SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 35
Baixar para ler offline
ให้ ท่านศึกษาวิธีการจัดการเรี ยนรู้ ของครู แต่ ละคนต่ อไปนี ้

    ครู บุญมี
          เป็ นครูสอนวิชาภาษาไทย ในการสอนแต่ละชัวโมงครูจะใช้ วธีการ
                                                    ่            ิ
    บรรยาย ส่วนไหนที่สาคัญก็จะเน้ นย ้าให้ นกเรี ยนจดบันทึกและท่องซ ้า
                                            ั
    หลายครัง ทุกวันครูจะให้ นกเรี ยนท่องคาศัพท์วนละ 5 คา พร้ อมทัง้
                ้              ั                  ั
    คัดลายมือมาส่ง สือที่ครูใช้ ประจาคือ บทเรี ยนโปรแกรมและชุดการสอน
                        ่
    นอกจากนี ้เมื่อเรี ยนจบแต่ละบทครูบญมีก็จะทาการสอบเก็บคะแนน
                                        ุ
    ถ้ านักเรี ยนสอบตกก็จะให้ สอบใหม่จนกว่าจะผ่านตามเกณฑ์
ครู บุญช่ วย
                เป็ นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ในการสอนแต่ละครังครูจะนาเข้ าสู่
                                                                ้
บทเรี ยนโดยเชื่อมโยงเนื ้อหาทีเ่ รี ยนกับประสบการณ์เดิมของผู้เรี ยน เช่น
การใช้ คาถาม การยกตัวอย่างเหตุการณ์ในชีวิตประจาวัน ข่าวสารต่าง ๆ
เป็ นต้ น หลักจากนันครูจะแบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุมแล้ วมอบสถานการณ์
                           ้                               ่
ปั ญหาหรื อภารกิจการเรี ยนรู้ให้ ผ้ เู รี ยนทุก ๆ กลุม นอกจากนี ้ครูยงเตรี ยม
                                                     ่                ั
แหล่งการเรี ยนรู้ตาง ๆ เช่น หนังสือ วีดิทศน์ เว็บไซต์ทเี่ กี่ยวข้ อง ฯลฯ
                         ่                    ั
เพื่อให้ ผ้ เู รี ยนค้ นหาคาตอบ และร่วมมือกันเรี ยนรู้มีการแลกเปลียนประสบการณ์
                                                                    ่
การลงมือทดลองเพื่อทดสอบแนวคิดของกลุม โดยมีครูเป็ นผู้ให้ คาแนะนา
                                                  ่
หากพบว่ามีผ้ เู รี ยนคนใดหรื อกลุมใดเข้ าคลาดเคลือนครูก็จะเข้ าไปอธิบาย
                                     ่                   ่
และกระตุ้นให้ คิด หลังจากได้ คาตอบแล้ วทุกกลุมก็จะนาเสนอแนวคิดความ
                                                       ่
และร่วมกับสรุปบทเรียนเป็ นความเข้ าใจของตนเอง
ครู บุญชู
           สามารถสอนให้ นกเรี ยนจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษได้ โดยไม่ลม
                             ั                                       ื
ซึงครูมีเทคนิคดังนี ้ การแต่งเป็ นบทเพลง การใช้ คาคล้ องจอง การใช้ แผนภูมิ
  ่
รูปภาพประกอบเนื ้อหาทีต้องการให้ ผ้ เู รี ยนเข้ าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
                          ่
องค์ประกอบ เช่น แผนผังแสดงความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว
และที่นาสนใจคือ การให้ ผ้ เู รี ยนจาคาศัพท์โดยใช้ การออกเสียงภาษาอังกฤษ
         ่
ที่เหมือนกับภาษาไทย เช่น pic กับ พริ ก และ bear กับ แบมือ พร้ อมมีรูป
ประกอบซึงเป็ นการเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมที่ผ้ เู รี ยนรู้จกมาช่วย
           ่                                              ั
ในการจดจาคาศัพท์
ภารกิจการเรี ยนรู้

    1. ให้ ทานวิเคราะห์วิธีการจัดการเรี ยนรู้ของครูแต่ละคนว่าอยูในกระบวนทัศน์
            ่                                                   ่
       การออกแบบการสอนใดและมีพื ้นฐานมาจากทฤษฎีการเรี ยนรู้ใดบ้ าง
       พร้ อมอธิบายเหตุผล
ครู บุญมี

         วิธีการจัดการเรี ยนรู้ของครูบญมีอยูในกระบวนทัศน์การออกแบบ
                                      ุ       ่
การสอนแบบเดิม คือ จะออกแบบการสอนโดยเปรี ยบผู้เรี ยนเป็ นถังหรื อ
ภาชนะที่จะต้ องเท หรื อเติมความรู้ โดยครูผ้ สอน หนังสือเรี ยน ตารา
                                            ู
และสือการสอนต่างๆ
     ่
ลักษณะของกระบวนทัศน์การออกแบบการสอนดังกล่าวนี ้มีลกษณะที่ ั
สอดคล้ องกับแนวความคิดของกลุมพฤติกรรมนิยม ที่เชื่อว่าการเรี ยนรู้จะเกิดขึ ้น
                                    ่
เมื่อผู้เรียนสร้ างความเชื่อมโยงระหว่างสิงเร้ าและการตอบสนอง ซึงถ้ าหากได้ รับ
                                             ่                       ่
การเสริ มแรงจะทาให้ มีการแสดงพฤติกรรมนันถี่มากขึ ้น ซึงจากแนวความคิด
                                                 ้          ่
ดังกล่าวนี ้บทบาทของผู้เรี ยนจึงเป็ นผู้ที่รอรับความรู้ ตลอดจนสิงเร้ าต่างๆที่จดให้
                                                                  ่            ั
ในขณะทีเ่ รี ยนรู้ เช่น รางวัล การลงโทษหรื อแม้ แต่การเสริ มแรง และนอกจากนี ้
ยังพบว่าการออกแบบการสอนของกลุมพฤติกรรมนิยมจะมุงเน้ นการออกแบบ
                                          ่                    ่
เพื่อให้ ผ้ เู รี ยนสามารถจดจาความรู้ให้ ได้ ในปริมาณมากที่สด ซึงลักษณะดังกล่าว
                                                              ุ ่
นี ้ก็ตรงกับรูปแบบการสอนของครูบญมีนนเอง
                                      ุ ั่
ครู บุญช่ วย

