้ทเสมอกันโดยประนมมือยกขึ้น ้ ี่ ให้ปลายนิ้วจรดปลายจมูก ชาย ยืนแล้วค้อมตัวลงน้อยกว่าระดับการไหว้ ผูมีพระคุณ พร้อมกับยกมือขึ้นไหว้ ้ หญิง ยืนหรือย่อเข่าลงน้อยกว่าระดับการไหว้ ผูมีพระคุณโดยถอยเท้าข้างใดข้างหนึ่งเล็กน้อย พร้อม ้ กับยกมือขึ้นไหว้
  • 11. 98 ในการไหว้ผู้เสมอกันทั้งชายและหญิงให้ยกมือขึ้น ไหว้พร้อมกันหรือในเวลาใกล้เคียงกัน ในกรณีที่ทำา พร้อมกันเป็นหมู่คณะ ควรจะนัดหมายให้ทำาอย่าง เดียวกัน การไหว้ตามมารยาทไทยเช่นนี้ ปฏิบัติให้เรียบร้อย นุ่มนวลด้วยความสำารวมจึงจะดูงาม หมายเหตุ ในปัจจุบัน หญิง จะไหว้แบบย่อเข่า หรือไม่ย่อเข่าก็ได้ ถ้าย่อเข่าจะดูอ่อนช้อยสวยงาม
  • 12. 99 แบบรายงานการเข้าฐาน ค่ายเยาวชนรักการอ่าน ณ ……………….. วันที่…...................................... ชื่อฐาน อ่านแล้วมีมารยา (การไหว้) ตรง ความ กล้า รวม ต่อ สามารถ แสดง คะแ เวลา ตาม ออก นน ท ชื่อกลุ่ม ฐาน พร้อม ี่ เพรีย ١٠ ง 30 ١٠ ١٠ ١ . ٢ . ٣ . ٤ . ٥ . ٦ . ٧ . ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของวิทยากรประจำาฐาน …...................................................................... ........................................................................
  • 13. 100 ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ .......................... ลงชื่อ ........................ ...... ผู้ประเมิน ฐานที่ ٣ อ่านแล้วเล่าเรื่อง วัตถุประสงค์ 1. นักเรียนกล้าแสดงออก 2. นักเรียนสนุกและมีทัศนคติที่ดีทำาให้มีนิสัยรักการ อ่าน อุปกรณ์ 1. ใบความรู้นิทานได้รับรางวัลดีเด่นงานสัปดาห์ หนังสือแห่งชาติ เรื่อง “เพื่อนแท้” 2. ใบขอรับการปฏิบัติกิจกรรมฐาน 3. ใบประเมินสำาหรับวิทยากรประจำาฐาน
  • 14. 101 ขั้นตอนการดำาเนินกิจกรรม 1. กลุ่มนักเรียนทั้งหมดแสดงเอกลักษณ์ประจำา กลุ่มหรือตระกูลของตนที่เรียกว่า การแสดง “พลัง” ก่อนปฏิบัติกิจกรรมฐาน 2. วิทยากรชี้แจงข้อปฏิบัติและแจกใบความรู้นิทาน เรื่อง “เพื่อนแท้” 3. นักเรียนในกลุ่มอ่าน ผู้นำากลุ่มแบ่งสมาชิกใน กลุ่มว่าใครจะแสดงเป็นตัวอะไรในนิทานเรื่อง “ เพื่อนแท้” 4. กำาหนดเวลาให้ฝึกซ้อม 5. แสดงนิทานเรื่อง “เพื่อนแท้” พร้อมทั้งให้ข้อคิด คติเตือนใจแก่ผู้ชมด้วย ขั้นสรุปและประยุกต์ใช้ 1. วิทยากรประจำาฐานให้นักเรียนออกมาสรุปอ่าน แล้วแสดงเรื่อง “เพื่อนแท้” ข้อคิดที่ได้จากการแสดงเรื่องนี้ 2. นักเรียนสามารถนำากิจกรรมนี้ไปใช้ในชีวิตประจำา วัน
