SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 19
รางาน
      เรื่อง     สมดุลเคมี
         จัดทำาโดย
  น.ส.วรรณวิภา ภูมลา
     ม.٥/١ เลขที่ ٣٢
               เสนอ
คุณครูวีระพงษ์              บรรจง

รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา เคมี
(ว.٤٢١٠١)
คำานำา
รายงานเล่มนี้เป็นสวนหนึ่งของวิชาเคมี ได้รับ
มอบหมายจาก                   คุณครูวีระพงษ์
บรรจง ให้ไปศึกษาค้นคว้าเรื่อง ภาวะสมดุล
   เคมี ดิฉันหวังว่ารายงานส่วนนี้จะเป็น
      ประโยชน์แก่ผู้อ่านไม่มากก็น้อย




                จัดทำาโดย

          น.ส.วรรณวิภา      ภูมลา
สารบัญ
                   เรื่อง
                   หน้า

สมดุลเคมี
١
กฎของสมดุลเคมี
٣
สมดุลหลายวัฎภาค
٥
ค่าคงทีสมดุล
       ่
6
การเปลี่ยนภาวะสมดุล
7
หลักการใช้ค่าคงทีสมดุล
                 ่
8
จลนศาสตร์เคมีและค่าคงทีสมดุล
                       ่
9
การคำานวณเกี่ยวกับค่าคงที่สมดุล
10
การเปลี่ยนความเข้มข้นของสารกับภาวะสมดุล
11
บรรณานุกรม
19




                          1.   สมดุลเคมี
 สมดุลเคมี คือตามหลักของปริมาณสารสัมพันธ์ ปฏิกิรยาจะต้อง
                                                ิ
              ดำาเนินไปจนสมบูรณ์ยกตัวอย่างเช่น

 CO2 (g) + H2 (g) => CO (g) + H2O (g) ................................

                                 .........(1)

 ในระบบเปิด CO2 (g) จะทำาปฏิกิริยากับ H2 (g) จนหมดและได้
                  CO (g) และ H2O (g)

ในระบบปิด เมื่อเกิดปฏิกิริยาปริมาณของ CO2 (g) และ H2 (g) จะ
  ลดลง ในขณะทีปริมาณของ CO (g) และ H2O (g) จะเพิ่มขึ้น
                  ่
  ทำาให้รวมตัวกันกลับไปเป็น CO2 (g) และ H2 (g) ดังสมการ

              CO (g) + H2O (g) => CO2 (g) + H2
               (g) ......................................... (2)

 เมื่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาที่ (1) เท่ากับ อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่
     (2) เรียกว่า เกิดสมดุลทางเคมี และเรียกปฏิกิริยาที่ (1) ว่า
  ปฏิกิริยาไปข้างหน้า(forward reaction) เรียกปฏิกิริยาที่ (2) ว่า
 ปฏิกิริยาย้อนกลับ(reversible reaction) นิยมเขียนปฏิกิริยาแสดง
สมดุลระหว่างการเกิดปฏิกิริยาที่ (1) และปฏิกิริยาที่ (2) ดังนี้
         CO2 (g) + H2 (g) (      ) CO (g) + H2O (g)

   หลักการของสมดุลเคมี เมื่อระบบเข้าสู่สมดุลระบบจะต้อง :

1.1 อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าเท่ากับอัตราการเกิดปฏิกิริยา
   ย้อนกลับและความเข้มข้นของสาร ตั้งต้นและผลิตผลจะคงที่

ในปฏิกิริยาเคมีใด ๆ เมื่อเริ่มทำาปฏิกิริยา ความเข้มข้นของสารเริ่ม
ต้นจะลดลงเรื่อย ๆ ขณะที่ความเข้มข้นของสารผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น
 ตามลำาดับ จนกระทั่งเวลาผ่านไปช่วงหนึง ความเข้มข้นของสาร
                                           ่
 ทุกตัวในระบบจะไม่เปลี่ยนแปลงอีกต่อไป นั่นคือปฏิกิริยาอยูใน ่
                          สภาวะสมดุล

ทีสภาวะนีถ้าพิจารณาตามหลักการของจลนศาสตร์เคมี (chemical
  ่        ้
 kinetics) พบว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าจะเท่ากับอัตรา
    การเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ และจากการทดลองพบว่า ทีสภาวะ
                                                      ่
สมดุล ความเข้มข้นของสารเริ่มต้นและสารผลิตภัณฑ์จะมีค่าคงที่
                         และไม่ขึ้นกับเวลา

      1.2 ระบบเป็นสมดุลไดนามิค (dynamic equilibrium)

ถ้าศึกษาการเปลียนแปลงในระดับโมเลกุล หรืออะตอม จะพบว่า
                   ่
  เมื่อระบบเข้าสู่สภาวะสมดุลนั้น ระบบไม่ได้หยุดนิ่งแต่จะมีการ
 เปลียนแปลงตลอดเวลา นั่นคือปฏิกิริยาดำาเนินไปข้างหน้าและ
       ่
 ย้อนกลับได้อย่างต่อเนื่องโดยปราศจากการเปลียนแปลงความ
                                               ่
เข้มข้นของสารในระบบ เรียกสภาวะสมดุลลักษณะนี้ว่า สมดุลได
                            นามิค

 นักวิทยาศาสตร์ ทราบได้อย่างไรว่า สมดุลเป็นสมดุลไดนามิค
2.   กฎของสมดุลเคมี

 ปฏิกิริยาใดๆ ก็ตาม ทีอุณหภูมิใดอุณหภูมิหนึ่งจะมีค่าคงที่อยู่ค่า
                       ่
 หนึ่ง ซึงบอกให้ทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ความเข้มข้นของ
         ่
     สารต่างๆ ที่สภาวะสมดุล เรียกค่าคงที่นว่า ค่าคงที่สมดุล
                                          ี้
        (equilibrium constant, K) พิจารณาปฏิกิริยาต่อไปนี้

                    aA + bB (     ) cC + dD

เมื่อ a, b, c และ d คือ เลขสัมประสิทธิ์จำานวนโมลของสาร A, B, C
                          และ D ตามลำาดับ

 สามารถเขียนอัตราส่วนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้น
             (equilibrium expression) ได้ดังนี้


                        Kc = (         )

เมื่อ Kc คือค่าคงที่สมดุลทีแสดงในเทอมความเข้มข้นของสารใน
                           ่
                     หน่วยโมลาร์ (โมล/ลิตร)

ถ้า K < 1 แสดงว่า ในสภาวะสมดุล [สารตั้งต้น] > [ผลิตผล] หรือ
 ปฏิกิริยาย้อนกลับเกิดขึ้นเกือบจะสมบูรณ์ ในขณะที่ปฏิกิริยาไป
                   ข้างหน้าจะเกิดน้อยมาก

ในทางกลับกัน ถ้า K > 1 แสดงว่า ในสภาวะสมดุล [สารตั้งต้น] <
  [ผลิตผล] หรือปฏิกิริยาไปข้างหน้าเกิดขึ้นเกือบจะสมบูรณ์
ในกรณีที่หาค่าอัตราส่วนนี้ก่อนถึงสภาวะสมดุลหรือเมื่อสมดุลถูก
 รบกวนจะเรียกอัตราส่วนนีว่า โควเตียนของปฏิกิริยา (reaction
                           ้
 quotient, Q) ณ เวลาใด ๆ และแสดงในเทอมของมวลได้ดังนี้