             วิธีการจัดการเรี ยนรู้ของครูบญช่วยอยูในกระบวนทัศน์การออกแบบ
                                          ุ         ่
การสอนแบบใหม่ คือ จะออกแบบการสอนที่มงเน้ นให้ ผ้ เู รี ยนเป็ นผู้สร้ าง
                                                 ุ่
ความรู้ โดยการสังเกต ลงมือกระทา และอธิบายความหมายของโลกรอบๆ
ตัวผู้เรี ยน
กระบวนทัศน์การออกแบบการสอนดังกล่าวนี ้ มีพื ้นฐานมาจากทฤษฎี
การเรี ยนรู้ของคอนสตรัคติวิสต์ เพราะจากลักษณะของกระบวนทัศน์การออกแบบ
การสอนดังกล่าวนี ้มีลกษณะที่สอดคล้ องกับแนวความคิดของกลุมคอนสตรัคติวิสต์
                          ั                                                ่
ที่เชื่อว่า การเรี ยนรู้จะเกิดขึ ้นเมื่อผู้เรี ยนสร้ างความรู้อย่างตื่นตัวด้ วยตนเอง โดย
พยามสร้ างความเข้ าใจนอกเหนือจากความรู้ที่ได้ รับ โดยการสร้ างสิงแทนความรู้      ่
ขึ ้นมา ซึงต้ องอาศัยการเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมของตนเอง ซึงความเชื่อ
            ่                                                                  ่
ดังกล่าวนี ้ก็มีลกษณะทีตรงตามรูปแบบการสอนของครูบญช่วย
                  ั         ่                                     ุ
ครู บุญชู

             วิธีการจัดการเรี ยนรู้ของครูบญชูอยูในกระบวนทัศน์การออกแบบ
                                          ุ     ่
การสอนแบบเดิม คือ ครูเป็ นผู้ให้ ข้อมูลทุกอย่างแก่ผ้ เู รียน โดยผู้เรี ยน
จะเป็ นผู้ที่รอรับความรู้จากครูเพียงฝ่ ายเดียว โดยครูจะเน้ นให้ ผ้ เู รี ยน
สามารถจัดเก็บความรู้ทมีอยูให้ เป็ นระบบและสามารถนาความรู้ที่มีอยู่
                           ี่ ่
มาใช้ ได้ อย่างง่าย ซึงครูจะเป็ นผู้ที่คอยบอกถึงวิธีการในการจัดเก็บข้ อมูล
                       ่
ของนักเรี ยน โดยที่นกเรี ยนไม่ได้ คิดหาวิธีเอง
                         ั
กระบวนทัศน์การออกแบบการสอนดังกล่าวนี ้ มีพื ้นฐานมาจากทฤษฎี
การเรี ยนรู้ของกลุมพุทธิปัญญา เพราะจากลักษณะของกระบวนทัศน์การออกแบบ
                    ่
การสอนดังกล่าวนี ้มีลกษณะที่สอดคล้ องกับแนวความคิดของกลุมคอนพุทธิปัญญา
                          ั                                      ่
ที่เชื่อว่า การเรี ยนรู้เป็ นสิงที่มากกว่าผลของการเชื่อมโยงระหว่างสิงเร้ าและการ
                               ่                                    ่
ตอบสนอง โดยให้ ความสนใจในกระบวนการภายในทีเ่ รี ยกว่า ความรู้ความเข้ าใจ
หรื อการรู้คิดของมนุษย์ ซึงตามแนวคิดดังกล่าวนี ้ผู้เรี ยนจึงมีบทบาทเป็ นผู้ที่รอรับ
                                 ่
สารสนเทศ ในขณะทีครูมีบทบาทเป็ นผู้ที่นาเสนอสารสนเทศ ซึ่งจะพบว่า
                            ่
บทบาทของครูและนักเรี ยนตามแนวคิดของกลุมพุทธิปัญญามีความสอดคล้ องกับ
                                                ่
บทบาทของครูและนักเรี ยนในชันเรี ยนของครูบญชู
                                     ้            ุ
ภารกิจการเรี ยนรู้

    2. วิธีการเรี ยนรู้ของครูแต่ละคนมีข้อดีและข้ อเด่นอย่างไร
ครู บุญมี


                      ข้ อเด่น                                                 ข้ อดี
   ครูสอนโดยการบรรยาย                               ทาให้ ผ้ เู รี ยนได้ รับความรู้และแนวคิดที่หลากหลาย
                                                    ก่อนที่จะสรุปเป็ นข้ อคิดหรื อทางเลือกที่เหมาะสม
   ครูเน้ นย ้าประเด็นที่สาคัญโดยการให้ ผ้ เู รี ยน ทาให้ ผ้ เู รี ยนเกิดความเข้ าใจในเนื ้อหาได้ เป็ นอย่างดี
   จดบันทึกและท่องจาซ ้าหลายครัง      ้             รวมทังทาให้ เกิดการจดจาเนื ้อหาได้ อย่างแม่นยา
                                                          ้
   ครูให้ ผ้ เู รี ยนท่องคาศัพท์วนละ 5 คา
                                  ั                 ทาให้ ผ้ เู รี ยนจดจาคาศัพท์ได้ อย่างแม่นยา รวมทังทาให้ ้
                                                    รู้จกคาศัพท์มากขึ ้นเรื่ อยๆ
                                                        ั
   ครูให้ ผ้ เู รี ยนคัดลายมือส่ง                   ทาให้ ผ้ เู รี ยนได้ ฝึกฝนการเขียน ทาให้ เกิดการพัฒนา
                                                    ลายมือไปในทางที่ดีขึ ้น
ครู บุญมี


                     ข้ อเด่น                                           ข้ อดี
    ครูใช้ บทเรี ยนโปรแกรมและชุดการสอน       ทาให้ ผ้ เู รี ยนเกิดความสนใจในการเรี ยนเป็ นอย่างดี

    ครูมีการสอบเก็บคะแนนท้ ายบทเรี ยน        ทาให้ ผ้ เู รี ยนเกิดการทบทวนความรู้ เพราะผู้เรี ยนจะต้ อง
                                             มีการอ่านหนังสือก่อนการสอบ ซึงจะทาให้ ผ้ เู รี ยนได้
                                                                                  ่
                                             ทบทวนความรู้ทงหมดที่เคยเรี ยนมา
                                                                  ั้
    ครูให้ โอกาสนักเรี ยนที่สอบตกสอบแก้ ตว
                                         ั   ทาให้ ผ้ เู รี ยนมีโอกาสที่จะแก้ ตวใหม่ และมีระดับคะแนนที่
                                                                               ั
    ใหม่จนกระทังสอบผ่าน
                 ่                           ผ่านเกณฑ์
ครู บุญช่ วย

                           ข้ อเด่น                                                         ข้ อดี
 ครูมีการเชื่อมโยงเนื ้อหาที่เรี ยนเข้ ากับประสบการณ์เดิม ทาให้ ผ้ เู รี ยนเกิดความเข้ าใจในเนื ้อหาที่เรี ยนได้ อย่าง
 ของผู้เรี ยน                                                  ลึกซึ ้ง
 ครูมีการแบ่งให้ นกเรี ยนทางานเป็ นกลุม
                  ั                        ่                   ทาให้ นกเรี ยนได้ ฝึกทักษะในการทางานเป็ นทีม ฝึ ก
                                                                          ั
                                                               ระเบียบวินยและความรับผิดชอบต่อหน้ าที่ของตัวเด็ก
                                                                               ั
                                                               ในการเป็ นกลุม ทาให้ เด็กเกิดทักษะในการทางานเป็ น
                                                                                 ่
                                                               ทีมที่ดี รวมทังทาให้ เด็กเกิดทักษะในการเข้ าสังคม
                                                                                   ้
 ครูมีการเตรี ยมแหล่งการเรี ยนรู้ต่างๆ เช่น หนังสือ            ทาให้ ผ้ เู รี ยนสามรถสืบค้ นข้ อมูลเพื่อนามาใช้ ในการ
 วีดิทศน์ เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้ องกับเนื ้อหารายที่วิชาที่เรี ยน ตอบคาถามได้ อย่างหลากหลาย
        ั
 ให้ กบผู้เรี ยน
      ั
ครู บุญช่ วย