  • 15. 102 ใบความรู้ เรื่อง เพื่อนแท้ รางวัลดีเด่นงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ เมื่อดวงตะวันลอยเด่นเหนือขอบฟ้า ลำาแสงที่สาด ฉายทอดมาก็ปลุกชีวิตทั้งหลายให้ตื่นขึ้น พร้อมกับความ ร่าเริงยินดี สัตว์ป่านานาชนิดเริ่มออกหากิน ฝูงนก โบยบินร่อนถลาหาเหยื่อ ทุกหนทุกแห่งเต็มไปด้วยรอย ยิ้มอันแจ่มใส แต่สำาหรับเจ้าลูกหมีพิการ ซึงกำาพร้าทั้งพ่อและแม่ ่ กลับมีแต่ความเหงาหงอย เศร้าซึม เมื่อถึงเวลาที่จะต้อง ออกไปหาอาหารมาเลี้ยงยายผู้มีพระคุณ “อ้ายขาเป๋เดินโซเซ อ้ายขาเกเหไปหันมา...ฮ่า ๆ ๆ” นี่คือเสียงตะโกน ล้อเลียนของลูกเสือลายกับเพื่อน พ้องดังขรม ยิ่งไปกว่านั้นบางครั้ง เจ้าลูกหมีพิการ ก็ยัง ถูกกลั่นแกล้งขว้างปาเอาอีกด้วย ทัง ๆ ทีมันไม่เคยสร้าง ้ ความเดือดร้อนให้กับใครเลย “ยายจ๋า ทำาไมขาฉันจึงพิการอย่างนี้” เสียงของเจ้า ลูกหมีพิการสั่นเพร่า พร้อมหยาดนำ้าตาที่เอ่อริน “วันหนึ่งเมื่อเจ้ายังเล็ก ได้เกิดพายุโหมต้นไม้ใหญ่ โค่นล้มกิ่งไม้ฟาดมาโดนขาเจ้า เจ้าก็เลยพิการตั้งแต่นั้น
  • 16. 103 เป็นต้นมา” ยายเล่าจบก็ดึงลูกหมีพิการเข้ามากอดด้วย ความสงสาร “แล้วขาพิการของฉัน มันเป็นความเลวที่ใคร ๆ ต้องพากันเกลียดฉันด้วยหรือยาย” “ความพิการมิใช่ความเลว ความชั่วต่างหากที่เป็น ความเลว จงอดทนและหมั่นทำาความดีเข้าไว้ แม้วันนี้ยัง ไม่มีใครรักเจ้า แต่ยายนี่แหละที่รักเจ้าอยู่ทุกวัน” ยาย ปลอบโยน ลมร้อนเริ่มพัดผ่าน ใบไม้สีเขียวเริ่มเหี่ยวเฉา ผืนดิน บางตอนเริ่มแตกระแหงลำาธารเคยมีนำ้าเอ่อล้น เริ่มแห้ง ขอด ปีนี้แล้งกว่าปีใด ๆ สัญญาณภัยครั้งใหญ่เกิดขึ้น แล้ว “ไฟไหม้ ๆ ๆ” เสียงตะโกนบอกข่าวร้าย ดังก้อง ไพร สัตว์ป่าทุกชนิดต่างหอบลูกจูงหลาน หนีความตาย กันโกลาหล รวมทั้งเจ้าลูกหมีพิการกับยายเฒ่าด้วย “เพื่อน ๆ เราขาแพลง ช่วยพยุงเราไปด้วยเถิด” กระต่ายน้อยออดอ้อน “เพื่อนรัก...เราหมดแรงเสียแล้วช่วยอุ้มเราไปด้วย เถิด” เจ้าลิงวิงวอน “กรุณาเถิดเพื่อนรัก...เรากำาลังเป็นไข้ ช่วยแบกเรา ไปด้วย” เจ้าหมูขอต่อหน้าเพื่อนลูกเสือลาย “ตัวใครตัวมัน!” แล้วเจ้าลูกเสือลายผู้มีร่างกาย สมบูรณ์ก็วิ่งแจ้นตามแม่และพ่อของมันไป โดยทิ้งเพื่อน ของมันไว้ข้างหลัง ส่วนเจ้าลูกหมี แม้ขาของมันจะพิการ แต่จิตใจของมันกลับมีความสงสาร มันทั้งอุ้ม ทังแบก ้ ทังพยุงเพื่อนเกเรเหล่านั้นหนีภัย อย่างทุลักทุเล ้ ไฟป่าโหมไหม้ไล่หลังใกล้เข้ามาแล้ว เจ้าลูกหมีขา พิการทั้งหนักแสนหนัก และเหนื่อยแสนเหนื่อย แต่มันก็ กัดฟันทน จนกระทั่งมันพายายและเพื่อน ๆ หนีไฟมาถึง ริมลำาธาร
