SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 10
Baixar para ler offline
1. ที่มาและความสําคัญ
สังคมทุกสังคมตางมีระเบียบ ธรรมเนียมแบบแผน และบรรทัดฐาน
ความประพฤติไวเปนแนวทางปฏิบัติสําหรับสมาชิกของตน ขณะเดียวกัน
เมื่อสมาชิกคนใดไมปฏิบัติตามกฎ กติกาที่สังคมกําหนดไว สังคมอาจใชอํานาจ
ควบคุมสังคมของตน (social sanction) จัดการความขัดแยงที่เกิดขึ้นไดใน
ระดับหนึ่ง หรืออาจใช “รัฐ” ที่สังคมมอบอํานาจใหเปนผูดําเนินการใชอํานาจ
ควบคุมสังคมแบบเปนทางการ (formal social sanction) แทน เนื่องจากรัฐ
มีศักยภาพความพรอม และมีกลไกรองรับคือ “กฎหมาย” เปนเครื่องมือที่สําคัญ
ยิ่งในการระบุวาพฤติกรรมใดเปนการกระทําความผิดตามกฎหมายที่รัฐกําหนด
อันเปนพฤติกรรมที่ไมพึงปรารถนาของรัฐและสังคม รวมทั้งไดรับอํานาจหนาที่
ที่จะนําบทบังคับโทษ และมาตรการแทนโทษรูปแบบตาง ๆ ตามที่กําหนดไว
ในกฎหมายมาทําการตอบโต ตอตาน บังคับ ควบคุม หรือปฏิบัติตอผูกระทําการ
ลวงละเมิดกฎเกณฑของสังคมเหลานั้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูกระทําผิด
เกิดความหลาบจําไมกระทําผิดอีก เพื่อไมใหเปนเยี่ยงอยางแกผูอื่นในสังคม
ทําใหเกิดการชดใชเยียวยาแกเหยื่ออาชญากรรมหรือผูเสียหาย และเพื่อปกปอง
คุมครองสิทธิของคนสวนใหญที่รักษากฎเกณฑเหลานั้นไปพรอม ๆ กัน ซึ่งชุด
กลไกของสังคมที่รับผิดชอบตอการบังคับใชกฎหมายนี้คือ กระบวนการยุติธรรม
ในสังคม หรือหากจะจัดกระบวนการยุติธรรมเขาไวในโครงสรางสังคม กลไก
สําคัญสวนนี้ก็ไดรับการกําหนดใหเปนสถาบันทางสังคมสถาบันหนึ่ง รูจักกัน
ในนาม “กระบวนการยุติธรรมหรือกระบวนการยุติธรรมหลัก” (criminal
บทนํา
2
ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือก : แนวการวิเคราะหเชิงสังคมศาสตรรร
justice) “กระบวนการยุติธรรมเชิงสถาบัน” (institutional criminal justice)
บางเรียกวา “กระบวนการยุติธรรมกระแสหลัก” (mainstream criminal
justice)
นับเนื่องจาก ค.ศ. 1970 เปนตนมา สังคมเกิดกระแสแนวคิดเชิงวิพากษ
และตั้งคําถามตอกระบวนการยุติธรรมหลัก โดยเริ่มตนขึ้นในสังคมตะวันตก และ
แพรกระจายสูสังคมตะวันออกที่ใชกระบวนการยุติธรรมรูปแบบซึ่งไดรับอิทธิพล
จากตะวันตกตั้งแตสมัยหลังยุคลาอาณานิคม วากระบวนการยุติธรรมรูปแบบนี้
สามารถทาบทับอธิบายความยุติธรรมไดมากนอยเพียงใด ผูคนที่มีความไมเทา
เทียมกันในสังคมจะสามารถเขาถึงความยุติธรรม และใชบริการจากกระบวนการ
ยุติธรรมไดอยางเสมอภาคเปนธรรมหรือไม นอกจากนี้การที่กระบวนการ
ยุติธรรมที่มีลักษณะดึงคดีความเขาสูระบบใชระยะเวลานาน และเนนการจํากัด