                  Qc = (        ) ทีเวลาใดๆ
                                    ่

   เมื่อใดทีระบบอยู่ในภาวะสมดุล Q จะมีค่าเท่ากับ Kc เสมอ
            ่


                           ตัวอย่าง

i. ปฏิกิริยา steam reforming : CH4(g) + H2O(g) CO(g) + 3H2(g)



             Kc = (           ) หน่วย mol2 dm-6

ii. ปฏิกิริยาการสังเคราะห์แอมโมเนีย : N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g)



             Kc = (          ) หน่วย mol -2 dm6

  iii. ปฏิกิริยาการสังเคราะห์แอมโมเนียลดลงเหลือเท่าตัว : 1/2
                    N2(g) + 3/2H2(g) NH3(g)



           Kc = (              ) หน่วย mol-1 dm3

                ตัวอย่างการคำานวณโดยใช้ K

 ตัวอย่าง ก๊าซไฮโดรเจน ไอโอไดด์สลายตัวได้ง่าย ดังสมการ :
                 2HI(g) (  ) H2(g) + I2(g)

ถ้าบรรจุ HI 4.00 โมล ลงในภาชนะ 5.00 ลิตร ที่อุณหภูมิ 458oC
 พบว่าที่สมดุลจะมีปริมาณของ I2 0.442 โมล จงหาค่า Kc ของ
                        ปฏิกิริยานี้
ตอบ 0.0201

        สรุปลักษณะทั่วไปของสมดุลเคมี 3 ประการ คือ
                1. สมดุลเคมีเป็นสมดุลไดนามิค
           2. สมดุลเคมีเป็นขบวนการที่เกิดขึ้นได้เอง
     3. การดำาเนินเข้าสู่ภาวะสมดุลเริ่มจากทิศทางใดก็ได้




      3.   สมดุลหลายวัฏภาค (Heterogeneous Equilibrium)

 มีมากกว่า 1 วัฏภาค (phase) ของสารในระบบสมดุล เช่น water
                      -gas equilibrium :

               C (s) + H2O (g) CO (g) + H2 (g)


                      K=(              )

 [C (s)] เป็นความเข้มข้นของคาร์บอนในสถานะของแข็ง การ
 ทดลองพบว่า [C (s)] จะไม่เปลียนแปลง นั่นคือจำานวนโมลต่อ
                             ่
          หน่วยปริมาตรของของแข็ง จะคงเดิมเสมอ


              K ใหม่ = K [C (s)] = (             )

ดังนั้นจะไม่นำาความเข้มข้นของของแข็ง และของเหลวบริสุทธิ์ มา
                       คิดในการหาค่า K
4.   ค่าคงที่สมดุล
     ในปฏิกิริยาเคมีใดๆ จะมีค่าคงที่ค่าหนึ่งซึ่งบอก
      ให้ทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้น
       ของสารต่างๆที่ภาวะสมดุล เรียกว่า ค่าคงที่
             สมดุล(Equilibrium Constant)
         Ex 3.H2(g) + I2(g) =2HI(g) ที่ 4250C
การทดลอง
          [N2] [I2] [HI] K = [HI]2 / [H2][I2]
   ที่
    1    4.565 0.738 13.54     54.79
    2    3.560 1.250 15.59     54.67
    3    2.253 2.336 16.85     54.14
    4    1.831 3.130 17.67     54.79
    5    0.479 0.479 3.531     54.35
    6    1.141 1.141 8.410     54.35


หมายเหตุ lab 1-4 ได้จากการรวมตัวชอง H2 และ I2
lab 5-6 ได้จากการสลายตัวของ HI

จากตารางสรุปได้ว่าไม่ว่าจะเริ่มต้นด้วยปริมาณสาร
เท่าใดก็ตาม อัตราส่วนระหว่างผลคูณของความเข้ม
ข้นของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดยกกำาลังด้วย
สัมประสิทธิ์บอกจำานวนโมลของผลิตภัณฑ์นั้นๆกับ
ผลคูณของความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่เหลือแต่ละ
ชนิดยกกำาลังด้วยสัมประสิทธิ์บอกจำานวนโมลของ
สารที่เหลือที่สภาวะสมดุลจะมีค่าคงที่เสมอเมื่อ
อุณหภูมิคงที่ เรียกว่า ค่าคงที่สมดุล(k) K = [HI]2 /
[H2][I2]


      5.   จลนศาสตร์เคมีและค่าคงที่สมดุล
       ค.ศ. 1866 C.M. Guldberg นักคณิตศาสตร์
        ประยุกต์ และ P .Waage นักเคมีได้เสนอ
     “Law of mass action” กล่าวคือ “ อัตราการ
      เกิดปฏิกิริยาจะต้องเป็นปฏิภาคกับความ
         เข้มข้นของสารตั้งต้นยกกำาลังด้วย
     สัมประสิทธิ์บอกจำานวนโมลของสารนั้นๆ”
                  Ex aA + bB —cC + dD
           อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า
        Ratef = kf[A]a[B]b………………..(1)
             อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ
        Rater = kr [C]c[D]d………………..(2)
            เมื่อระบบเข้าสู่สภาวะสมดุลจะได้
           (1)=(2) kf[A]a[B]b = kr [C]c[D]d
                      เมื่อ kf/ kr = K
             จะได้ K = [C]c[D]d/[A]a[B]b




            6.   หลักการใช้ค่าคงที่สมดุล
     1.เมื่ออุณหภูมิคงที่ ค่าคงที่สมดุล k จะมีค่าคงที่
และจะต้องอ้างถึงสมการหนึ่งสมการใดด้วย
 เสมอ เพราะถ้าเขียนสมการโดยใช้สัมประสิทธิ์
       ต่างกันไป ค่า k จะแตกต่างกันด้วย
           Ex4. H2(g) + I2(g) =2HI(g)
          …………………………..(1)
               K1 = [HI]2/[H2][I2]
        2 x(1) 2H2(g) + 2 I2(g)= 4HI(g)
              K2 = [HI]4/[H2]2[I2]2
                     K2 = K12
   ดังนั้น ถ้าคูณสมการเดิมด้วย n ค่า K ใหม่
                  เท่ากับ Kn เดิม
2.ถ้าเขียนสมการกลับกัน ค่า k ก็จะกลับกันด้วย
        Ex 5. 2NO(g) + O2(g) =2NO2(g)
              ……………………(2)
            K1 =[NO2]2/[NO]2[O2]
              ถ้าเขียนสมการกลับกัน
           2NO2(g) =2NO(g) + O2(g)
            K2 = [NO]2[O2] /[NO2]2
                     K2 = 1/K1
ดังนั้นถ้าเขียนสมการกลับกัน K ใหม่ = 1/K เดิม
2.ในกรณีที่ปฏิกิริยาเกิดขึ้นหลายๆขั้นตอน ค่า K
  ของปฏิกิริยารวม จะเท่ากับผลคูณของค่า K
              ของปฏิกิริยาย่อยๆนั้น
        Ex 6. 2NO(g) + O2(g) =2NO2(g)
                ………………..(1)
    2NO2(g) N2O4(g)…………………(2)
    (1)+(2) ได้ 2NO(g) + O2(g) =N2O4(g)
       K3 =K1.K2=[N2O4]/[NO2]2[O2]
การใช้ค่า K ในสมดุลเอกพันธ์ ซึงสารตั้งต้นและ
                                  ่
สารผลิตภัณฑ์อยู่ในวัฏภาคเดียวกัน เช่น
    Ex 7. จากปฏิกิริยา aA + bB= cC +dD
         Kc = [C]c [D]d /[A] a[B] b
   Kp = PCc PDd / PAa PBb ; P = n/v RT
   จาก Kp = Kc(RT) n ; n = (c+d)-(a+b)
  ถ้า n = 0 จะได้ Kp = Kc(RT)0 ; Kp = Kc
      Ex 8. N2(g) + 3H2(g) =2NH3(g)
         Kc = [ NH3]2 /[ N2][ H2 ]3
     หรือ Kp = ( P NH3)2/ (PN2)(PH2)3
  การใช้ค่า K ในสมดุลวิวิธภัณฑ์ สารที่เป็น
     ของแข็งกำาหนดให้มีค่าคงที่เท่ากับ 1
     Ex 9. CaCO3(s) =CaO(s) + CO2(g)
          Kc = [CO2] ; Kp = PCO2