  • 17. 104 เมื่อมันโซเซปีนขึ้นฝั่งตรงกันข้ามได้ ความเหนื่อย ล้าทำาให้ลูกหมีพิการรู้สึกหน้ามืดมึนงง จนทรงตัวไม่อยู่ มันถึงกับล้มทรุดลง และหมดสติไป ดวงตะวันแห่งวันใหม่ขับไล่ราตรีให้หนีไป พร้อม กับตัวมันเองไต่ฟ้าลอยตัวสูงขึ้นช้า ๆ จนพ้นแนวสันเขา เจ้าลูกหมีพิการรู้สึกปวดร้าวไปทั้งร่าง ขณะที่มันรู้สึกตัว และลืมตาตื่น มันก็ต้องพบกับความประหลาดใจเป็น ที่สุด เจ้าหมูโบกพัดอยู่ใกล้ๆ เจ้ากระต่ายนวดเฟ้นอยู่ที่ ขา เจ้าลิงยื่นผลไม้ส่งให้ สัตว์ทงหลายต่างมองและส่ง ั้ ยิ้มอันอบอุ่นต้อนรับ ลูกหมีพิการยิ้มตอบด้วยความสุข เมื่อรู้ว่า ผลของการที่ได้ทำาความดี ด้วยการให้ความช่วย เหลือกับทุกชีวิตที่ประสบทุกข์ภัย คือหนทางของการ สร้างความรักและสร้างมิตรแท้ที่ตนปรารถนา ( อำานาจ เย็นสบาย. ٢٥٤١ : 3-5 ) แบบรายงานการเข้าฐาน ค่ายเยาวชนรักการอ่าน ณ ……………….. วันที......................................... ่ ชื่อฐาน อ่านแล้วเล่าเรื่อง ตรง ความ กล้า รวม ต่อ สามารถ แสดง คะแ เวลา ตาม ออก นน ท ชื่อกลุ่ม ฐาน พร้อม ี่ เพรีย ١٠ ง 30 ١٠ ١٠
  • 18. 105 ١ . ٢ . ٣ . ٤ . ٥ . ٦ . ٧ . ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของวิทยากรประจำาฐาน ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ............................ ลงชื่อ ........................ ........ ผู้ประเมิน ฐานที่ ٤ อ่านแล้วพับ
  • 19. 106 วัตถุประสงค์ 1. นักเรียนนำาเศษวัสดุมาใช้ให้เกิดประโยชน์ 2. นักเรียนมีนำ้าใจช่วยเหลือซึ่งกันและกัน อุปกรณ์ 1. กาว 2. กรรไกร 3. ดินสอ 4. ไม้บรรทัด 5. กระดาษสีต่าง ๆ 6. หนังสือ หรือวารสารเกี่ยวกับการพับ 7. ใบขอรับการปฏิบัติกิจกรรมฐาน 8. ใบประเมินสำาหรับวิทยากรประจำาฐาน ขั้นตอนการดำาเนินกิจกรรม 1. กลุ่มนักเรียนทั้งหมดแสดงเอกลักษณ์ประจำา กลุ่มหรือตระกูลของตนที่เรียกว่า การแสดง “พลัง” ก่อนปฏิบัติกิจกรรมฐาน 2. วิทยากรแจ้งวัตถุประสงค์และให้กลุ่มใหญ่ แบ่งเป็นกลุ่มย่อย 3. แจกหนังสือ หรือวารสารเกี่ยวกับการพับ พร้อมอุปกรณ์ 4. นักเรียนช่วยกันพับ และประดิษฐ์ตกแต่งให้ สวยงามตามแบบที่เลือก
  • 20. 107 (จะพับตัวอะไรก็ได้ถ้ามากกว่านี้เวลาไม่พอ) 5. นักเรียนในกลุ่มส่งชิ้นงาน จะได้ประมาณ กลุ่มละไม่เกิน ٣ ตัว ขั้นสรุปและประยุกต์ใช้ 1. นักเรียนจะนำากิจกรรมนี้ไปใช้ได้อย่างไร 2. วิทยากรสรุปข้อคิดเห็นของนักเรียนและเพิ่มเติม ความรู้ทแนวคิดของ ี่ กิจกรรม แบบรายงานการเข้าฐาน ค่ายเยาวชนรักการอ่าน ณ .................... วันที......................................... ่
  • 21. 108 ชื่อฐาน อ่านแล้วพับ ตรง ความ กล้า รวม ต่อ สามารถ แสดง คะแ เวลา ตาม ออก นน ท ชื่อกลุ่ม ฐาน พร้อม ี่ เพรีย ١٠ ง 30 ١٠ ١٠ ١ . ٢ . ٣ . ٤ . ٥ . ٦ . ٧ . ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของวิทยากรประจำาฐาน ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................