                      ข้ อเด่ น                                                      ข้ อดี
  มีการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างครูกบผู้เรี ยน
                                   ั                   ทาให้ ผ้ เู รี ยนได้ เห็นถึงแนวความคิดที่แตกต่างและ
                                                       หลากหลาย ซึงแนวความคิดเหล่านี ้จะช่วยให้ ผ้ เู รี ยน
                                                                            ่
                                                       สามารถนาเอาไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตจริ งได้

  ครูมีการอธิบายและกระตุ้นให้ ผ้ เู รี ยนคิด หลังจาก   ทาให้ ผ้ เู รี ยนเกิดความเข้ าใจในเนื ้อหาอย่างถูกต้ อง
  พบว่าผู้เรี ยนมีความเข้ าใจที่คลาดเคลื่อน            และทาให้ ผ้ เู รี ยนสามารถคิดและหาข้ อผิดพลาดได้ ด้วย
                                                       ตัวเอง
ครู บุญชู

                     ข้ อเด่ น                                            ข้ อดี
ครูมีการแต่งคาศัพท์ภาษาอังกฤษเป็ นบทเพลง            ทาให้ นกเรี ยนเกิดความสนใจ และสามารถจดจา
                                                               ั
และมีการเรี ยงคาศัพท์โดยใช้ คาคล้ องจอง             คาศัพท์ภาษาอังกฤษได้ อย่างแม่นยา
ครูมีการใช้ แผนภูมิประกอบเนื ้อหาที่ต้องการให้      ทาให้ ผ้ เู รี ยนเข้ าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
ผู้เรี ยนเข้ าใจ                                    องค์ประกอบต่างๆของเนื ้อหาได้ เป็ นอย่างดี
ครูให้ ผ้ เู รี ยนจดจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้ การ   ทาให้ เด็กจดจาคาศัพท์ได้ ง่ายและรวดเร็ วมากขึ ้น
ออกเสียงภาษาอังกฤษที่เหมือนกับภาษาไทย
ภารกิจการเรี ยนรู้

    3. วิธีการจัดการเรี ยนรู้ของใครทีสอดคล้ องกับพระราชบัญญัติการศึกษา
                                     ่
       แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มากที่สด เพราะเหตุใด
                                       ุ
วิธีการจัดการเรี ยนรู้ของครูบญช่วยมีความสอดคล้ องกับ
                                          ุ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ. ศ. ๒๕๔๒ มากที่สด เพราะการ         ุ
จัดการเรี ยนรู้ของครูบญช่วยจะเน้ นที่ผ้ เู รี ยนเป็ นสาคัญ คือ จากวิธีการสอน
                         ุ
ของครูบญช่วยจะพบว่า ในการสอนแต่ละครังครูบญช่วยจะเชื่อมโยงเนื ้อหา
           ุ                                        ้ ุ
ให้ เข้ าประสบการณ์เดิมของผู้เรี ยน เพื่อให้ ผ้ เู รี ยนเกิดการเรี ยนรู้และเข้ าใจ
เนื ้อหาในการเรี ยนได้ อย่างชัดเจนลึกซึ ้ง ซึงถือได้ วาครูบญช่วยให้ ความสาคัญ
                                               ่        ่    ุ
กับตัวผู้เรี ยนเป็ นอย่างมาก
รวมทังครูบญช่วยยังมีการจัดกิจกรรมในชันเรียนโดยการมอบหมายให้ นกเรี ยน
       ้ ุ                                 ้                              ั
ทางานเป็ นกลุม โดยการให้ นกเรี ยนช่วยกันแก้ ปัญหาตามสถานการณ์ตางๆ
               ่                 ั                                          ่
และครูบญช่วยก็จะมีการจัดเตรียมแหล่งการเรี ยนรู้ตางๆให้ ผ้ เู รี ยน เพื่อที่ผ้ เู รี ยน
           ุ                                        ่
จะได้ ใช้ ในการค้ นคว้ าข้ อมูลมาใช้ ในการตอบคาถาม ซึงตรงนี ้ก็จะทาให้ ผ้ เู รี ยน
                                                      ่
เกิดกระบวนการเรี ยนรู้ด้วยตนเองและสามารถสรุปเป็ นองค์ความรู้ได้ ด้วยตนเอง
ซึงนับได้ วาการสอนของครูบญช่วยสร้ างประโยชน์ให้ แก่ผ้ เู รี ยนเป็ นอย่างมาก และ
   ่         ่                 ุ
นอกจากนี ้ถ้ าหากครูบญช่วยพบว่าผู้เรี ยนมีความเข้ าใจที่คลาดเคลือน ครูก็จะเข้ า
                        ุ                                          ่
ไปอธิบายและกระตุ้นให้ ผ้ เู รี ยนคิดตาม โดยที่ครูพยายามจะทาให้ ผ้ เู รี ยนค้ นหา
ข้ อผิดพลาดและค้ นพบแนวทางที่ถกต้ องด้ วยตัวของเด็กเอง ซึงการสอนเช่นนี ้ก็
                                      ู                       ่
นับได้ วามีความสอดคล้ องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ. ศ. ๒๕๔๒
        ่
ในหมวดที่ 10 มาตรา 22 และมาตรา 24 ซึงมีข้อความดังนี ้
                                              ่
มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้ องยึดหลักการว่าผู้เรี ยนทุกคนมี
ความสามารถเรี ยนรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรี ยนมีความสาคัญที่สด
                                                                      ุ
กระบวนการจัดการศึกษาต้ องส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ
และเต็มตามศักยภาพ
มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้ สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องดาเนินการ ดังต่อไปนี ้
             (1) จัดเนื ้อหาสาระและกิจกรรมให้ สอดคล้ องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดย
คานึงถึงความแตกต่างระหว่างระหว่างบุคคล
             (2) ฝึ กทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มา
ใช้ เพื่อปองกันและแก้ ไขปั ญหา
           ้
             (3) จัดกิจกรรมให้ ผ้ เู รียนได้ เรียนรู้จากประสบการณ์จริงฝึ กการปฏิบติให้ ทาได้ คิดเป็ น
                                                                                 ั
ทาเป็ น รักการอ่านและเกิดการใฝ่ รู้อย่างต่อเนื่อง
             (4) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้ สดส่วนสมดุลกัน
                                                                                        ั
รวมทังปลูกฝั งคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ ในทุกวิชา
         ้
             (5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ ผ้ สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้ อม สื่อการเรียน และ
                                           ู
อานวยความสะดวกเพื่อให้ ผ้ เู รียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทังสามารถใช้ การวิจยเป็ นส่วน
                                                                            ้                  ั
หนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทังนี ้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้ อมกัน
                                 ้
             (6) จัดการเรียนรู้ให้ เกิดขึ ้นได้ ทกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดามารดา
                                                 ุ
ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่ าย เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
ผมเป็ นครูสอนคณิตศาสตร์ มาหลายปี ขณะสอนนักเรี ยนจะได้ ยิน
คาถามเสมอว่า "อาจารย์ (ครับ/ค่ะ)...เรี ยนเรื่ องนี ้ไปทาไม เอาไปใช้ ประโยชน์
อะไรได้ บ้าง“ ก็ได้ แต่ตอบคาถามว่านาไปใช้ ในการเรี ยนต่อชันสูง และนาไป
                                                                   ้
ประยุกต์ใช้ ในวิชาวิทยาศาสตร์ ซึงบางเนื ้อหาก็มีโจทย์ปัญหาเป็ นแนวทางทาให้
                                     ่
พอรู้วาจะนาไปใช้ อะไรได้ บ้าง แต่บางเนื ้อหาก็จะได้ ยินเสียงบ่นพึมพาว่า "เรียนก็
        ่
ยาก สูตรก็เยอะไม่ร้ ูจะเรียนไปทาไม ไม่เห็นได้ นาไปใช้ เลย" ในความเป็ นจริงดิฉน         ั
คิดว่าหลักสูตรวิชาคณิตศาสตร์ ของไทยน่าจะมีการ apply ให้ มากกว่านี ้ในแต่ละ
เรื่ องทัง้ ม.ต้ น และม.ปลาย ผู้เรี ยนจะได้ ร้ ูวาถ้ าเรี ยนแล้ วสามารถนาไปใช้ ได้ จริ ง
                                                 ่
ไม่วาจะเรี ยนต่อสายสามัญหรื อสายอาชีพและเห็นความสาคัญของวิชานี ้มากขึ ้น
      ่
ภารกิจการเรี ยนรู้