   7. การคำานวณเกี่ยวกับค่าคงที่สมดุล
   Ex 10. จากปฏิกิริยา 2SO2(g) + O2(g)=
              2SO3(g) ที่ 250 c
จงคำานวณหา Kc ที่สภาวะสมดุล (กำาหนด Kp =
              2.5 x 1024 atm-1)
         วิธีทำา จาก Kp = Kc(RT) n
                Kc = Kp(RT)- n
Kc = (2.5 x 1024)(0.0821)(298)-(1)
              = 6.2 x 1025 dm3 mol-1
 Ex 11. เมื่อเติม ก๊าซ H2 และ I2 อย่างละ 0.5
   mol ลงในภาชนะขนาด 2 dm3 ที่อุณหภูมิ
   520Oc เมื่อระบบเข้าสุ่ภาวะสมดุลจากการ
วิเคราะห์พบว่าภายในภาชนะประกอบด้วยก๊าซ
    HI 0.06 mol จงคำานวณหาค่าคงที่สมดุล
          วิธีทำา H2 (g) + I2(g) =2HI (g)
                  เริ่มต้น 0.25 0.25 -
          เปลี่ยนแปลง 0.015 0.015 0.03
             ที่สมดุล 0.235 0.235 0.03
                 K = [HI]2/[H2][I2]
                 = (0.03)2/(0.235)2
                        = 2 x 10-2
 Ex 12. ที่อุณหภูมิหนึ่งก๊าซ HX 1.0 mol/dm3
           สลายตัวได้ 20 % ดังสมการ
 2HX =H2 + X2 จงคำานวณหาค่าคงที่สมดุล
   วิธีทำา HX 1.0 mol/dm3 สลายตัวได้ 20 %
     ดังนั้น HX สลายตัว= 20/100 X 1= 0.2
                        mol/dm3
                   2HX= H2 + X2
                       เริ่มต้น 1 - -
              เปลี่ยนแปลง 0.2 0.1 0.1
                 ที่สมดุล 0.8 0.1 0.1
                K =[H2][X2]/[HX]2
                      =(0.1)2/(0.8)2
                      =1.56 X 10-2
  Ex 13. ก๊าซ N2 ทำาปฏิกิริยากับก๊าซ H2 ดัง
                           สมการ
3H2(g) + N2(g)= 2NH3(g) ที่อุณหภูมิ 400oC
ที่ภาวะสมดุลพบว่ามี N2 0.6mol/dm3 , H2 0.4
                 mol/dm3
และ NH3 0.14mol/dm3 จงคำานวณหาค่าคงที่
                  สมดุล

           K = [NH3]2/[H2]3[N2]
         = (0.14)2/(0.6)(0.4)3= 0.51




        8.   การเปลี่ยนภาวะสมดุล
ที่ภาวะสมดุลของปฏิกิริยาใดๆสมบัติต่างๆเช่น
ความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นและความ
 เข้มข้นของสารตั้งต้นที่เหลือจะมีค่าคงที่ ถ้ามี
 การเปลี่ยนแปลงปัจจัยบางอย่างขึ้น เช่น การ
  เปลี่ยนความเข้มข้น อุณหภูมิ หรือความดัน
 อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเปลี่ยนแปลงไป โดย
การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะมีผลต่อภาวะสมดุล
        ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลได้แก่
            1.การเปลี่ยนความเข้มข้น
              2.การเปลี่ยนความดัน
3.การเปลี่ยนอุณหภูมิ




9.   การเปลี่ยนความเข้มข้นของสารกับภาวะ
                    สมดุล
  Ex 14. ปฏิกิริยาระหว่าง Fe(NO3)3 กับ NH4
                       SCN
     Fe3+(aq) + SCN-(aq)= [FeSCN]2+(aq)
          นำ้าตาล ไม่มสี สีแดงเลือดนก
                       ี
  ทำาการทดลองโดยแบ่งสารละลายออกเป็น 4
                     ส่วนดังนี้
          1.เก็บไว้เปรียบเทียบ (blank)
 2.เติม Fe(NO3)3 ลงไป ปรากฏว่าสีแดงเพิ่มขึ้น
   3.เติม NH4 SCN ลงไปปรากฏว่าสีแดงเพิ่ม
    ขึน(มากกว่าส่วนที่ 1 แต่น้อยกว่าส่วนที่ 2)
      ้
 4.เติม Na2HPO4 ลงไป ปรากฏว่าสีแดงจางลง
             และมีตะกอนสีขาวเกิดขึ้น
          จากการทดลองอธิบายได้ดังนี้
 2.การเติม Fe(NO3)3 ลงไปเท่ากับเป็นการเพิ่ม
 Fe3+ซึ่งจะทำาปฏิกิริยากับ SCN- ที่เหลืออยู่เกิด
 เป็น [FeSCN]2+ทำาให้สีแดงเข้มขึ้น และ Fe3+
ที่เติมลงไปถูกใช้ไม่หมด
3.การเติม NH4 SCN เท่ากับเป็นการเพิ่ม SCN-
 ซึงจะทำาปฏิกิริยากับ Fe3+ ที่เหลืออยู่เกิดเป็น
     ่
[FeSCN]2+ ทำาให้สีแดงเข้มขึ้นแต่สีจะน้อยกว่า
          ส่วนที่ 2 เนื่องจาก SCN-ไม่มสี
                                      ี
4.การเติม Na2HPO4 ลงไปเท่ากับเป็นการเพิ่ม
 HPO42- ที่จะไปดึง Fe3+เกิดเป็นตะกอนขาว
ของ FePO4 ทำาให้สีแดงของสารลายจางลงกว่า
                         เดิม
  Fe3+(aq) + 2 HPO42-(aq) =FePO4(s) + H2
                        PO4-(s)
จากตัวอย่างสรุปได้ว่า การเพิ่มหรือลดความเข้ม
 ข้นของสารจะมีผลทำาให้ภาวะสมดุลเปลี่ยนไป
 ซึงที่สมดุลใหม่สมบัติของระบบจะแตกต่างไป
   ่
                    จากสมดุลเดิม
การเปลี่ยนความดันของสารกับภาวะสมดุล
Ex 15. ปฏิกิริยาการเตรียมก๊าซ NO2 ดังสมการ
       Cu(s) + 4HNO3(aq)— Cu(NO3)2(aq)
               +2NO2(g) + 2H2O(l)
                2NO2(g) =N2O4(g)
                 สีนำ้าตาลแดง ไม่มีสี