  • 22. 109 ........................................................................ ............................ ลงชื่อ ........................ ..... ผู้ประเมิน ฐานที่ ٥ อ่านแล้วเขียน วัตถุประสงค์ 1. นักเรียนรู้จักคอลัมน์ต่าง ๆ ของหนังสือพิมพ์ 2. นักเรียนรู้จักเลือกอ่านหนังสือพิมพ์ อุปกรณ์ 1. หนังสือพิมพ์อย่างน้อย ٦ ชื่อ ชือเรื่องเท่ากับ ่ สมาชิกในกลุ่ม 2. ใบงาน เรื่องการอ่านหนังสือพิมพ์รายวัน 3. ใบขอรับการปฏิบัติกิจกรรมฐาน 4. ใบประเมินสำาหรับวิทยากรประจำาฐาน ขั้นตอนการดำาเนินกิจกรรม 1. กลุ่มนักเรียนทั้งหมดแสดงเอกลักษณ์ประจำา กลุ่มหรือตระกูลของตนที่เรียกว่า การแสดง “พลัง” ก่อนปฏิบัติกิจกรรมฐาน
  • 23. 110 2. วิทยากรประจำาฐานแจ้งวัตถุประสงค์และการ ปฏิบัติงานในการอ่านหนังสือพิมพ์รายวันและ เขียนตามหัวข้อที่กำาหนดให้ 3. ให้นักเรียนแต่ละคนเลือกหนังสือพิมพ์ตามใจ ชอบ 4. อ่านแล้วเลือกคอลัมน์ที่สนใจที่สุดแล้วเขียนตาม หัวข้อ ตามเวลา ที่กำาหนด ส่งวิทยากร ประจำาฐาน (สำาหรับฐานนี้วิทยากรประจำาฐานจะ ใช้เวลาในการตรวจมากพอสมควร) ขั้นสรุปและประยุกต์ใช้ 1. นักเรียนจะนำากิจกรรมนี้ไปใช้ได้อย่างไร 2. วิทยากรประจำาฐาน สรุปข้อคิดเห็นของนักเรียน และเพิ่มเติมแนวคิดของกิจกรรม
  • 24. 111 ใบความรู้ เรื่อง การอ่านหนังสือพิมพ์รายวัน หนังสือพิมพ์รายวัน เป็นสื่อมวลชน ( แม้นมาส เชาวลิต. ٢٥٣٩ : 226 ) ได้กล่าวถึงเรื่องการอ่าน หนังสือพิมพ์รายวัน หมายถึง การมีวัตถุประสงค์ให้ มหาชนได้ทราบภารกิจต่าง ๆ ได้มีการกำาหนดกันเอง ภายในวงการสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือพิมพ์รายวันว่า ภารกิจหลัก คือ การแสวงหาข้อมูล เรื่องราวที่เห็นพ้อง กันว่าสำาคัญ ประชาชนต้องทราบเพราะเกี่ยวข้องกับวิถี ชีวิต คุณภาพชีวิต สำาหรับการตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ สำาหรับการเรียนรู้พฤติกรรมของบุคคล และกลุ่มคนใน สังคมเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เรื่องน่าสนใจที่ค้นพบ ควร ต้องนำาเสนอมหาชนโดยเร็วที่สุด เสนอเนื้อหาให้ได้ราย ละเอียดมากที่สุด และเสนอในแง่มุมต่าง ๆ มากที่สุด พัฒนาการทางเทคโนโลยีการพิมพ์ ทำาให้ผลิต หนังสือพิมพ์รายวันอย่างรวดเร็ว มีหลักสูตรการสอนวิชา หนังสือพิมพ์หรือวารสารศาสตร์ในระดับมหาวิทยาลัย มี การลงทุนเพื่อผลิต และกระจายให้ได้มากที่สุด เกิดเป็น ธุรกิจหนังสือพิมพ์ มีกระบวนการจัดการหนังสือแต่ละ ฉบับ เจ้าของหรือผู้จัดการหรือคณะบรรณาธิการรวมทั้ง มีมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ อย่างไรก็ดี สำานักพิมพ์แต่ละแห่ง จะกำาหนด นโยบาย แนวสนใจ ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับข่าว วิธีการเสนอ ข่าวของสำานักพิมพ์ด้วย ในปัจจุบันนี้ ในยุคสังคมข่าวสาร โลกไร้พรมแดน และโลกาภิวัตน์ หนังสือพิมพ์รายวัน นับเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ ที่จะขาดมิได้จากชีวิตประจำาวัน