    1. ให้ ทานวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ ้นว่าน่าจะมีสาเหตุมาจากอะไรบ้ าง
            ่
ความไม่ ชัดเจน
• คณิตศาสตร์ เป็ นวิชาค่อนข้ างเป็ นนามธรรม เพราะฉะนัน นักเรี ยนจึง
                                                               ้
  ไม่เข้ าใจว่าทาไม จึงต้ องเรี ยนคณิตศาสตร์ ตรงกันข้ ามกับวิชา
  วิทยาศาสตร์ ซงเป็ นวิชาที่เป็ นรูปธรรม นักเรี ยนสามารถสัมผัสกับ
                    ึ่
  ความรู้ได้ จริ ง เช่น แรงโน้ มถ่วง ระบบในร่างกาย หรื อสารเคมีตางๆ่
  เมื่อได้ เห็นในสิงที่เป็ นรูปธรรมแล้ ว จึงเป็ นการง่าย ที่จะนาความรู้
                       ่
  เหล่านันไปใช้ ประโยชน์ในลาดับต่อไป
            ้
ขาดการเชื่อมโยง

• ครูผ้ สอนเองไม่ได้ นาความรู้ที่สอนไปเชื่อมกับปั ญหาที่นกเรียนพบ ทาให้
          ู                                              ั
  ผู้เรี ยนมองไม่เห็นความเชื่อมโยงกันระหว่างคณิตศาสตร์ กบโลกที่เป็ นจริ ง
                                                           ั
  ครูผ้ สอนไม่ได้ อธิบายว่าสามารถนาความรู้ที่ได้ นนไปต่อยอดในการเรี ยนรู้
            ู                                      ั้
  ขันสูงเรื่ องใด ชันไหน จะนาคณิตศาสตร์ มาใช้ ในชีวตประจาวันได้ อย่างไร
     ้              ้                                 ิ
ภารกิจการเรี ยนรู้

    2. วิเคราะห์หาทฤษฎีการเรี ยนรู้ และการออกแบบการสอนที่สามารถ
       แก้ ปัญหาได้
เนื่องจากคณิตศาสตร์ เป็ นวิชาที่เป็ นนามธรรม วิธีการที่จะทาให้
คณิตศาสตร์ เป็ นรูปธรรมขึ ้นมาได้ นน ต้ องใช้ วิธีการที่ให้ นกเรี ยนสร้ าง
                                    ั้                       ั
ความรู้ขึ ้นมาด้ วยตัวเอง โดยอาศัยการเรียนรู้ และการออกแบบการสอน
ตามแนวคิดของกลุมคลุม คอนสตรัคติวิสต์ เพราะกระบวนการสร้ าง
                     ่ ่
การเรี ยนรู้ด้วยตนเองของนักเรี ยนนัน จะทาให้ นกเรี ยนได้ เรี ยนรู้ถง
                                       ้           ั                 ึ
กระบวนการแก้ ปัญหา และสามารถนาความรู้นน ไปแก้ ปัญหาได้ จริ ง
                                                     ั้
ในชีวตประจาวัน
     ิ
การสร้ างกระบวนการการเรี ยนรู้
                 ปั ญหาที่ก่อให้ เกิดความขัดแย้ ง
                           ทางปั ญญา


แก้ ปัญหาด้ วยตนเอง                                 แก้ ปัญหาร่วมกัน



 การปรับโครงสร้ าง                             การสร้ างโครงสร้ างใหม่



                      การสร้ างการเรียนรู้
การออกแบบการสอน

              บทบาทของครูผ้ สอน
                            ู

     ช่วยปรับโครงสร้ าง
        ทางปั ญญา


ทาให้ เกิดภาวะเสียสมดุล      ความขัดแย้ งทางปั ญญา


                โครงสร้ างปั ญญาเดิม
                      ใช้ ไม่ได้
ภารกิจการเรี ยนรู้

    3. ออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ทสามารถแก้ ปัญหาดังกล่าวได้
                                ี่
การออกแบบการเรี ยนรู้ ท่ เน้ นผู้เรี ยนเป็ นศูนย์ กลาง
                            ี

                                               ลงมือปฏิบติด้วย
                                                        ั
              เรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น                ตนเอง
                                                                     เรียนรู้จากสภาพ
                                                                          จริงและ
มีสื่อประกอบการ                                                      ประสบการณ์ตรง
       เรียนรู้                        เน้ นผู้เรี ยนเป็ น
                                          ศูนย์กลาง                       เรียนรู้อย่างมี
  แสดงออกอย่าง
     อิสระ                                                                   ความสุข

                    มีโอกาสใช้                       ตรงกับความต้ องการ
                  กระบวนการคิด                       ความสนใจ และความ
                                                            ถนัด
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวปิ ยะธิดา ประยูรพรหม         543050035-1
นางสาวลัดดาวัลย์ มานะลี            543050052-1
นางสาวไวทย์ญานี ศิริวงฆานนท์
                     ั             543050367-6
         สาขาคณิตศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
                 มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยNoppasorn Boonsena
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดวิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดKiingz Phanumas
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางKunwater Tianmongkon
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยKorakob Noi
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานการออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานAnucha Somabut
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยBlade HurthurtHurt
 