จากปฏิกิริยาถ้าเพิ่มความดันจะพบว่าสีของก๊าซ
         ในกระบอกฉีดยาเข้มขึ้นและ
ค่อยๆจางลงจนคงที่แต่ถ้าลดความดันจะพบว่าสี
      ของสารละลายในกระบอกฉีดยา
จะจางลงและเข้มขึ้นจนคงที่จากตัวอย่างสรุปได้
                ว่าการเพิ่มหรือ
 ลดความดันของก๊าซจะมีผลทำาให้ภาวะสมดุล
เปลี่ยนไปท่าสมดุลใหม่ สมบัติของ
        ระบบจะแตกต่างไปจากสมดุลเดิม
     การเปลี่ยนอุณหภูมิกับภาวะสมดุล
 Ex 16 จากปฏิกิริยา 2NO2(g) =N2O4(g) +DH
              สีนำ้าตาลแดง ไม่มีสี
  จากปฏิกิริยา ถ้าเพิมอุณหภูมิโดยการให้ความ
                     ่
ร้อน จะพบว่าสีของก๊าซในกระบอกฉีดยาเข้มขึ้น
 แล้วคงที่ แต่ถ้าลดอุณหภูมิจะพบว่าสีของก๊าซ
         ในกระบอกฉีดยาจางลงแล้วคงที่
จึงสรุปได้ว่าการเพิ่มหรือลดอุณหภูมิของสาร จะ
มีผลทำาให้ภาวะสมดุลของระบบเปลี่ยนไป และ
ทีสมดุลใหม่สมบัติของระบบจะแตกต่างไปจาก
                    สมดุลเดิม

 ปี ค.ศ. 1884 เลอ ชาเตอลิเอ นักวิทยาศาสตร์
    ชาวฝรั่งเศสได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการ
เปลี่ยนแปลงภาวะสมดุลของปฏิกิริยาต่างๆและ
 ได้ข้อสรุปว่า ‘เมื่อระบบที่อยู่ในภาวะสมดุล
 ถูกรบกวนโดยการเปลี่ยนแปลงปัจจัยที่มี
 ผลต่อภาวะสมดุลของระบบ ระบบจะเกิด
 การเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่จะลดผล
              ของการรบกวนนั้น
 เพื่อให้ระบบเข้าสู่ภาวะสมดุลใหม่อีกครั้ง’

          กรณีที่ความเข้มข้นเปลี่ยน
             Ex 17 A + B= C + D
1.ถ้าเพิ่มความเข้มข้นของสาร A ระบบจะปรับตัว
  โดยการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าผลที่ได้คือ
      สาร C และ D มากขึ้น สาร B ลดลง
2.ถ้าลดความเข้มข้นของสาร A ระบบจะปรับตัว
     โดยการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับผลที่ได้คือ
       สาร B เพิ่มขึ้น สาร C และ D ลดลง
หมายเหตุ กรณีการเพิ่มหรือลดสารผลิตภัณฑ์ก็
ให้ใช้หลักในการพิจารณาเช่นเดียวกับสารตั้งต้น
              กรณีที่ความดันเปลี่ยน
             Ex 18 3A + B= C + 4D
  1.ถ้าเพิ่มความดัน ระบบจะเกิดการปรับตัวใน
       ทิศทางที่จะลดความดันโดยการเกิด
                   ปฏิกิริยาย้อน
กลับ ผลที่เกิดขึ้นคือ สาร A และ B มากขึ้น สาร
                C และ D จะลดลง
    2.ถ้าลดความดันระบบจะเกิดการปรับตัวใน
         ทิศทางเพิ่มความดันโดยการเกิด
 ปฏิกิริยาไปข้างหน้าผลที่เกิดขึ้นคือสาร C และ
                         D
           มากขึ้น สาร A และ B ลดลง
หมายเหตุ การเพิ่มหรือลดความดันจะไม่มีผลต่อ
            ภาวะสมดุลของปฏิกิริยาถ้า
  จำานวนโมลของสารที่เป็นก๊าซทั้งสองข้างเท่า
                        กัน
          กรณีที่อณหภูมิเปลี่ยนแปลง
                   ุ
             Ex 19 X + Y =Z + D+H
 1.ถ้าเพิ่มอุณหภูมิ ระบบจะปรับตัวในทิศทางลด
อุณหภูมิโดยเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ ผลที่เกิดขึ้น
 คือสาร X และ Y มากขึ้น สาร Z ลดลง และค่า
             คงท่าสมดุล(K)ลดลงด้วย
 2.ถ้าลดอุณหภูมิ ระบบจะปรับตัวในทิศทางเพิ่ม
อุณหภูมิโดยเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า ผลที่เกิด
ขึ้นคือสาร X และ Y ลดลง สาร Z เพิ่มขึ้นและ
           ค่าคงท่าสมดุล(K)เพิ่มขึ้นด้วย
            Ex 20 A + B + D+H=C + D
1.ถ้าเพิ่มอุณหภูมิ ระบบจะปรับตัวในทิศทางลด
อุณหภูมิโดยเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า ผลที่เกิด
ขึนคือสาร A และ B ลดลง สาร C และ D เพิ่ม
   ้
      ขึน และค่าคงท่าสมดุล(K) เพิ่มขึ้นด้วย
        ้
2.ถ้าลดอุณหภูมิ ระบบจะปรับตัวในทิศทางเพิ่ม
อุณหภูมิโดยเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับผลที่เกิดขึ้น
คือสาร A และ B เพิ่มขึ้น สาร C และ D ลดลง
 และค่าคงท่าสมดุล(K)ลดลงด้วย กรณีตัวเร่ง
              ปฏิกิริยากับภาวะสมดุล
การใส่ตัวเร่งปฏิกิริยาเป็นการทำาให้ปฏิกิริยาเกิด
ขึ้นเร็วขึ้นโดยไม่มีผลต่อภาวะสมดุลแต่อย่างใด
     เพียงแต่ระบบเข้าสู่ภาวะสมดุลเร็วเท่านั้น



            บรรณานุกรม
       www3.ipst.ac.th/chemistry/index.php?option


        www.tlcthai.com/.../view_topic.php

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลManchai
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีpaknapa
 
สมดุล
สมดุลสมดุล
สมดุลMuk52
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีpaknapa
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีGesika
 
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์adriamycin
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000Awirut619
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 
ประภา
ประภาประภา
ประภาprapa2537
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01jirat266
 
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solutionแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and SolutionDr.Woravith Chansuvarn
 

Mais procurados (15)

สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุล
สมดุลสมดุล
สมดุล
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
จลนศาสตร์ของปฏิกิริยา และความคงตัวของเภสัชภัณฑ์
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000
 
