SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 34
Baixar para ler offline
เป็นแหล่งไดโนเสาร์ กินพืชที่สมบูรณ์ที่สุดของประเทศไทย โดยพบกระดูก
ไดโนเสาร์เกือบทั้งตัว กองรวมอยู่กับกระดูกไดโนเสาร์กินพืชพันธุ์ต่างๆอีก
2-3 ชนิด กระดูกทั้งหมดอยู่ในชั้นหินที่วางตัวอยู่บนไหล่เขา รูปร่างคล้ายฝาชี
ภูกุ้มข้าว
ไทย พบไดโนเสาร์มากสุด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภายในพิพิธภัณฑ์ จะทาเป็นอาคาร ครอบหลุมขุดค้น
กระดูกโคนหาง ไดโนเสาร์ สิรินธรเน่
น่าคิด
สิ่งมีชีวิตอื่นๆที่พบในปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลง
จากสิ่งมีชีวิตที่เกิดมาก่อนชนิดใด และมีการ
เปลี่ยนแปลงอย่างไรจึงสามารถสืบทอดเผ่าพันธุ์
มาถึงปัจจุบันได้
 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตใดๆ เป็นกระบวนการที่ใช้ระยะเวลาอัน
ยาวนานจนเราไม่อาจเฝ้าสังเกตได้อีกทั้งยังไม่สามารถใช้การทดลองใน
ห้องปฏิบัติการมาอธิบายความเป็นมาเป็นไปได้โดยตรง ดังนั้น
นักวิทยาศาสตร์ที่เชื่อว่าสิ่งมีชีวิตมีวิวัฒนาการจึงได้รวบรวมข้อมูลและ
หลักฐานต่างๆเพื่อใช้สนับสนุนการเกิดวิวัฒนาการขึ้นจริงของสิ่งมีชีวิต
หลักฐานหรือข้อมูลสนับสนุนใดบ้างที่บ่งบอกถึงการมีวิวัฒนาการของ
สิ่งมีชีวิต?
หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์ของสิ่งมีชีวิต
ข้อมูลสนับสนุนจากกายวิภาคเปรียบเทียบ
ข้อมูลสนับสนุนจากคัพภะวิทยาเปรียบเทียบ
ข้อมูลสนับสนุนทางชีวภูมิศาสตร์
หลักฐานทางชีววิทยาระดับโมเลกุล
 ซากดึกดาบรรพ์เป็นหลักฐานสาคัญที่ทาให้เราทราบว่า
เคยมีสิ่งมีชีวิตมากมายที่เกิดขึ้นในอดีต หลายชนิดสูญพันธุ์
ไปแล้ว และส่วนใหญ่ที่มีชีวิตอยู่ในปัจจุบันก็มีสัณฐาน
เปลี่ยนแปลงไป ซากดึกดาบรรพ์เกิดขึ้นได้หลายวิธี
 permineralization หรือ
กระบวนการแทรกซึมของแร่
ธาตุในรูพรุนของโครงร่างของ
สิ่งมีชีวิต เกิดขึ้นเมื่อแร่ธาตุ
เข้าไปสะสมในเซลล์ของ
สิ่งมีชีวิต ทาให้รูปทรงของ
ชิ้นส่วนนั้นคงตัวกลายเป็นซาก
ดึกดาบรรพ์ เช่น ไม้กลายเป็น
หิน (petrified wood)
molds and casts เกิดขึ้น
เมื่อสิ่งมีชีวิตถูกฝังอยู่ในโคลน
หรือแร่ธาตุแล้วโคลนหรือแร่
ธาตุนั้นแข็งตัวเป็นหิน
หลังจากนั้นส่วนเนื้อเยื่อของ
สิ่งมีชีวิตก็ย่อยสลายไป
กลายเป็นช่องว่างในลักษณะ
ของแม่พิมพ์ ดังเช่นตัวอย่าง
ซากดึกดาบรรพ์หอยในภาพ
impressions คือ รอยประทับที่เกิดขึ้น
บนโคลนละเอียดซึ่งแข็งตัวและ
กลายเป็นหิน ภายหลังจากที่เกิดรอย
ประทับแล้ว รอยประทับของใบไม้ ให้
ข้อมูลของรูปร่างใบและเส้นใบ ฯลฯ
ส่วนรอยประทับของสัตว์ เช่น รอยเท้า
อาจบ่งบอกขนาด น้าหนัก จานวน และ
พฤติกรรมการเดินของสัตว์ดึกดาบรรพ์
ได้
หรือ ซากดึกดาบรรพ์ทั้งตัวของสิ่งมีชีวิต เช่น
พืชทั้งต้นหรือสัตว์ทั้งตัวจะพบได้ยาก ส่วนมาก
มักเป็นชิ้นส่วน เช่น กระดูก ฟัน เปลือก
ดอกไม้ ใบไม้ ซึ่งถูกทับถมในเถ้าจากภูเขาไฟ
ตัวอย่างที่พบได้ เช่น ไข่ไดโนเสาร์
สัตว์เลื้อยคลาน หรือนกตัวเล็กๆ ซากแมลงที่
สมบูรณ์บางครั้งพบอยู่ในอาพันซึ่งเป็นยางไม้
สนที่แข็งตัว หรืออาจพบในบ่อยางมะตอย เช่น
ที่ La Brea tar pits ในถ้าในทะเลทราย
ซึ่งทาให้ซากดึกดาบรรพ์แห้งกลายเป็นมัมมี่
หรือในน้าแข็ง เช่น ซากช้างแมมมอธที่พบใน