  • 25. 112 วันที......................................... ่ การวิเคราะห์ประเภทข่าวในหนังสือพิมพ์รายวัน เลือกข่าวในหน้าแรก ประเภทใดประเภทหนึ่ง (ทำาเครื่องหมาย ของประเภทข่าวที่เลือก)  ข่าวสังคมทั่วไป  ข่าวความเชื่อ  ข่าวการศึกษา ไสยศาสตร์  ข่าวต่างประเทศ  ข่าวกีฬา  ข่าวเศรษฐกิจ  พยากรณ์อากาศ  ข่าวบันเทิง  ข่าวการเมือง พาดหัวข่าว ........................................................................ ............................................................. เนื้อหา – ใคร ทำาอะไร ที่ไหน อย่างไร ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ .................................................. เนื้อหาที่เป็นข้อเท็จจริง ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ..................................................
  • 26. 113 เนื้อหาที่เป็นข้อคิดเห็น – ความรู้สึกของคนรายงานข่าว ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ .................................................. ประโยชน์ของข่าวชิ้นนั้น ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ .................................................. ความน่าเชื่อถือ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ .................................................. วันที......................................... ่ เลือกแง่คดจากข่าวและข้อคิดเห็น ของข่าวประเภทใด ิ ประเภทหนึงต่อไปนี้ จากเนื้อในหนังสือพิมพ์ จำานวน ١ ่ ข่าว (ทำาเครื่องหมาย ของประเภทข่าวที่เลือก)  อาชญากรรม  เศรษฐกิจ  กีฬา  สังคม  หนังสือ  บันเทิง  การศึกษา  แฟชั่น  การเมือง  เรื่องย่อจากละคร โทรทัศน์ ชื่อเรื่อง ........................................................................ ............................................................. เนื้อหา – ใคร ทำาอะไร ที่ไหน อย่างไร
  • 27. 114 ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ .................................................. เนื้อหาที่เป็นข้อเท็จจริง ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ .................................................. เนื้อหาที่เป็นข้อคิดเห็น – ความรู้สึกของคนรายงานข่าว ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ .................................................. ประโยชน์ของข่าวชิ้นนั้น ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ .................................................. ความน่าเชื่อถือ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ .................................................. แบบรายงานการเข้าฐาน ค่ายเยาวชนรักการอ่าน ณ ...................... วันที......................................... ่ ชื่อฐาน อ่านแล้วเขียน
  • 28. 115 ตรง ความ กล้า รวม ต่อ สามารถ แสดง คะแ เวลา ตาม ออก นน ท ชื่อกลุ่ม ฐาน พร้อม ี่ เพรีย ١٠ ง 30 ١٠ ١٠ ١ . ٢ . ٣ . ٤ . ٥ . ٦ . ٧ . ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของวิทยากรประจำาฐาน ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ............................