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยJo Smartscience II
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางNampeung Kero
 
วิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีวิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีOrapan Jantong
 

Mais procurados (16)

ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดวิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
Instdev
InstdevInstdev
Instdev
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานการออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
วิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีวิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณี
 

Destaque

Beautiful quotestoliveby 081126
Beautiful quotestoliveby 081126Beautiful quotestoliveby 081126
Beautiful quotestoliveby 081126jeet92
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 

Destaque (6)

Art Olympics
Art OlympicsArt Olympics
Art Olympics
 
Beautiful quotestoliveby 081126
Beautiful quotestoliveby 081126Beautiful quotestoliveby 081126
Beautiful quotestoliveby 081126
 
Lexand manual str-series_rev02_web
Lexand manual str-series_rev02_webLexand manual str-series_rev02_web
Lexand manual str-series_rev02_web
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
Fabric Fast & Furious edition
Fabric Fast & Furious editionFabric Fast & Furious edition
Fabric Fast & Furious edition
 
Presentatie ppt
Presentatie pptPresentatie ppt
Presentatie ppt
 

Semelhante a ภารกิจระดับครูผู้ช่วย

ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยArm Watcharin
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยBeeby Bicky
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยpanggoo
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยMuBenny Nuamin
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยVachii Ra
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยChaya Kunnock
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการArpaporn Mapun
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยBlade HurthurtHurt
 

Semelhante a ภารกิจระดับครูผู้ช่วย (20)

ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
 
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtgครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 