Echem 2 redox balance
Echem 2 redox balanceEchem 2 redox balance
Echem 2 redox balance
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
ประภา
ประภาประภา
ประภา
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solutionแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
 
Chemographics : Gases
Chemographics : GasesChemographics : Gases
Chemographics : Gases
 

Destaque

791(1)
791(1)791(1)
791(1)jitima
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีnatthaporn1111
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีKhwan Jomkhwan
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่นrumpin
 
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์Nnear .
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีJariya Jaiyot
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีjirat266
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)Coco Tan
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2Wijitta DevilTeacher
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าuntika
 
สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ
สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบสมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ
สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบพัน พัน
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นrumpin
 

Destaque (20)

Em wave
Em waveEm wave
Em wave
 
791(1)
791(1)791(1)
791(1)
 
Equilibrium mahidol
Equilibrium mahidolEquilibrium mahidol
Equilibrium mahidol
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
Ch9 wave exercises
Ch9 wave exercisesCh9 wave exercises
Ch9 wave exercises
 
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี โชติช่วง ดีดวงพันธ์
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
 
Know6
Know6Know6
Know6
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
T guide 6
T  guide 6T  guide 6
T guide 6
 
สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ
สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบสมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ
สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่น
 

Semelhante a Bk

ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)Manchai
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีpaknapa
 
รายงานเรียน
รายงานเรียนรายงานเรียน
รายงานเรียนtippawan61
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีpaknapa
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีpaknapa
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์Pipat Chooto
 
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา661031554
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีweerabong
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีweerabong
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีTutor Ferry
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีkorng001
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-textnantita
 

Semelhante a Bk (19)

ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
รายงานเรียน
รายงานเรียนรายงานเรียน
รายงานเรียน
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
Metal
MetalMetal
Metal
 
Rate012
Rate012Rate012
Rate012
 
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ของเหลวและสารละลายเพื่อการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
 
Stability
StabilityStability
Stability
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 