  • 29. 116 ลงชื่อ ........................ ..... ผู้ประเมิน ฐานที่ ٦ อ่านแล้วทาย วัตถุประสงค์ 1. นักเรียนได้ฝึกการอ่าน แล้วสามารถตอบคำาถาม ได้ถูกต้อง 2. นักเรียนได้ฝึกทักษะการคิด วิเคราะห์ อุปกรณ์ 1. ใบงาน อ่านแล้วทาย 2. กระดาษคำาตอบ 3. เอกสารให้คะแนนวิทยากรประจำาฐาน ขั้นตอนการดำาเนินกิจกรรม 1. กลุ่มนักเรียนทั้งหมดแสดงเอกลักษณ์ประจำา กลุ่มหรือตระกูลของตน ทีเรียกว่า การแสดง “พลัง” ก่อนปฏิบัติกิจกรรมฐาน ่ 2. แจกใบงาน อ่านแล้วทาย ให้กับสมาชิกในกลุ่ม ทุกคน 3. ให้เลือกตัวแทนกลุ่มออกมาอ่านเท่าจำานวนคำา กลอนที่จะทายเพื่อ เปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มได้ฝึกการอ่าน
  • 30. 117 4. ช่วยกันคิดและตอบคำาถาม จากนั้นวิทยากรก็จะ เฉลยคำาตอบ ให้สมาชิกทราบ ขั้นสรุปและประยุกต์ใช้ 1. นักเรียนได้ประโยชน์อะไรบ้างจากกิจกรรมนี้ และสามารถนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้อย่างไร 2. วิทยากรประจำาฐาน สรุปข้อคิดเห็นของนักเรียน และเพิ่มเติมแนวคิดของกิจกรรม ใบงาน
  • 31. 118 เรื่อง อ่านแล้วทาย คำา เ ตื อ น ก่ อ น ต อ บ 1. อ่านคำากลอนทั้งบทเพื่อให้เข้าใจความหมายรวม 2. อ่านให้พี่น้องในกลุ่มฟังด้วย 3. ดูว่าควรเติมคำาใดลงในช่องว่าง เพื่อให้ได้ความ หมาย คำาที่เติมต้องใช้รูปพยัญชนะ และสระ เดียวกัน ต่างกันแต่รูปวรรณยุกต์เท่านั้น 4. ใครทายถูกมากที่สุดมีรางวัล ١. ตัวอะไรยังอ่อนคล้ายหนอนหนา ชื่อขนมกินกับงารสเค็มหวาน ชื่อซอสีเสียงสูงจังแหลมกังวาน ขอไขขาน ด อยู่หน้าตอบมาเอย................. ٢. ข้าวอะไรใช้คั่วตำาทำาขนม ชื่อแมลงโง่งมหลงแสงสี ชื่อไม้ต้นผลกินได้อร่อยดี ชื่ออย่างนี้สามความหมายลองทายเอย............... ٣. คำาอะไรคือกว้างขวางนัก เรารู้จักชื่อต้นไม้ใบจักสาน นาฬิกาเดินเพราะมันช่วยบันดาล โปรดสอบทานหาคำาทายให้เหมาะเอย............... ٤. เครื่องจักสานใช้ตักนำ้าคำาใดหนา แทนคำาว่า “ครู” ก็ได้ไม่ผิดกัน แต่ฉันท์ใช้แทนคำาหนักมักเรียนกัน คำาใดนั้นคำาใดนั้นลองคิดสักนิดเอย................ ٥. ส่วนล่างของต้นไม้เรียกใดหนา พ้องชื่อเห็ดรสโอชาน่าสงสัย เป็นชื่อตัวหมากรุกบุกทแยงไป
  • 32. 119 คำาอะไรไม่ยากหากคิดเอย..................... ٦. ช้างพลายมีอะไรให้แต่งบ้าน พ้องชื่อพืชทำาอาหารและขนม เครื่องดักปลาแต่ก่อนมีผู้นิยม คำาเหมาะสมคืออะไรตอบไวเอย............... ٧. บ้านผู้ว่าเรียกอะไรใครรู้หนา พ้องชื่อผ้าชนิดหนึ่งอย่างพึงฉงน แปลว่า “เกือบ” หรือใกล้ใช้ทุกคน คำาใดค้นอักษร จ พอจบเอย................... ٨. โต๊ะต้องมีอะไรไว้เป็นหลัก คนเล่นไพ่เขามักเรียกคำาไหน กุลสตรีขานรับด้วยคำาใด ตอบไวไวคำานี้ง่ายทายเถิดเอย............... ٩. วัสดุอะไรใช้เย็บผ้า พ้องชื่อปลาจำาได้ไหมจ๊ะหนู อีกทั้งชื่อดอกไม้วันไหว้ครู พินิจดูคำาอะไรตอบไวเอย................. ١٠. อะไรเอ่ยอยู่เสียดฟ้าหญ้าสูงกว่า ใช้เรียกสวนงอกออกมาอยู่บนหัว พ้องชื่อนกมีราคาแพงน่ากลัว เป็นสรรพนามแทนตัวคนอื่นเอย................... เฉลย อ่านแล้วทาย 1.ด้วง ด ตัวแมลงหรือผีเสื้อที่ยังไม่มีปีกคล้ายตัวหนอน