ภารกิจระดับครูผู้ช่วย

  • 1.
  • 2.
  • 3. ให้ ท่านศึกษาวิธีการจัดการเรี ยนรู้ ของครู แต่ ละคนต่ อไปนี ้ ครู บุญมี เป็ นครูสอนวิชาภาษาไทย ในการสอนแต่ละชัวโมงครูจะใช้ วธีการ ่ ิ บรรยาย ส่วนไหนที่สาคัญก็จะเน้ นย ้าให้ นกเรี ยนจดบันทึกและท่องซ ้า ั หลายครัง ทุกวันครูจะให้ นกเรี ยนท่องคาศัพท์วนละ 5 คา พร้ อมทัง้ ้ ั ั คัดลายมือมาส่ง สือที่ครูใช้ ประจาคือ บทเรี ยนโปรแกรมและชุดการสอน ่ นอกจากนี ้เมื่อเรี ยนจบแต่ละบทครูบญมีก็จะทาการสอบเก็บคะแนน ุ ถ้ านักเรี ยนสอบตกก็จะให้ สอบใหม่จนกว่าจะผ่านตามเกณฑ์
  • 4. ครู บุญช่ วย เป็ นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ในการสอนแต่ละครังครูจะนาเข้ าสู่ ้ บทเรี ยนโดยเชื่อมโยงเนื ้อหาทีเ่ รี ยนกับประสบการณ์เดิมของผู้เรี ยน เช่น การใช้ คาถาม การยกตัวอย่างเหตุการณ์ในชีวิตประจาวัน ข่าวสารต่าง ๆ เป็ นต้ น หลักจากนันครูจะแบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุมแล้ วมอบสถานการณ์ ้ ่ ปั ญหาหรื อภารกิจการเรี ยนรู้ให้ ผ้ เู รี ยนทุก ๆ กลุม นอกจากนี ้ครูยงเตรี ยม ่ ั แหล่งการเรี ยนรู้ตาง ๆ เช่น หนังสือ วีดิทศน์ เว็บไซต์ทเี่ กี่ยวข้ อง ฯลฯ ่ ั เพื่อให้ ผ้ เู รี ยนค้ นหาคาตอบ และร่วมมือกันเรี ยนรู้มีการแลกเปลียนประสบการณ์ ่ การลงมือทดลองเพื่อทดสอบแนวคิดของกลุม โดยมีครูเป็ นผู้ให้ คาแนะนา ่ หากพบว่ามีผ้ เู รี ยนคนใดหรื อกลุมใดเข้ าคลาดเคลือนครูก็จะเข้ าไปอธิบาย ่ ่ และกระตุ้นให้ คิด หลังจากได้ คาตอบแล้ วทุกกลุมก็จะนาเสนอแนวคิดความ ่ และร่วมกับสรุปบทเรียนเป็ นความเข้ าใจของตนเอง
  • 5. ครู บุญชู สามารถสอนให้ นกเรี ยนจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษได้ โดยไม่ลม ั ื ซึงครูมีเทคนิคดังนี ้ การแต่งเป็ นบทเพลง การใช้ คาคล้ องจอง การใช้ แผนภูมิ ่ รูปภาพประกอบเนื ้อหาทีต้องการให้ ผ้ เู รี ยนเข้ าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ่ องค์ประกอบ เช่น แผนผังแสดงความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว และที่นาสนใจคือ การให้ ผ้ เู รี ยนจาคาศัพท์โดยใช้ การออกเสียงภาษาอังกฤษ ่ ที่เหมือนกับภาษาไทย เช่น pic กับ พริ ก และ bear กับ แบมือ พร้ อมมีรูป ประกอบซึงเป็ นการเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมที่ผ้ เู รี ยนรู้จกมาช่วย ่ ั ในการจดจาคาศัพท์
  • 6. ภารกิจการเรี ยนรู้ 1. ให้ ทานวิเคราะห์วิธีการจัดการเรี ยนรู้ของครูแต่ละคนว่าอยูในกระบวนทัศน์ ่ ่ การออกแบบการสอนใดและมีพื ้นฐานมาจากทฤษฎีการเรี ยนรู้ใดบ้ าง พร้ อมอธิบายเหตุผล
  • 7. ครู บุญมี วิธีการจัดการเรี ยนรู้ของครูบญมีอยูในกระบวนทัศน์การออกแบบ ุ ่ การสอนแบบเดิม คือ จะออกแบบการสอนโดยเปรี ยบผู้เรี ยนเป็ นถังหรื อ ภาชนะที่จะต้ องเท หรื อเติมความรู้ โดยครูผ้ สอน หนังสือเรี ยน ตารา ู และสือการสอนต่างๆ ่
  • 8. ลักษณะของกระบวนทัศน์การออกแบบการสอนดังกล่าวนี ้มีลกษณะที่ ั สอดคล้ องกับแนวความคิดของกลุมพฤติกรรมนิยม ที่เชื่อว่าการเรี ยนรู้จะเกิดขึ ้น ่ เมื่อผู้เรียนสร้ างความเชื่อมโยงระหว่างสิงเร้ าและการตอบสนอง ซึงถ้ าหากได้ รับ ่ ่ การเสริ มแรงจะทาให้ มีการแสดงพฤติกรรมนันถี่มากขึ ้น ซึงจากแนวความคิด ้ ่ ดังกล่าวนี ้บทบาทของผู้เรี ยนจึงเป็ นผู้ที่รอรับความรู้ ตลอดจนสิงเร้ าต่างๆที่จดให้ ่ ั ในขณะทีเ่ รี ยนรู้ เช่น รางวัล การลงโทษหรื อแม้ แต่การเสริ มแรง และนอกจากนี ้ ยังพบว่าการออกแบบการสอนของกลุมพฤติกรรมนิยมจะมุงเน้ นการออกแบบ ่ ่ เพื่อให้ ผ้ เู รี ยนสามารถจดจาความรู้ให้ ได้ ในปริมาณมากที่สด ซึงลักษณะดังกล่าว ุ ่ นี ้ก็ตรงกับรูปแบบการสอนของครูบญมีนนเอง ุ ั่
  • 9. ครู บุญช่ วย วิธีการจัดการเรี ยนรู้ของครูบญช่วยอยูในกระบวนทัศน์การออกแบบ ุ ่ การสอนแบบใหม่ คือ จะออกแบบการสอนที่มงเน้ นให้ ผ้ เู รี ยนเป็ นผู้สร้ าง ุ่ ความรู้ โดยการสังเกต ลงมือกระทา และอธิบายความหมายของโลกรอบๆ ตัวผู้เรี ยน
  • 10. กระบวนทัศน์การออกแบบการสอนดังกล่าวนี ้ มีพื ้นฐานมาจากทฤษฎี การเรี ยนรู้ของคอนสตรัคติวิสต์ เพราะจากลักษณะของกระบวนทัศน์การออกแบบ การสอนดังกล่าวนี ้มีลกษณะที่สอดคล้ องกับแนวความคิดของกลุมคอนสตรัคติวิสต์ ั ่ ที่เชื่อว่า การเรี ยนรู้จะเกิดขึ ้นเมื่อผู้เรี ยนสร้ างความรู้อย่างตื่นตัวด้ วยตนเอง โดย พยามสร้ างความเข้ าใจนอกเหนือจากความรู้ที่ได้ รับ โดยการสร้ างสิงแทนความรู้ ่ ขึ ้นมา ซึงต้ องอาศัยการเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมของตนเอง ซึงความเชื่อ ่ ่ ดังกล่าวนี ้ก็มีลกษณะทีตรงตามรูปแบบการสอนของครูบญช่วย ั ่ ุ
  • 11. ครู บุญชู วิธีการจัดการเรี ยนรู้ของครูบญชูอยูในกระบวนทัศน์การออกแบบ ุ ่ การสอนแบบเดิม คือ ครูเป็ นผู้ให้ ข้อมูลทุกอย่างแก่ผ้ เู รียน โดยผู้เรี ยน จะเป็ นผู้ที่รอรับความรู้จากครูเพียงฝ่ ายเดียว โดยครูจะเน้ นให้ ผ้ เู รี ยน สามารถจัดเก็บความรู้ทมีอยูให้ เป็ นระบบและสามารถนาความรู้ที่มีอยู่ ี่ ่ มาใช้ ได้ อย่างง่าย ซึงครูจะเป็ นผู้ที่คอยบอกถึงวิธีการในการจัดเก็บข้ อมูล ่ ของนักเรี ยน โดยที่นกเรี ยนไม่ได้ คิดหาวิธีเอง ั
  • 12. กระบวนทัศน์การออกแบบการสอนดังกล่าวนี ้ มีพื ้นฐานมาจากทฤษฎี การเรี ยนรู้ของกลุมพุทธิปัญญา เพราะจากลักษณะของกระบวนทัศน์การออกแบบ ่ การสอนดังกล่าวนี ้มีลกษณะที่สอดคล้ องกับแนวความคิดของกลุมคอนพุทธิปัญญา ั ่ ที่เชื่อว่า การเรี ยนรู้เป็ นสิงที่มากกว่าผลของการเชื่อมโยงระหว่างสิงเร้ าและการ ่ ่ ตอบสนอง โดยให้ ความสนใจในกระบวนการภายในทีเ่ รี ยกว่า ความรู้ความเข้ าใจ หรื อการรู้คิดของมนุษย์ ซึงตามแนวคิดดังกล่าวนี ้ผู้เรี ยนจึงมีบทบาทเป็ นผู้ที่รอรับ ่ สารสนเทศ ในขณะทีครูมีบทบาทเป็ นผู้ที่นาเสนอสารสนเทศ ซึ่งจะพบว่า ่ บทบาทของครูและนักเรี ยนตามแนวคิดของกลุมพุทธิปัญญามีความสอดคล้ องกับ ่ บทบาทของครูและนักเรี ยนในชันเรี ยนของครูบญชู ้ ุ