Bk

  • 1. รางาน เรื่อง สมดุลเคมี จัดทำาโดย น.ส.วรรณวิภา ภูมลา ม.٥/١ เลขที่ ٣٢ เสนอ คุณครูวีระพงษ์ บรรจง รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา เคมี (ว.٤٢١٠١)
  • 2. คำานำา รายงานเล่มนี้เป็นสวนหนึ่งของวิชาเคมี ได้รับ มอบหมายจาก คุณครูวีระพงษ์ บรรจง ให้ไปศึกษาค้นคว้าเรื่อง ภาวะสมดุล เคมี ดิฉันหวังว่ารายงานส่วนนี้จะเป็น ประโยชน์แก่ผู้อ่านไม่มากก็น้อย จัดทำาโดย น.ส.วรรณวิภา ภูมลา
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้า สมดุลเคมี ١ กฎของสมดุลเคมี ٣ สมดุลหลายวัฎภาค ٥ ค่าคงทีสมดุล ่ 6 การเปลี่ยนภาวะสมดุล 7 หลักการใช้ค่าคงทีสมดุล ่ 8 จลนศาสตร์เคมีและค่าคงทีสมดุล ่ 9 การคำานวณเกี่ยวกับค่าคงที่สมดุล 10 การเปลี่ยนความเข้มข้นของสารกับภาวะสมดุล 11
  • 4. บรรณานุกรม 19 1. สมดุลเคมี สมดุลเคมี คือตามหลักของปริมาณสารสัมพันธ์ ปฏิกิรยาจะต้อง ิ ดำาเนินไปจนสมบูรณ์ยกตัวอย่างเช่น CO2 (g) + H2 (g) => CO (g) + H2O (g) ................................ .........(1) ในระบบเปิด CO2 (g) จะทำาปฏิกิริยากับ H2 (g) จนหมดและได้ CO (g) และ H2O (g) ในระบบปิด เมื่อเกิดปฏิกิริยาปริมาณของ CO2 (g) และ H2 (g) จะ ลดลง ในขณะทีปริมาณของ CO (g) และ H2O (g) จะเพิ่มขึ้น ่ ทำาให้รวมตัวกันกลับไปเป็น CO2 (g) และ H2 (g) ดังสมการ CO (g) + H2O (g) => CO2 (g) + H2 (g) ......................................... (2) เมื่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาที่ (1) เท่ากับ อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่ (2) เรียกว่า เกิดสมดุลทางเคมี และเรียกปฏิกิริยาที่ (1) ว่า ปฏิกิริยาไปข้างหน้า(forward reaction) เรียกปฏิกิริยาที่ (2) ว่า ปฏิกิริยาย้อนกลับ(reversible reaction) นิยมเขียนปฏิกิริยาแสดง
  • 5. สมดุลระหว่างการเกิดปฏิกิริยาที่ (1) และปฏิกิริยาที่ (2) ดังนี้ CO2 (g) + H2 (g) ( ) CO (g) + H2O (g) หลักการของสมดุลเคมี เมื่อระบบเข้าสู่สมดุลระบบจะต้อง : 1.1 อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าเท่ากับอัตราการเกิดปฏิกิริยา ย้อนกลับและความเข้มข้นของสาร ตั้งต้นและผลิตผลจะคงที่ ในปฏิกิริยาเคมีใด ๆ เมื่อเริ่มทำาปฏิกิริยา ความเข้มข้นของสารเริ่ม ต้นจะลดลงเรื่อย ๆ ขณะที่ความเข้มข้นของสารผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น ตามลำาดับ จนกระทั่งเวลาผ่านไปช่วงหนึง ความเข้มข้นของสาร ่ ทุกตัวในระบบจะไม่เปลี่ยนแปลงอีกต่อไป นั่นคือปฏิกิริยาอยูใน ่ สภาวะสมดุล ทีสภาวะนีถ้าพิจารณาตามหลักการของจลนศาสตร์เคมี (chemical ่ ้ kinetics) พบว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าจะเท่ากับอัตรา การเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ และจากการทดลองพบว่า ทีสภาวะ ่ สมดุล ความเข้มข้นของสารเริ่มต้นและสารผลิตภัณฑ์จะมีค่าคงที่ และไม่ขึ้นกับเวลา 1.2 ระบบเป็นสมดุลไดนามิค (dynamic equilibrium) ถ้าศึกษาการเปลียนแปลงในระดับโมเลกุล หรืออะตอม จะพบว่า ่ เมื่อระบบเข้าสู่สภาวะสมดุลนั้น ระบบไม่ได้หยุดนิ่งแต่จะมีการ เปลียนแปลงตลอดเวลา นั่นคือปฏิกิริยาดำาเนินไปข้างหน้าและ ่ ย้อนกลับได้อย่างต่อเนื่องโดยปราศจากการเปลียนแปลงความ ่ เข้มข้นของสารในระบบ เรียกสภาวะสมดุลลักษณะนี้ว่า สมดุลได นามิค นักวิทยาศาสตร์ ทราบได้อย่างไรว่า สมดุลเป็นสมดุลไดนามิค
  • 6. 2. กฎของสมดุลเคมี ปฏิกิริยาใดๆ ก็ตาม ทีอุณหภูมิใดอุณหภูมิหนึ่งจะมีค่าคงที่อยู่ค่า ่ หนึ่ง ซึงบอกให้ทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ความเข้มข้นของ ่ สารต่างๆ ที่สภาวะสมดุล เรียกค่าคงที่นว่า ค่าคงที่สมดุล ี้ (equilibrium constant, K) พิจารณาปฏิกิริยาต่อไปนี้ aA + bB ( ) cC + dD เมื่อ a, b, c และ d คือ เลขสัมประสิทธิ์จำานวนโมลของสาร A, B, C และ D ตามลำาดับ สามารถเขียนอัตราส่วนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้น (equilibrium expression) ได้ดังนี้ Kc = ( ) เมื่อ Kc คือค่าคงที่สมดุลทีแสดงในเทอมความเข้มข้นของสารใน ่ หน่วยโมลาร์ (โมล/ลิตร) ถ้า K < 1 แสดงว่า ในสภาวะสมดุล [สารตั้งต้น] > [ผลิตผล] หรือ ปฏิกิริยาย้อนกลับเกิดขึ้นเกือบจะสมบูรณ์ ในขณะที่ปฏิกิริยาไป ข้างหน้าจะเกิดน้อยมาก ในทางกลับกัน ถ้า K > 1 แสดงว่า ในสภาวะสมดุล [สารตั้งต้น] < [ผลิตผล] หรือปฏิกิริยาไปข้างหน้าเกิดขึ้นเกือบจะสมบูรณ์
  • 7. ในกรณีที่หาค่าอัตราส่วนนี้ก่อนถึงสภาวะสมดุลหรือเมื่อสมดุลถูก รบกวนจะเรียกอัตราส่วนนีว่า โควเตียนของปฏิกิริยา (reaction ้ quotient, Q) ณ เวลาใด ๆ และแสดงในเทอมของมวลได้ดังนี้ Qc = ( ) ทีเวลาใดๆ ่ เมื่อใดทีระบบอยู่ในภาวะสมดุล Q จะมีค่าเท่ากับ Kc เสมอ ่ ตัวอย่าง i. ปฏิกิริยา steam reforming : CH4(g) + H2O(g) CO(g) + 3H2(g) Kc = ( ) หน่วย mol2 dm-6 ii. ปฏิกิริยาการสังเคราะห์แอมโมเนีย : N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g) Kc = ( ) หน่วย mol -2 dm6 iii. ปฏิกิริยาการสังเคราะห์แอมโมเนียลดลงเหลือเท่าตัว : 1/2 N2(g) + 3/2H2(g) NH3(g) Kc = ( ) หน่วย mol-1 dm3 ตัวอย่างการคำานวณโดยใช้ K ตัวอย่าง ก๊าซไฮโดรเจน ไอโอไดด์สลายตัวได้ง่าย ดังสมการ : 2HI(g) ( ) H2(g) + I2(g) ถ้าบรรจุ HI 4.00 โมล ลงในภาชนะ 5.00 ลิตร ที่อุณหภูมิ 458oC พบว่าที่สมดุลจะมีปริมาณของ I2 0.442 โมล จงหาค่า Kc ของ ปฏิกิริยานี้