  • 33. 120 ชื่อขนมชนิดหนึ่งทำาด้วยแป้งข้าเจ้าเป็นตัวเล็ก ๆ คล้ายตัวด้วง ค ชื่อซอชนิดหนึงกระบอกทำาด้วยไม้เนื้อแข็งใช้ ่ หนังหรือกระดาษหลายๆ ชั้นปิดด้านหนึง มีสาย ٢ ่ สาย 2.เม่า  ชื่อข้าวเปลือกที่ยังไม่แก่จัด เอามาคั่วแล้วตำา ให้แบนเรียกว่า ข้าวเม่า ข ชื่อแมลงชนิดหนึ่งเรียกว่า แมลงเม่า แ ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ผลกินได้ เรียกว่า หมากเม่า 3.ลาน  บริเวณที่ว่าง สนาม ที่สำาหรับนวดข้าว ทางกีฬา ห ม า ย ถึ ง ที่ เ ล่ น ส น า ม กีฬา  ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง คล้ายต้นตาล ใบใช้จาร หนังสือ ทำาหมวก เป็นต้น  เหล็กแบนที่ม้วนไว้แล้วคลายตัวออก เกิดกำาลัง ดันทำาให้ตัวจักรหมุน 4.ครุ  ภาชนะสานชนิดหนึงใช้ตักนำ้า รูปกลม ๆ ยาชัน ่  ครู  หนัก ใช้ในตำาราฉันทลักษณ์ หมายถึง พยางค์ ทีมีสระยาว หรือสระสั้นที่มีตัวสะกด ่ 5.โคน  ส่วนล่างขิงสิ่งที่ยาวกลม เช่น โคนไม้ โคนเสา โคนชา  ชื่อเห็ดอย่างหนึงรับประทานได้ ่  ชื่อตัวหมากรุกที่ใช้เดินทแยงมุมและไปข้าง หน้าเท่านั้น
  • 34. 121 6.งา  ฟันที่งอกออกจากปากช้างพลาย ลักษณะนาม เรียกว่า “กิ่ง”  ชื่อไม้ลมลุกชนิดหนึ่ง ผลเป็นฝัก มีเมล็ดเล็ก ๆ ้ สีขาวหรือดำา ใช้ประกอบอาหาร  ส่วนหนึ่งของเครื่องดักสัตว์ เช่น ลอบ หริไซ ทำาเป็นซี่ ๆ ปลายสอบเข้าหากัน 7.จวน  ที่อยู่ของเจ้าเมือง บ้านที่ทางราชการจัดให้เป็น ที่อยู่ของผู้ว่าราชการจังหวัด  ผ้าชนิดหนึ่ง  เกือบ ใกล้ เช่น จวนถึง จวนได้ จวนตาย 8.ขา  อวั ย วะตั้ ง แต่ ส ะโพกถึ ง ข้ อ เท้ า สิ่ ง ของที่ มี ลักษณะคล้ายขาสำา หรับยัน หรือรองรับสิ่งหนึ่งสิ่งใด เ ช่ น ข า โ ต๊ ะ  พ ว ก ฝ่ า ย เ ช่ น ข า ไ พ่ ข า นั ก เ ล ง  เป็นคำาขานรับของผู้หญิง 9.เข็ม  เหล็กแหลมใช้เย็บหรือกลัดสิ่งของ  ชื่อปลานำ้าจืดขนาดเล็ก รูปร่างยาวเรียว เป็นรูปเข็ม ปากล่างยืดยาวออก แต่ปากบนสั้น  ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง ดอกตูมมีลักษณะคล้าย เข็ม ดอกมี ٤ กลีบ สี ต่างๆ 10.เขา  เป็นที่สูงขึ้นไปเป็นจอมเด่น  สิ่งทีงอกออกมาจากหัวสัตว์บางชนิด ่  ชื่อนกพวกหนึ่ง มีหลายชนิด เช่น นกเขาไฟน สรรพนามบุรุษที่ ٣ ใช้แทนชื่อคนที่เราพูดถึง ( มูลนิธิเด็ก. ٢٥٤٠ : 146 – 150 )
  • 35. 122 แบบรายงานการเข้าฐาน ค่ายเยาวชนรักการอ่าน ณ .......................... วันที......................................... ่ ชื่อฐาน อ่านแล้วทาย ตรง ความ กล้า รวม ต่อ สามารถ แสดง คะแ เวลา ตาม ออก นน ท ชื่อตระกูล ฐาน พร้อม ี่ เพรีย ١٠ ง 30 ١٠ ١٠ ١ . ٢ . ٣ . ٤ . ٥ . ٦ . ٧ . ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของวิทยากรประจำาฐาน ........................................................................ ........................................................................