  • 13. ภารกิจการเรี ยนรู้ 2. วิธีการเรี ยนรู้ของครูแต่ละคนมีข้อดีและข้ อเด่นอย่างไร
  • 14. ครู บุญมี ข้ อเด่น ข้ อดี ครูสอนโดยการบรรยาย ทาให้ ผ้ เู รี ยนได้ รับความรู้และแนวคิดที่หลากหลาย ก่อนที่จะสรุปเป็ นข้ อคิดหรื อทางเลือกที่เหมาะสม ครูเน้ นย ้าประเด็นที่สาคัญโดยการให้ ผ้ เู รี ยน ทาให้ ผ้ เู รี ยนเกิดความเข้ าใจในเนื ้อหาได้ เป็ นอย่างดี จดบันทึกและท่องจาซ ้าหลายครัง ้ รวมทังทาให้ เกิดการจดจาเนื ้อหาได้ อย่างแม่นยา ้ ครูให้ ผ้ เู รี ยนท่องคาศัพท์วนละ 5 คา ั ทาให้ ผ้ เู รี ยนจดจาคาศัพท์ได้ อย่างแม่นยา รวมทังทาให้ ้ รู้จกคาศัพท์มากขึ ้นเรื่ อยๆ ั ครูให้ ผ้ เู รี ยนคัดลายมือส่ง ทาให้ ผ้ เู รี ยนได้ ฝึกฝนการเขียน ทาให้ เกิดการพัฒนา ลายมือไปในทางที่ดีขึ ้น
  • 15. ครู บุญมี ข้ อเด่น ข้ อดี ครูใช้ บทเรี ยนโปรแกรมและชุดการสอน ทาให้ ผ้ เู รี ยนเกิดความสนใจในการเรี ยนเป็ นอย่างดี ครูมีการสอบเก็บคะแนนท้ ายบทเรี ยน ทาให้ ผ้ เู รี ยนเกิดการทบทวนความรู้ เพราะผู้เรี ยนจะต้ อง มีการอ่านหนังสือก่อนการสอบ ซึงจะทาให้ ผ้ เู รี ยนได้ ่ ทบทวนความรู้ทงหมดที่เคยเรี ยนมา ั้ ครูให้ โอกาสนักเรี ยนที่สอบตกสอบแก้ ตว ั ทาให้ ผ้ เู รี ยนมีโอกาสที่จะแก้ ตวใหม่ และมีระดับคะแนนที่ ั ใหม่จนกระทังสอบผ่าน ่ ผ่านเกณฑ์
  • 16. ครู บุญช่ วย ข้ อเด่น ข้ อดี ครูมีการเชื่อมโยงเนื ้อหาที่เรี ยนเข้ ากับประสบการณ์เดิม ทาให้ ผ้ เู รี ยนเกิดความเข้ าใจในเนื ้อหาที่เรี ยนได้ อย่าง ของผู้เรี ยน ลึกซึ ้ง ครูมีการแบ่งให้ นกเรี ยนทางานเป็ นกลุม ั ่ ทาให้ นกเรี ยนได้ ฝึกทักษะในการทางานเป็ นทีม ฝึ ก ั ระเบียบวินยและความรับผิดชอบต่อหน้ าที่ของตัวเด็ก ั ในการเป็ นกลุม ทาให้ เด็กเกิดทักษะในการทางานเป็ น ่ ทีมที่ดี รวมทังทาให้ เด็กเกิดทักษะในการเข้ าสังคม ้ ครูมีการเตรี ยมแหล่งการเรี ยนรู้ต่างๆ เช่น หนังสือ ทาให้ ผ้ เู รี ยนสามรถสืบค้ นข้ อมูลเพื่อนามาใช้ ในการ วีดิทศน์ เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้ องกับเนื ้อหารายที่วิชาที่เรี ยน ตอบคาถามได้ อย่างหลากหลาย ั ให้ กบผู้เรี ยน ั
  • 17. ครู บุญช่ วย ข้ อเด่ น ข้ อดี มีการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างครูกบผู้เรี ยน ั ทาให้ ผ้ เู รี ยนได้ เห็นถึงแนวความคิดที่แตกต่างและ หลากหลาย ซึงแนวความคิดเหล่านี ้จะช่วยให้ ผ้ เู รี ยน ่ สามารถนาเอาไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตจริ งได้ ครูมีการอธิบายและกระตุ้นให้ ผ้ เู รี ยนคิด หลังจาก ทาให้ ผ้ เู รี ยนเกิดความเข้ าใจในเนื ้อหาอย่างถูกต้ อง พบว่าผู้เรี ยนมีความเข้ าใจที่คลาดเคลื่อน และทาให้ ผ้ เู รี ยนสามารถคิดและหาข้ อผิดพลาดได้ ด้วย ตัวเอง
  • 18. ครู บุญชู ข้ อเด่ น ข้ อดี ครูมีการแต่งคาศัพท์ภาษาอังกฤษเป็ นบทเพลง ทาให้ นกเรี ยนเกิดความสนใจ และสามารถจดจา ั และมีการเรี ยงคาศัพท์โดยใช้ คาคล้ องจอง คาศัพท์ภาษาอังกฤษได้ อย่างแม่นยา ครูมีการใช้ แผนภูมิประกอบเนื ้อหาที่ต้องการให้ ทาให้ ผ้ เู รี ยนเข้ าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้เรี ยนเข้ าใจ องค์ประกอบต่างๆของเนื ้อหาได้ เป็ นอย่างดี ครูให้ ผ้ เู รี ยนจดจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้ การ ทาให้ เด็กจดจาคาศัพท์ได้ ง่ายและรวดเร็ วมากขึ ้น ออกเสียงภาษาอังกฤษที่เหมือนกับภาษาไทย
  • 19. ภารกิจการเรี ยนรู้ 3. วิธีการจัดการเรี ยนรู้ของใครทีสอดคล้ องกับพระราชบัญญัติการศึกษา ่ แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มากที่สด เพราะเหตุใด ุ
  • 20. วิธีการจัดการเรี ยนรู้ของครูบญช่วยมีความสอดคล้ องกับ ุ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ. ศ. ๒๕๔๒ มากที่สด เพราะการ ุ จัดการเรี ยนรู้ของครูบญช่วยจะเน้ นที่ผ้ เู รี ยนเป็ นสาคัญ คือ จากวิธีการสอน ุ ของครูบญช่วยจะพบว่า ในการสอนแต่ละครังครูบญช่วยจะเชื่อมโยงเนื ้อหา ุ ้ ุ ให้ เข้ าประสบการณ์เดิมของผู้เรี ยน เพื่อให้ ผ้ เู รี ยนเกิดการเรี ยนรู้และเข้ าใจ เนื ้อหาในการเรี ยนได้ อย่างชัดเจนลึกซึ ้ง ซึงถือได้ วาครูบญช่วยให้ ความสาคัญ ่ ่ ุ กับตัวผู้เรี ยนเป็ นอย่างมาก
  • 21. รวมทังครูบญช่วยยังมีการจัดกิจกรรมในชันเรียนโดยการมอบหมายให้ นกเรี ยน ้ ุ ้ ั ทางานเป็ นกลุม โดยการให้ นกเรี ยนช่วยกันแก้ ปัญหาตามสถานการณ์ตางๆ ่ ั ่ และครูบญช่วยก็จะมีการจัดเตรียมแหล่งการเรี ยนรู้ตางๆให้ ผ้ เู รี ยน เพื่อที่ผ้ เู รี ยน ุ ่ จะได้ ใช้ ในการค้ นคว้ าข้ อมูลมาใช้ ในการตอบคาถาม ซึงตรงนี ้ก็จะทาให้ ผ้ เู รี ยน ่ เกิดกระบวนการเรี ยนรู้ด้วยตนเองและสามารถสรุปเป็ นองค์ความรู้ได้ ด้วยตนเอง ซึงนับได้ วาการสอนของครูบญช่วยสร้ างประโยชน์ให้ แก่ผ้ เู รี ยนเป็ นอย่างมาก และ ่ ่ ุ นอกจากนี ้ถ้ าหากครูบญช่วยพบว่าผู้เรี ยนมีความเข้ าใจที่คลาดเคลือน ครูก็จะเข้ า ุ ่ ไปอธิบายและกระตุ้นให้ ผ้ เู รี ยนคิดตาม โดยที่ครูพยายามจะทาให้ ผ้ เู รี ยนค้ นหา ข้ อผิดพลาดและค้ นพบแนวทางที่ถกต้ องด้ วยตัวของเด็กเอง ซึงการสอนเช่นนี ้ก็ ู ่ นับได้ วามีความสอดคล้ องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ. ศ. ๒๕๔๒ ่ ในหมวดที่ 10 มาตรา 22 และมาตรา 24 ซึงมีข้อความดังนี ้ ่