ไซบีเรีย
 ซากดึกดาบรรพ์จะพบมากในหินชั้น
หรือหินตะกอน นักวิทยาศาสตร์สามารถ
คานวณอายุของซากดึกดาบรรพ์ได้จาก
อายุของชั้นหิน ซากดึกดาบรรพ์ที่พบใน
หินชั้นล่างย่อมมีอายุมากกว่าซากที่พบ
ในหินชั้นบน และเมื่อพิจารณาถึง
โครงสร้างแล้วซากดึกดาบรรพ์ในหินชั้น
บนจะมีความซับซ้อนและมีโครงสร้างที่
ใกล้เคียงกับสิ่งมีชีวิตในปัจจุบันมากกว่า
 อย่างไรก็ตามซากดึกดาบรรพ์เป็น
เพียงหลักฐานหนึ่งเท่านั้นที่
สามารถนามาใช้อธิบายการเกิด
วิวัฒนาการ เพราะซากดึกดา
บรรพ์ที่ค้นพบอาจไม่สมบูรณ์จึงให้
รายละเอียดได้ไม่เพียงพอ ดังนั้น
การเข้าใจถึงวิวัฒนาการจึงต้อง
ใช้หลักฐานอื่นมาสนับสนุนเพิ่มเติม
การประเมินอายุของซากดึกดาบรรพ์
สามารถคานวณได้จากอายุของชั้นหินที่พบ
ซากดึกดาบรรพ์นั้น โดยทาการเปรียบเทียบ
ปริมาณสารกัมมันตรังสีและปริมาณของธาตุ
ที่เกิดจากการสลายของสารกัมมันตรังสีนั้น
กับช่วงเวลาครึ่งชีวิตของไอโซโทปของธาตุ
กัมมันตรังสีว่าผ่านไปแล้วกี่ครึ่งชีวิตจึง
คานวณได้ถูกว่าเวลาผ่านไปแล้วกี่ปี เรียก
วิธีนี้ว่า เรดิโอเมตริก เดททิง
(radiometric dating)
สิ่งมีชีวิตบางชนิดเมื่อเราดูจากลักษณะภายนอกจะเห็นว่ามี
ลักษณะต่างกัน แต่เมื่อพิจารณาถึงโครงสร้างรยางค์คู่หน้าจะพบว่า
มีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน การที่สิ่งมีชีวิตมีโครงสร้างของอวัยวะ
บางอย่างคล้ายคลึงกันแม้ว่าจะทาหน้าที่แตกต่างกันก็ตาม เช่น
แขนคน ขาแมว รยางค์คู่หน้าของวาฬ และปีกค้างคาว เราเรียก
โครงสร้างลักษณะนี้ว่า ฮอมอโลกัส (homologous structure)
ความคล้ายคลึงกันของโครงสร้างลักษณะนี้เป็นหลักฐานที่สนับสนุน
ว่าสิ่งมีชีวิตนั้นๆมีวิวัฒนาการมาจากบรรพบุรุษเดียวกัน
 ในกรณีของสิ่งมีชีวิตที่มีอวัยวะที่ทาหน้าที่เหมือนกัน เช่น ปีก
แมลง และปีกนก หากพิจารณาถึงโครงสร้างกายวิภาคจะพบว่ามี
ลักษณะที่แตกต่างกัน เราเรียกโครงสร้างที่มีลักษณะต่างกันแต่ทา
หน้าที่เหมือนกันนี้ว่า อะนาโลกัส (analogous structure)
แอร์นสต์ เฮคเคล (Ernst Haeckel, พ.ศ.2377-2462)
เป็นผู้ที่ศึกษาและได้ตั้งทฤษฎีจากการดูหลักฐานการเจริญเติบโตของ
เอ็มบริโอ เรียกว่า ทฤษฎีการย้อนซ้าลักษณะ (Theory of
Recapitulation) ซึ่งกล่าวว่า การเจริญเติบโตของสัตว์จากระยะ
ตัวอ่อนจนถึงขั้นตัวเต็มวัยจะเป็นการย้อนรอยหรือแสดงลักษณะที่
เหมือนกับการวิวัฒนาการของบรรพบุรุษ
 จากภาพการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอของสัตว์มีกระดูกสัน
หลังชนิดต่างๆจะพบความคล้ายคลึงกันในส่วนของการมีช่อง
เหงือกและหาง จนเมื่อสัตว์มีกระดูกสันหลังแต่ละชนิดเติบโต
เป็นตัวเต็มวัยลักษณะของการมีช่องเหงือกยังคงอยู่ในสัตว์
บางชนิดเช่น ปลาและซาลามานเดอร์ แต่ไม่คงอยู่ในสัตว์มี
กระดูกสันหลังชนิดอื่น ทั้งนี้เพราะเกิดการปรับเปลี่ยนรูปร่าง
ไปให้เหมาะสมต่อการดารงชีวิตนั่นเอง ซึ่งลักษณะที่
คล้ายคลึงกันในระหว่างการเจริญเติบโตของเอ็มบริโออาจ
บ่งชี้ถึงการวิวัฒนาการมาจากบรรพบุรุษร่วมกันได้
ในปัจจุบันเทคโนโลยีสมัยใหม่ได้ก้าวหน้าไปมาก นับตั้งแต่
ที่เมนเดลได้จุดประกายการศึกษาสารพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิต
และจุดเปลี่ยนสาคัญที่เจมส์ วัตสัน (James Watson) และ