  • 36. 123 ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ............................ ลงชื่อ .......................... ผู้ประเมิน กระดาษคำาตอบ ฐานอ่านแล้วทาย ชื่อกลุ่ม ........................................................................ ................................................ ข้อ คำาตอบ คะแนนที่ได้ ที่ ١. ٢. ٣. ٤. ٥. ٦. ٧. ٨. ٩. ١٠. รวม
  • 37. 124 ฐานที่ ٧ อ่านแล้วตีลังกาคิด วัตถุประสงค์ 1. ฝึกคิดมุมกลับเพื่อสร้างความสมดุลแก่จิตใจ 2. ไม่หลงเกลียดหลงชอบอะไรง่าย ๆ อุปกรณ์ 1. ใบงาน เรื่อง “อ่านแล้วตีลังกาคิด” 2. กระดาษตำาตอบ 3. กระดาษให้คะแนนวิทยากรประจำาฐาน
  • 38. 125 ขั้นตอนการดำาเนินกิจกรรม 1. กลุ่มนักเรียนทั้งหมดแสดงเอกลักษณ์ประจำา กลุ่มหรือตระกูลของตนที่เรียกว่า การแสดง “พลัง” ก่อนปฏิบัติกิจกรรมฐาน 2. แจกใบงาน อ่านแล้วตีลงกาคิด ให้กับสมาชิกใน ั กลุ่มทุกคน 3. วิทยากรประจำาฐานสนทนากับสมาชิกกลุ่มในการ คิด วิเคราะห์ ว่าไม่มีสิ่งใดดี หรือไม่ดีไปหมด ถ้า รู้จักมองในมุมกลับกัน อาจจะตรงกันข้ามก็ได้ 4. ให้สมาชิกในกลุ่มร่วมกันคิด และเขียนคำาตอบ ตามหัวข้อที่ให้ แล้วนำามาอ่านสรุปตอนท้าย จะ เห็นว่า การที่คนเราจะมองอะไร และสรุปอะไร อาจจะไม่ถูกต้องเสมอไปก็ได้ ขั้นวิเคราะห์ สรุป และประยุกต์ใช้ สมาชิกภายในกลุ่มร่วมกันอภิปรายเรื่องที่เขียนขึ้น มา ช่ ว ยกั น แสดงความคิ ด เห็ น และนำา ข้ อ คิ ด ที่ ไ ด้ ไ ป ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จำา วั น ไ ด้ ต่ อ ไ ป
  • 39. 126 ใบงาน เรื่อง อ่านแล้วตีลังกาคิด วันนี้เรามาตีลังกาคิดกันดีกว่า คิดอะไรแปลก ไม่ เหมือนใคร ฝึกคิดไว้ สมองฉับไว ดีจังเลย 1. ให้เขียนความน่าสงสารของ “ผีปอบ” มา ٥ อย่าง 2. ให้เขียนความน่าเกลียดน่ากลัวของ “ไอศกรีม” มา ٥ อย่าง 3. ให้เขียนความน่ารักของ “กิ้งกือ” มา ٥ อย่าง
  • 40. 127 กระดาษคำาตอบ 1. ให้เขียนความน่าสงสารของ “ผีปอบ” มา ٥ อย่าง .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. ........... 2. ให้เขียนความน่าเกลียดน่ากลัวของ “ไอศกรีม” มา ٥ อย่าง .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. ..................................................................
  • 41. 128 .................................................................. ........... 3. ให้เขียนความน่ารักของ “กิ้งกือ” มา ٥ อย่าง .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. .................................................................. ........... สำาหรับวิทยากรประจำาฐาน อ่านแล้วตีลังกาคิด บรรย าย ใช้ ความ รวม ความ ภาษา คิด คะแน รู้สึก ถูก สร้างส ท น หมาย ชื่อกลุ่ม ของผู้ ต้อง รรค์ ี่ เหตุ อื่นให้ เข้าใ 30 จ ١٠ ١٠ ١٠
  • 42. 129 ١ . ٢ . ٣ . ٤ . ٥ . ٦ . ٧ . ข้อเสนอแนะ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ................. ลงชื่อ..................................... ............ผูให้คะแนน ้ (..................................................)