  • 22. มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้ องยึดหลักการว่าผู้เรี ยนทุกคนมี ความสามารถเรี ยนรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรี ยนมีความสาคัญที่สด ุ กระบวนการจัดการศึกษาต้ องส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ
  • 23. มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้ สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องดาเนินการ ดังต่อไปนี ้ (1) จัดเนื ้อหาสาระและกิจกรรมให้ สอดคล้ องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดย คานึงถึงความแตกต่างระหว่างระหว่างบุคคล (2) ฝึ กทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มา ใช้ เพื่อปองกันและแก้ ไขปั ญหา ้ (3) จัดกิจกรรมให้ ผ้ เู รียนได้ เรียนรู้จากประสบการณ์จริงฝึ กการปฏิบติให้ ทาได้ คิดเป็ น ั ทาเป็ น รักการอ่านและเกิดการใฝ่ รู้อย่างต่อเนื่อง (4) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้ สดส่วนสมดุลกัน ั รวมทังปลูกฝั งคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ ในทุกวิชา ้ (5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ ผ้ สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้ อม สื่อการเรียน และ ู อานวยความสะดวกเพื่อให้ ผ้ เู รียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทังสามารถใช้ การวิจยเป็ นส่วน ้ ั หนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทังนี ้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้ อมกัน ้ (6) จัดการเรียนรู้ให้ เกิดขึ ้นได้ ทกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดามารดา ุ ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่ าย เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
  • 24.
  • 25. ผมเป็ นครูสอนคณิตศาสตร์ มาหลายปี ขณะสอนนักเรี ยนจะได้ ยิน คาถามเสมอว่า "อาจารย์ (ครับ/ค่ะ)...เรี ยนเรื่ องนี ้ไปทาไม เอาไปใช้ ประโยชน์ อะไรได้ บ้าง“ ก็ได้ แต่ตอบคาถามว่านาไปใช้ ในการเรี ยนต่อชันสูง และนาไป ้ ประยุกต์ใช้ ในวิชาวิทยาศาสตร์ ซึงบางเนื ้อหาก็มีโจทย์ปัญหาเป็ นแนวทางทาให้ ่ พอรู้วาจะนาไปใช้ อะไรได้ บ้าง แต่บางเนื ้อหาก็จะได้ ยินเสียงบ่นพึมพาว่า "เรียนก็ ่ ยาก สูตรก็เยอะไม่ร้ ูจะเรียนไปทาไม ไม่เห็นได้ นาไปใช้ เลย" ในความเป็ นจริงดิฉน ั คิดว่าหลักสูตรวิชาคณิตศาสตร์ ของไทยน่าจะมีการ apply ให้ มากกว่านี ้ในแต่ละ เรื่ องทัง้ ม.ต้ น และม.ปลาย ผู้เรี ยนจะได้ ร้ ูวาถ้ าเรี ยนแล้ วสามารถนาไปใช้ ได้ จริ ง ่ ไม่วาจะเรี ยนต่อสายสามัญหรื อสายอาชีพและเห็นความสาคัญของวิชานี ้มากขึ ้น ่
  • 26. ภารกิจการเรี ยนรู้ 1. ให้ ทานวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ ้นว่าน่าจะมีสาเหตุมาจากอะไรบ้ าง ่
  • 27. ความไม่ ชัดเจน • คณิตศาสตร์ เป็ นวิชาค่อนข้ างเป็ นนามธรรม เพราะฉะนัน นักเรี ยนจึง ้ ไม่เข้ าใจว่าทาไม จึงต้ องเรี ยนคณิตศาสตร์ ตรงกันข้ ามกับวิชา วิทยาศาสตร์ ซงเป็ นวิชาที่เป็ นรูปธรรม นักเรี ยนสามารถสัมผัสกับ ึ่ ความรู้ได้ จริ ง เช่น แรงโน้ มถ่วง ระบบในร่างกาย หรื อสารเคมีตางๆ่ เมื่อได้ เห็นในสิงที่เป็ นรูปธรรมแล้ ว จึงเป็ นการง่าย ที่จะนาความรู้ ่ เหล่านันไปใช้ ประโยชน์ในลาดับต่อไป ้
  • 28. ขาดการเชื่อมโยง • ครูผ้ สอนเองไม่ได้ นาความรู้ที่สอนไปเชื่อมกับปั ญหาที่นกเรียนพบ ทาให้ ู ั ผู้เรี ยนมองไม่เห็นความเชื่อมโยงกันระหว่างคณิตศาสตร์ กบโลกที่เป็ นจริ ง ั ครูผ้ สอนไม่ได้ อธิบายว่าสามารถนาความรู้ที่ได้ นนไปต่อยอดในการเรี ยนรู้ ู ั้ ขันสูงเรื่ องใด ชันไหน จะนาคณิตศาสตร์ มาใช้ ในชีวตประจาวันได้ อย่างไร ้ ้ ิ
  • 29. ภารกิจการเรี ยนรู้ 2. วิเคราะห์หาทฤษฎีการเรี ยนรู้ และการออกแบบการสอนที่สามารถ แก้ ปัญหาได้
  • 30. เนื่องจากคณิตศาสตร์ เป็ นวิชาที่เป็ นนามธรรม วิธีการที่จะทาให้ คณิตศาสตร์ เป็ นรูปธรรมขึ ้นมาได้ นน ต้ องใช้ วิธีการที่ให้ นกเรี ยนสร้ าง ั้ ั ความรู้ขึ ้นมาด้ วยตัวเอง โดยอาศัยการเรียนรู้ และการออกแบบการสอน ตามแนวคิดของกลุมคลุม คอนสตรัคติวิสต์ เพราะกระบวนการสร้ าง ่ ่ การเรี ยนรู้ด้วยตนเองของนักเรี ยนนัน จะทาให้ นกเรี ยนได้ เรี ยนรู้ถง ้ ั ึ กระบวนการแก้ ปัญหา และสามารถนาความรู้นน ไปแก้ ปัญหาได้ จริ ง ั้ ในชีวตประจาวัน ิ
  • 31. การสร้ างกระบวนการการเรี ยนรู้ ปั ญหาที่ก่อให้ เกิดความขัดแย้ ง ทางปั ญญา แก้ ปัญหาด้ วยตนเอง แก้ ปัญหาร่วมกัน การปรับโครงสร้ าง การสร้ างโครงสร้ างใหม่ การสร้ างการเรียนรู้
  • 32. การออกแบบการสอน บทบาทของครูผ้ สอน ู ช่วยปรับโครงสร้ าง ทางปั ญญา ทาให้ เกิดภาวะเสียสมดุล ความขัดแย้ งทางปั ญญา โครงสร้ างปั ญญาเดิม ใช้ ไม่ได้
  • 33. ภารกิจการเรี ยนรู้ 3. ออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ทสามารถแก้ ปัญหาดังกล่าวได้ ี่
  • 34. การออกแบบการเรี ยนรู้ ท่ เน้ นผู้เรี ยนเป็ นศูนย์ กลาง ี ลงมือปฏิบติด้วย ั เรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น ตนเอง เรียนรู้จากสภาพ จริงและ มีสื่อประกอบการ ประสบการณ์ตรง เรียนรู้ เน้ นผู้เรี ยนเป็ น ศูนย์กลาง เรียนรู้อย่างมี แสดงออกอย่าง อิสระ ความสุข มีโอกาสใช้ ตรงกับความต้ องการ กระบวนการคิด ความสนใจ และความ ถนัด
  • 35. สมาชิกในกลุ่ม นางสาวปิ ยะธิดา ประยูรพรหม 543050035-1 นางสาวลัดดาวัลย์ มานะลี 543050052-1 นางสาวไวทย์ญานี ศิริวงฆานนท์ ั 543050367-6 สาขาคณิตศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น