ฟรานซิส คริก (Francis Crick) ได้ค้นพบโครงสร้างสามมิติ
ของดีเอ็นเอ ในปี พ.ศ.2496 ความรู้ทางพันธุศาสตร์และ
เทคโนโลยีเกี่ยวกับการศึกษาสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอก็
ก้าวหน้านับแต่นั้น
สิ่งมีชีวิตพื้นฐานทุกชนิดมีดีเอ็นเอเป็นสารพันธุกรรม (ยกเว้น
ไวรัสบางชนิด) ความเหมือนหรือความแตกต่างของลาดับเบสในดี
เอ็นเอของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดสามารถใช้บ่งชี้ถึงความใกล้ชิดกันทาง
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตได้ กล่าวคือสิ่งมีชีวิตที่มีความใกล้ชิดกันเชิง
วิวัฒนาการจะมีความเหมือนกันของดีเอ็นเอมากกว่าสิ่งมีชีวิตกลุ่ม
อื่น และเนื่องจากโปรตีนเป็นผลิตภัณฑ์จากรหัสของดีเอ็นเอ ดังนั้น
จึงอาจใช้การศึกษาเปรียบเทียบความต่างของโปรตีนในการ
เปรียบเทียบความต่างของยีนในสิ่งมีชีวิตเพื่อศึกษาวิวัฒนาการได้
เช่นกัน
 ความต่างของลาดับเบสในไซโทโครม ซี ของมนุษย์
(human_cytc) และลิงชิมแพนซี (chimp_cytc) ซึ่งมี
เบสต่างกันเพียง 4 ตัว จาก 318 เบส หรือคิดเป็นความ
แตกต่าง 1.2% แสดงว่ามนุษย์และลิงชิมแพนซีน่าจะมี
ความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันในเชิงวิวัฒนาการ
(ไซโทโครม ซี เป็นโปรตีนตัวสาคัญที่ช่วยในการหายใจ
ระดับเซลล์ พบในไมโทคอนเดรีย
สิ่งมีชีวิต จานวนกรดอะมิโนที่แตกต่างจากคน
คน 0
ลิงรีซัส 8
หนู 27
ไก่ 45
ปลาปากกลม 125
โปรตีนแต่ละชนิดจะมีอัตราของวิวัฒนาการค่อนข้างคงที่ เช่น
 ไซโทโครม ซี จะมีอัตราการเปลี่ยนแปลงกรดอะมิโน 1 โมเลกุล
ต่อ 17 ล้านปี
 ฮีโมโกลบิน มีอัตราการเปลี่ยนแปลงกรดอะมิโน 1 โมเลกุล
ต่อ 1 พันล้านปี
(ข้อมูลจากหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม
ชีววิทยา เล่ม 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์, พ.ศ.2548,
สสวท.)
สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บนแผ่นดินใหญ่จะมีลักษณะใกล้เคียงกับสิ่งมีชีวิต
บนเกาะใกล้เคียง เช่น นกฟินช์ในหมู่เกาะกาลาปากอส มีลักษณะ
คล้ายกับนกฟินช์ที่อาศัยอยู่บนทวีปอเมริกาใต้ จึงอาจเป็นไปได้ว่า
บรรพบุรุษของนกฟินช์อาจอพยพและแพร่กระจายจากทวีปอเมริกา
ใต้มาอยู่บนเกาะ เมื่อเวลาผ่านไปก็เกิดวิวัฒนาการจนกลายเป็นนก
ฟินช์หลายสปีชีส์ หรือชะนีแถบภาคใต้ของไทย จนถึงตามเกาะชวา
สุมาตรานั้นมีความคล้ายคลึงกัน ซึ่งเหล่านี้เป็นข้อมูลสนับสนุนว่า
สมัยก่อนแผ่นดินอาจต่อเนื่องเป็นผืนเดียวกัน และแยกออกจากกัน
ในเวลาต่อมา จากตัวอย่างข้างต้น ข้อมูลทางชีวภูมิศาสตร์จึงถือ
เป็นข้อมูลสนับสนุนหนึ่งที่บ่งชี้และช่วยให้เราเข้าใจวิวัฒนาการได้
มากขึ้น
เกาะกาลาปากอสนับได้ว่าเป็นเกาะที่เต็มไปด้วยสัตว์หายาก
นับตั้งแต่ยุคดึกดาบรรพ์ และพิศวงชวนค้นหามากทีเดียวเป็น
เกาะที่เกิดขึ้นจากภูเขาไฟ มีทะเลสาบอยู่บนเกาะ คนถึงมักใช้
เกาะนี้ในการศึกษาของวิวัฒนาการสัตว์ต่างๆมากมายเกาะกาลา
ปากอสเป็นหมู่เกาะทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาใต้
ถูกค้นพบโดยนักเดินเรือชาวเสปน ในปี คศ. 1535เขาพบว่าเกาะ
เต็มไปด้วยเต่าขนาดใหญ่เต็มไปหมดชนิดที่มืดฟ้ามัวดิน เขาจึงตั้ง
ชื่อมันว่า "เกาะกาลาปากอส" ที่แปลว่า "เกาะเต่า"
The End