อิสรภาพคน จะตองระดมสรรพทรัพยากรเพื่อใหสามารถรองรับปริมาณคดีที่เพิ่ม
สูงขึ้นตามกระแสการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรมมากนอยเพียงใด ฯลฯ
คําถามเหลานี้เปนปจจัยเรงประการหนึ่งที่ทําใหเกิดการคิดคนแสวงหาชอง
ทางออกหรือแนวทางการแกไขปญหาคดีความลนกระบวนการยุติธรรมที่ตั้งรับ
อยูปลายทางของปญหาสังคมทุกรูปแบบ แนวทางดังกลาวพัฒนาไปในทิศทาง
ที่มีการถกเถียงทางวิชาการระดับนานาชาติอยางกวางขวาง และไดขอสรุปวา
ควรแกไขปญหาในรูปของ การหันเหคดี (diversion) รวมทั้งการนํา ยุติธรรม
ทางเลือก (alternative to justice) มาใช ซึ่งยุติธรรมทางเลือกรวมสมัยที่
สําคัญ ๆ ไดแก ยุติธรรมชุมชน (community justice) และ ยุติธรรมเชิง
สมานฉันท (restorative justice) ซึ่งไมอาจปฏิเสธไดวาการใชกระบวนการ
ยุติธรรมทางเลือกเหลานี้ สวนหนึ่งนั้นไดรับอิทธิพลจากแนวคิดเชิงสังคมศาสตร
แนววิพากษ แนวหลังสมัยใหม และแนวสันติวิธี ที่พยายามตั้งคําถาม วิพากษ
และเสนอแนะการคืนความเปนมนุษย (humanization) เขาสูระบบยุติธรรม
ในสังคมใหมากยิ่งขึ้นกวาเดิมที่อธิบายผลผลิตของการอํานวยความยุติธรรมใน
บทที่ 1 บทนํา
3
า
รูปของคดีความ สํานวนคดี และจํานวนผูกระทําผิดกฎหมายที่มีความถี่และ
ความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น
ปรากฏการณการเคลื่อนยายแนวคิดและแนวทางการอํานวยความ
ยุติธรรมจากที่ใหความสําคัญแกรัฐในการจัดการความขัดแยงผานทาง
กระบวนการยุติธรรมกระแสหลักไปสูการใหบทบาทความสําคัญแกชุมชน
เพื่อทําหนาที่จัดการความขัดแยงบางลักษณะเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งมี
การทบทวนรื้อฟนรูปแบบและแนวทางการอํานวยความยุติธรรมดั้งเดิม
กอนที่จะใชกระบวนการยุติธรรมหลักเชนที่เปนอยู โดยนํารูปแบบตาง ๆ มา
ประยุกตในฐานะระบบยุติธรรมทางเลือกดังกลาวนี้ เปนปรากฏการณที่
นักวิชาการดานอาชญาวิทยาและงานยุติธรรมสนใจศึกษาวิจัยอยางมาก เพราะ
การเปลี่ยนแปลงระบบ รูปแบบ วิธีการอํานวยความยุติธรรมในสังคมไปจาก
“กระแสหลัก” ที่ครอบครองวิธีคิดวิธีปฏิบัติของคนในสังคมมาเปนเวลา
ยาวนานกวา 5 ศตวรรษนั้น ยอมมีเหตุปจจัยและมีความสัมพันธเชื่อมโยง
กับแนวคิดตลอดจนกลไกทางสังคมที่หลากหลาย ซึ่งในชั้นนี้ผูวิจัยสนใจ
ที่จะศึกษาโดยใชแนวการวิเคราะหเชิงสังคมศาสตรเพื่ออธิบายวา ลักษณะ
การเปลี่ยนแปลงของกระบวนการยุติธรรมกระแสหลักในสังคมเปนอยางไร
และการเกิดขึ้นของกระบวนการยุติธรรมทางเลือกดังกลาวในสังคมโลกซึ่ง
สงอิทธิพลตอเนื่องถึงสังคมไทยรวมสมัยอยูในขณะนี้ไดรับอิทธิพลจากกลุม
แนวคิดสังคมศาสตรสมัยใหมใดบางและอยางไร รวมทั้งนวัตกรรมยุติธรรม