  • 8. ตอบ 0.0201 สรุปลักษณะทั่วไปของสมดุลเคมี 3 ประการ คือ 1. สมดุลเคมีเป็นสมดุลไดนามิค 2. สมดุลเคมีเป็นขบวนการที่เกิดขึ้นได้เอง 3. การดำาเนินเข้าสู่ภาวะสมดุลเริ่มจากทิศทางใดก็ได้ 3. สมดุลหลายวัฏภาค (Heterogeneous Equilibrium) มีมากกว่า 1 วัฏภาค (phase) ของสารในระบบสมดุล เช่น water -gas equilibrium : C (s) + H2O (g) CO (g) + H2 (g) K=( ) [C (s)] เป็นความเข้มข้นของคาร์บอนในสถานะของแข็ง การ ทดลองพบว่า [C (s)] จะไม่เปลียนแปลง นั่นคือจำานวนโมลต่อ ่ หน่วยปริมาตรของของแข็ง จะคงเดิมเสมอ K ใหม่ = K [C (s)] = ( ) ดังนั้นจะไม่นำาความเข้มข้นของของแข็ง และของเหลวบริสุทธิ์ มา คิดในการหาค่า K
  • 9. 4. ค่าคงที่สมดุล ในปฏิกิริยาเคมีใดๆ จะมีค่าคงที่ค่าหนึ่งซึ่งบอก ให้ทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้น ของสารต่างๆที่ภาวะสมดุล เรียกว่า ค่าคงที่ สมดุล(Equilibrium Constant) Ex 3.H2(g) + I2(g) =2HI(g) ที่ 4250C การทดลอง [N2] [I2] [HI] K = [HI]2 / [H2][I2] ที่ 1 4.565 0.738 13.54 54.79 2 3.560 1.250 15.59 54.67 3 2.253 2.336 16.85 54.14 4 1.831 3.130 17.67 54.79 5 0.479 0.479 3.531 54.35 6 1.141 1.141 8.410 54.35 หมายเหตุ lab 1-4 ได้จากการรวมตัวชอง H2 และ I2 lab 5-6 ได้จากการสลายตัวของ HI จากตารางสรุปได้ว่าไม่ว่าจะเริ่มต้นด้วยปริมาณสาร เท่าใดก็ตาม อัตราส่วนระหว่างผลคูณของความเข้ม ข้นของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดยกกำาลังด้วย สัมประสิทธิ์บอกจำานวนโมลของผลิตภัณฑ์นั้นๆกับ ผลคูณของความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่เหลือแต่ละ ชนิดยกกำาลังด้วยสัมประสิทธิ์บอกจำานวนโมลของ
  • 10. สารที่เหลือที่สภาวะสมดุลจะมีค่าคงที่เสมอเมื่อ อุณหภูมิคงที่ เรียกว่า ค่าคงที่สมดุล(k) K = [HI]2 / [H2][I2] 5. จลนศาสตร์เคมีและค่าคงที่สมดุล ค.ศ. 1866 C.M. Guldberg นักคณิตศาสตร์ ประยุกต์ และ P .Waage นักเคมีได้เสนอ “Law of mass action” กล่าวคือ “ อัตราการ เกิดปฏิกิริยาจะต้องเป็นปฏิภาคกับความ เข้มข้นของสารตั้งต้นยกกำาลังด้วย สัมประสิทธิ์บอกจำานวนโมลของสารนั้นๆ” Ex aA + bB —cC + dD อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า Ratef = kf[A]a[B]b………………..(1) อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ Rater = kr [C]c[D]d………………..(2) เมื่อระบบเข้าสู่สภาวะสมดุลจะได้ (1)=(2) kf[A]a[B]b = kr [C]c[D]d เมื่อ kf/ kr = K จะได้ K = [C]c[D]d/[A]a[B]b 6. หลักการใช้ค่าคงที่สมดุล 1.เมื่ออุณหภูมิคงที่ ค่าคงที่สมดุล k จะมีค่าคงที่
  • 11. และจะต้องอ้างถึงสมการหนึ่งสมการใดด้วย เสมอ เพราะถ้าเขียนสมการโดยใช้สัมประสิทธิ์ ต่างกันไป ค่า k จะแตกต่างกันด้วย Ex4. H2(g) + I2(g) =2HI(g) …………………………..(1) K1 = [HI]2/[H2][I2] 2 x(1) 2H2(g) + 2 I2(g)= 4HI(g) K2 = [HI]4/[H2]2[I2]2 K2 = K12 ดังนั้น ถ้าคูณสมการเดิมด้วย n ค่า K ใหม่ เท่ากับ Kn เดิม 2.ถ้าเขียนสมการกลับกัน ค่า k ก็จะกลับกันด้วย Ex 5. 2NO(g) + O2(g) =2NO2(g) ……………………(2) K1 =[NO2]2/[NO]2[O2] ถ้าเขียนสมการกลับกัน 2NO2(g) =2NO(g) + O2(g) K2 = [NO]2[O2] /[NO2]2 K2 = 1/K1 ดังนั้นถ้าเขียนสมการกลับกัน K ใหม่ = 1/K เดิม 2.ในกรณีที่ปฏิกิริยาเกิดขึ้นหลายๆขั้นตอน ค่า K ของปฏิกิริยารวม จะเท่ากับผลคูณของค่า K ของปฏิกิริยาย่อยๆนั้น Ex 6. 2NO(g) + O2(g) =2NO2(g) ………………..(1) 2NO2(g) N2O4(g)…………………(2) (1)+(2) ได้ 2NO(g) + O2(g) =N2O4(g) K3 =K1.K2=[N2O4]/[NO2]2[O2] การใช้ค่า K ในสมดุลเอกพันธ์ ซึงสารตั้งต้นและ ่
  • 12. สารผลิตภัณฑ์อยู่ในวัฏภาคเดียวกัน เช่น Ex 7. จากปฏิกิริยา aA + bB= cC +dD Kc = [C]c [D]d /[A] a[B] b Kp = PCc PDd / PAa PBb ; P = n/v RT จาก Kp = Kc(RT) n ; n = (c+d)-(a+b) ถ้า n = 0 จะได้ Kp = Kc(RT)0 ; Kp = Kc Ex 8. N2(g) + 3H2(g) =2NH3(g) Kc = [ NH3]2 /[ N2][ H2 ]3 หรือ Kp = ( P NH3)2/ (PN2)(PH2)3 การใช้ค่า K ในสมดุลวิวิธภัณฑ์ สารที่เป็น ของแข็งกำาหนดให้มีค่าคงที่เท่ากับ 1 Ex 9. CaCO3(s) =CaO(s) + CO2(g) Kc = [CO2] ; Kp = PCO2 7. การคำานวณเกี่ยวกับค่าคงที่สมดุล Ex 10. จากปฏิกิริยา 2SO2(g) + O2(g)= 2SO3(g) ที่ 250 c จงคำานวณหา Kc ที่สภาวะสมดุล (กำาหนด Kp = 2.5 x 1024 atm-1) วิธีทำา จาก Kp = Kc(RT) n Kc = Kp(RT)- n
  • 13. Kc = (2.5 x 1024)(0.0821)(298)-(1) = 6.2 x 1025 dm3 mol-1 Ex 11. เมื่อเติม ก๊าซ H2 และ I2 อย่างละ 0.5 mol ลงในภาชนะขนาด 2 dm3 ที่อุณหภูมิ 520Oc เมื่อระบบเข้าสุ่ภาวะสมดุลจากการ วิเคราะห์พบว่าภายในภาชนะประกอบด้วยก๊าซ HI 0.06 mol จงคำานวณหาค่าคงที่สมดุล วิธีทำา H2 (g) + I2(g) =2HI (g) เริ่มต้น 0.25 0.25 - เปลี่ยนแปลง 0.015 0.015 0.03 ที่สมดุล 0.235 0.235 0.03 K = [HI]2/[H2][I2] = (0.03)2/(0.235)2 = 2 x 10-2 Ex 12. ที่อุณหภูมิหนึ่งก๊าซ HX 1.0 mol/dm3 สลายตัวได้ 20 % ดังสมการ 2HX =H2 + X2 จงคำานวณหาค่าคงที่สมดุล วิธีทำา HX 1.0 mol/dm3 สลายตัวได้ 20 % ดังนั้น HX สลายตัว= 20/100 X 1= 0.2 mol/dm3 2HX= H2 + X2 เริ่มต้น 1 - - เปลี่ยนแปลง 0.2 0.1 0.1 ที่สมดุล 0.8 0.1 0.1 K =[H2][X2]/[HX]2 =(0.1)2/(0.8)2 =1.56 X 10-2 Ex 13. ก๊าซ N2 ทำาปฏิกิริยากับก๊าซ H2 ดัง สมการ
  • 14. 3H2(g) + N2(g)= 2NH3(g) ที่อุณหภูมิ 400oC ที่ภาวะสมดุลพบว่ามี N2 0.6mol/dm3 , H2 0.4 mol/dm3 และ NH3 0.14mol/dm3 จงคำานวณหาค่าคงที่ สมดุล K = [NH3]2/[H2]3[N2] = (0.14)2/(0.6)(0.4)3= 0.51 8. การเปลี่ยนภาวะสมดุล ที่ภาวะสมดุลของปฏิกิริยาใดๆสมบัติต่างๆเช่น ความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นและความ เข้มข้นของสารตั้งต้นที่เหลือจะมีค่าคงที่ ถ้ามี การเปลี่ยนแปลงปัจจัยบางอย่างขึ้น เช่น การ เปลี่ยนความเข้มข้น อุณหภูมิ หรือความดัน อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเปลี่ยนแปลงไป โดย การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะมีผลต่อภาวะสมดุล ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลได้แก่ 1.การเปลี่ยนความเข้มข้น 2.การเปลี่ยนความดัน