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1Yaovaree Nornakhum
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 

Mais procurados (20)

เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
 

Destaque

3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซมWan Ngamwongwan
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaWan Ngamwongwan
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaWan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1Wan Ngamwongwan
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5Wan Ngamwongwan
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน Wan Ngamwongwan
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดWan Ngamwongwan
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 

Destaque (18)

3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซม
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หัวใจคน
หัวใจคนหัวใจคน
หัวใจคน
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 

Semelhante a 1วิวัฒนาการ

ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทยซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทยAphichati-yas
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceteeraya
 
ไดโนเสาร
ไดโนเสาร ไดโนเสาร
ไดโนเสาร FoFour Thirawit
 
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อ
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อPresentationสื่อการสอนผีเสื้อ
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อfonrin
 
Sea animals in Thailand
 Sea animals in Thailand Sea animals in Thailand
Sea animals in Thailandnewja
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3kkrunuch
 
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุมแผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุมSircom Smarnbua
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์sirieiei
 
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อ
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อPresentationสื่อการสอนผีเสื้อ
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อfonrin
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะnative
 

Semelhante a 1วิวัฒนาการ (20)

ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทยซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
 
nam
namnam
nam
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Science
 
ไดโนเสาร
ไดโนเสาร ไดโนเสาร
ไดโนเสาร
 
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อ
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อPresentationสื่อการสอนผีเสื้อ
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อ
 
Original insect2
Original insect2Original insect2
Original insect2
 
Sea animals in Thailand
 Sea animals in Thailand Sea animals in Thailand
Sea animals in Thailand
 
53010812271
5301081227153010812271
53010812271
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
 
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุมแผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
Animalia kingdom
Animalia kingdomAnimalia kingdom
Animalia kingdom
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อ
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อPresentationสื่อการสอนผีเสื้อ
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์
 

Mais de Wan Ngamwongwan

หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบWan Ngamwongwan
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
โรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดโรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดWan Ngamwongwan
 

Mais de Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบ
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
โรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดโรคไข้หวัด
โรคไข้หวัด
 

1วิวัฒนาการ