ทางเลือกรวมสมัยที่สําคัญ ๆ มีลักษณะอยางไร โดยองคความรูดังกลาวจะ
เปนประโยชนตอการพัฒนานโยบายอาญาและการยุติธรรมของประเทศ
รวมทั้งพัฒนาองคความรูดานสังคมวิทยา อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม
กฎหมาย และรัฐศาสตร ตลอดจนสามารถใชเปนแหลงศึกษาคนควาอางอิงทาง
วิชาการที่เชื่อถือไดตอไป
4
ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือก : แนวการวิเคราะหเชิงสังคมศาสตรรร
อนึ่ง การศึกษาระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือกโดยใชแนว
การวิเคราะหเชิงสังคมศาสตรครั้งนี้จึงเปนการเปลี่ยนมุมมองในการศึกษา
งานดานการยุติธรรมในสังคมไทยไปจากเดิมที่ผูกโยงและใหความสําคัญกับ
นิติศาสตรเปนหลักในการศึกษาเพียงศาสตรเดียว เนื่องจากการใชแนว
การวิเคราะหเชิงสังคมศาสตรครั้งนี้มีลักษณะสําคัญ คือ 1) มีลักษณะเปน
พฤติกรรมศาสตร (behavioural science) ที่มุงศึกษาพฤติกรรมทางสังคม
โดยใชทฤษฎีอาชญากรรมและการควบคุมสังคมอธิบายพฤติกรรมทางสังคม
วาดวยการกระทําผิดกฎหมายและการจัดการตอพฤติกรรมการกระทําผิด
ดวยกระบวนการยุติธรรมในฐานะสถาบันหลักที่ทําหนาที่ควบคุมสังคม 2) มี
ลักษณะเปนการอธิบายความหมายความเขาใจโลกผสมผสานกับการตีความ
(interpretivist) จากมุมมองที่แตกตางออกไปตามนัยของนักสังคมวิทยา
ในเรื่องอาชญากรรมและงานยุติธรรมวาผูคนในสังคมที่มีกรอบบรรทัดฐาน
และอยูภายใตกฎหมายเดียวกันกลายมาเปนผูฝาฝนกฎหมาย กระทําความผิด
และเขาสูกระบวนการยุติธรรมไดอยางไร ใครบางที่เขาขายมีแนวโนมที่จะ
กลายเปนอาชญากรในอนาคต ทั้งนี้เพื่อชี้ใหเห็นวาอาชญากรรมและกระบวนการ
ยุติธรรมมีลักษณะเปนพลวัตผันแปรไปตามการเปลี่ยนแปลงของภูมิภาคและ
สังคมโลก รวมทั้งบริบททางประวัติศาสตรและวัฒนธรรม ไมใชมีลักษณะ
หยุดนิ่งอยูกับที่ ขณะที่บรรทัดฐานทางสังคมโดยเฉพาะกฎหมายมีลักษณะ
คงที่ ความลาชาในการปรับตัวของกฎหมายที่ไมสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลง
ทางสังคมเปนอยางไร และกอใหเกิดผลกระทบอยางไร และ 3) มีลักษณะเปน
การเปรียบเทียบเชิงสังคมวิทยากฎหมาย (Sociology of Law Comparation)
คือ การจําแนกและเรียนรูจากกฎเกณฑ แนวคิด และแนวทางปฏิบัติที่เรียกวา
กระบวนการยุติธรรม จากขอบเขตอํานาจของกฎหมายหรือชุดกฎเกณฑทาง
สังคมกระแสหลักและกระแสทางเลือกที่แตกตางออกไป
บทที่ 1 บทนํา
5
า
2. ขอบเขตและวิธีการ
หนังสือเลมนี้มุงอธิบายลักษณะการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการยุติธรรม
กระแสหลักในสังคม ความสัมพันธระหวางรัฐ กฎหมาย กระบวนการยุติธรรม