  • 15. 3.การเปลี่ยนอุณหภูมิ 9. การเปลี่ยนความเข้มข้นของสารกับภาวะ สมดุล Ex 14. ปฏิกิริยาระหว่าง Fe(NO3)3 กับ NH4 SCN Fe3+(aq) + SCN-(aq)= [FeSCN]2+(aq) นำ้าตาล ไม่มสี สีแดงเลือดนก ี ทำาการทดลองโดยแบ่งสารละลายออกเป็น 4 ส่วนดังนี้ 1.เก็บไว้เปรียบเทียบ (blank) 2.เติม Fe(NO3)3 ลงไป ปรากฏว่าสีแดงเพิ่มขึ้น 3.เติม NH4 SCN ลงไปปรากฏว่าสีแดงเพิ่ม ขึน(มากกว่าส่วนที่ 1 แต่น้อยกว่าส่วนที่ 2) ้ 4.เติม Na2HPO4 ลงไป ปรากฏว่าสีแดงจางลง และมีตะกอนสีขาวเกิดขึ้น จากการทดลองอธิบายได้ดังนี้ 2.การเติม Fe(NO3)3 ลงไปเท่ากับเป็นการเพิ่ม Fe3+ซึ่งจะทำาปฏิกิริยากับ SCN- ที่เหลืออยู่เกิด เป็น [FeSCN]2+ทำาให้สีแดงเข้มขึ้น และ Fe3+
  • 16. ที่เติมลงไปถูกใช้ไม่หมด 3.การเติม NH4 SCN เท่ากับเป็นการเพิ่ม SCN- ซึงจะทำาปฏิกิริยากับ Fe3+ ที่เหลืออยู่เกิดเป็น ่ [FeSCN]2+ ทำาให้สีแดงเข้มขึ้นแต่สีจะน้อยกว่า ส่วนที่ 2 เนื่องจาก SCN-ไม่มสี ี 4.การเติม Na2HPO4 ลงไปเท่ากับเป็นการเพิ่ม HPO42- ที่จะไปดึง Fe3+เกิดเป็นตะกอนขาว ของ FePO4 ทำาให้สีแดงของสารลายจางลงกว่า เดิม Fe3+(aq) + 2 HPO42-(aq) =FePO4(s) + H2 PO4-(s) จากตัวอย่างสรุปได้ว่า การเพิ่มหรือลดความเข้ม ข้นของสารจะมีผลทำาให้ภาวะสมดุลเปลี่ยนไป ซึงที่สมดุลใหม่สมบัติของระบบจะแตกต่างไป ่ จากสมดุลเดิม การเปลี่ยนความดันของสารกับภาวะสมดุล Ex 15. ปฏิกิริยาการเตรียมก๊าซ NO2 ดังสมการ Cu(s) + 4HNO3(aq)— Cu(NO3)2(aq) +2NO2(g) + 2H2O(l) 2NO2(g) =N2O4(g) สีนำ้าตาลแดง ไม่มีสี จากปฏิกิริยาถ้าเพิ่มความดันจะพบว่าสีของก๊าซ ในกระบอกฉีดยาเข้มขึ้นและ ค่อยๆจางลงจนคงที่แต่ถ้าลดความดันจะพบว่าสี ของสารละลายในกระบอกฉีดยา จะจางลงและเข้มขึ้นจนคงที่จากตัวอย่างสรุปได้ ว่าการเพิ่มหรือ ลดความดันของก๊าซจะมีผลทำาให้ภาวะสมดุล
  • 17. เปลี่ยนไปท่าสมดุลใหม่ สมบัติของ ระบบจะแตกต่างไปจากสมดุลเดิม การเปลี่ยนอุณหภูมิกับภาวะสมดุล Ex 16 จากปฏิกิริยา 2NO2(g) =N2O4(g) +DH สีนำ้าตาลแดง ไม่มีสี จากปฏิกิริยา ถ้าเพิมอุณหภูมิโดยการให้ความ ่ ร้อน จะพบว่าสีของก๊าซในกระบอกฉีดยาเข้มขึ้น แล้วคงที่ แต่ถ้าลดอุณหภูมิจะพบว่าสีของก๊าซ ในกระบอกฉีดยาจางลงแล้วคงที่ จึงสรุปได้ว่าการเพิ่มหรือลดอุณหภูมิของสาร จะ มีผลทำาให้ภาวะสมดุลของระบบเปลี่ยนไป และ ทีสมดุลใหม่สมบัติของระบบจะแตกต่างไปจาก สมดุลเดิม ปี ค.ศ. 1884 เลอ ชาเตอลิเอ นักวิทยาศาสตร์ ชาวฝรั่งเศสได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการ เปลี่ยนแปลงภาวะสมดุลของปฏิกิริยาต่างๆและ ได้ข้อสรุปว่า ‘เมื่อระบบที่อยู่ในภาวะสมดุล ถูกรบกวนโดยการเปลี่ยนแปลงปัจจัยที่มี ผลต่อภาวะสมดุลของระบบ ระบบจะเกิด การเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่จะลดผล ของการรบกวนนั้น เพื่อให้ระบบเข้าสู่ภาวะสมดุลใหม่อีกครั้ง’ กรณีที่ความเข้มข้นเปลี่ยน Ex 17 A + B= C + D 1.ถ้าเพิ่มความเข้มข้นของสาร A ระบบจะปรับตัว โดยการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าผลที่ได้คือ สาร C และ D มากขึ้น สาร B ลดลง
  • 18. 2.ถ้าลดความเข้มข้นของสาร A ระบบจะปรับตัว โดยการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับผลที่ได้คือ สาร B เพิ่มขึ้น สาร C และ D ลดลง หมายเหตุ กรณีการเพิ่มหรือลดสารผลิตภัณฑ์ก็ ให้ใช้หลักในการพิจารณาเช่นเดียวกับสารตั้งต้น กรณีที่ความดันเปลี่ยน Ex 18 3A + B= C + 4D 1.ถ้าเพิ่มความดัน ระบบจะเกิดการปรับตัวใน ทิศทางที่จะลดความดันโดยการเกิด ปฏิกิริยาย้อน กลับ ผลที่เกิดขึ้นคือ สาร A และ B มากขึ้น สาร C และ D จะลดลง 2.ถ้าลดความดันระบบจะเกิดการปรับตัวใน ทิศทางเพิ่มความดันโดยการเกิด ปฏิกิริยาไปข้างหน้าผลที่เกิดขึ้นคือสาร C และ D มากขึ้น สาร A และ B ลดลง หมายเหตุ การเพิ่มหรือลดความดันจะไม่มีผลต่อ ภาวะสมดุลของปฏิกิริยาถ้า จำานวนโมลของสารที่เป็นก๊าซทั้งสองข้างเท่า กัน กรณีที่อณหภูมิเปลี่ยนแปลง ุ Ex 19 X + Y =Z + D+H 1.ถ้าเพิ่มอุณหภูมิ ระบบจะปรับตัวในทิศทางลด อุณหภูมิโดยเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ ผลที่เกิดขึ้น คือสาร X และ Y มากขึ้น สาร Z ลดลง และค่า คงท่าสมดุล(K)ลดลงด้วย 2.ถ้าลดอุณหภูมิ ระบบจะปรับตัวในทิศทางเพิ่ม
  • 19. อุณหภูมิโดยเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า ผลที่เกิด ขึ้นคือสาร X และ Y ลดลง สาร Z เพิ่มขึ้นและ ค่าคงท่าสมดุล(K)เพิ่มขึ้นด้วย Ex 20 A + B + D+H=C + D 1.ถ้าเพิ่มอุณหภูมิ ระบบจะปรับตัวในทิศทางลด อุณหภูมิโดยเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า ผลที่เกิด ขึนคือสาร A และ B ลดลง สาร C และ D เพิ่ม ้ ขึน และค่าคงท่าสมดุล(K) เพิ่มขึ้นด้วย ้ 2.ถ้าลดอุณหภูมิ ระบบจะปรับตัวในทิศทางเพิ่ม อุณหภูมิโดยเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับผลที่เกิดขึ้น คือสาร A และ B เพิ่มขึ้น สาร C และ D ลดลง และค่าคงท่าสมดุล(K)ลดลงด้วย กรณีตัวเร่ง ปฏิกิริยากับภาวะสมดุล การใส่ตัวเร่งปฏิกิริยาเป็นการทำาให้ปฏิกิริยาเกิด ขึ้นเร็วขึ้นโดยไม่มีผลต่อภาวะสมดุลแต่อย่างใด เพียงแต่ระบบเข้าสู่ภาวะสมดุลเร็วเท่านั้น บรรณานุกรม www3.ipst.ac.th/chemistry/index.php?option www.tlcthai.com/.../view_topic.php