และสังคม และการเกิดขึ้นของกระบวนการยุติธรรมทางเลือกในสังคมรวมสมัย
โดยใชแนวการวิเคราะหทางสังคมศาสตรเปนสําคัญ ซึ่งจะอธิบายประเด็น
กฎหมายเทาที่เกี่ยวของจําเปน และเนนกระบวนการยุติธรรมทางอาญาเปน
สําคัญ โดยทําการศึกษาวิจัยจากตําราและเอกสารตาง ๆ (documentary
research) ประกอบการวิเคราะหอธิบายปรากฏการณทางสังคมและตีความ
ขอมูลพรอมนําเสนอตัวอยางประกอบ โดยใชแนวการวิเคราะหเชิงสังคมศาสตร
ครั้งนี้ใชทฤษฎีโครงสรางหนาที่ (structural-functional theory) ทฤษฎีพันธะ
ทางสังคม (social bonding theory) แนวคิดอาชญาวิทยาแนววิพากษ
(critical criminology) แนวคิดอาชญาวิทยาแนวหลังสมัยใหม (postmodern
criminology) และแนวคิดอาชญาวิทยาแนวสันติวิธี (peacekeeping
criminology) เปนสําคัญ ทั้งนี้แนวคิดทฤษฎีที่ใชประกอบการอธิบายประเด็น
ที่เกี่ยวของจะปรากฏอยูในบทตาง ๆ
3. การจัดเรียงบท
เพื่อใหผูศึกษาเขาใจแนวคิดพื้นฐานตาง ๆ เกี่ยวกับระบบยุติธรรมวา
มีลักษณะอยางไร และในชวงเวลาสําคัญ ๆ ที่ผานมาระบบยุติธรรมบนเสนทาง
แหงการเปลี่ยนแปลงมีลักษณะอยางไร อะไรเปนเหตุปจจัยใหเกิดการ
เปลี่ยนแปลง และในชวงเวลาเปลี่ยนผานดังกลาว ระบบยุติธรรมทางเลือกได
ถือกําเนิดขึ้นมาอยางไร มีแนวคิดทฤษฎีใดสนับสนุน รวมทั้งมีหลักการสําคัญ
และรูปแบบวิธีการทํางานอยางไร จึงไดจัดเรียงบทเปนกลุมตาง ๆ เพื่อรวมกัน
อธิบายประเด็นหลัก หรือตอบคําถามสําคัญ ๆ 3 กลุมดวยกันดังนี้
6
ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือก : แนวการวิเคราะหเชิงสังคมศาสตรรร
3.1 การอธิบายลักษณะการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการ
ยุติธรรมกระแสหลักในสังคม ประกอบดวยบทที่ 2 กระบวนการยุติธรรม :
หลักการและแนวคิด กลาวถึงแนวคิดและตัวแบบตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับ
กระบวนการยุติธรรมในสังคม รวมทั้งหลักการสําคัญ ๆ ที่เปนฐานคติ
ใหกระบวนการยุติธรรมดํารงอยูในสังคมทั้งแนวคิดเรื่องความยุติธรรม แนวคิด
การควบคุมสังคม กฎหมายกับสังคม กระบวนการยุติธรรมกับสังคม หลักการ
และระบบการดําเนินคดีอาญา ลวนเปนฐานคติสําคัญตามหลักปรัชญา
หลักสังคมวิทยา และหลักกฎหมายที่รวมกันใชอธิบายลักษณะของความยุติธรรม
และกระบวนการยุติธรรมที่สังคมใชเปนกลไกเขาถึงความยุติธรรมที่ผูกโยง
ความสัมพันธระหวางรัฐกับกฎหมาย และสังคมเขาดวยกันอยางเปนระบบ
บทที่ 3 วาดวยกระบวนการยุติธรรมกระแสหลัก กลาวถึงลักษณะ
ของกระบวนการยุติธรรมกระแสหลักในมิติกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ระบบ
งานยุติธรรมทางอาญา และองคการยุติธรรมทางอาญา ซึ่งขึ้นกับฐานคติที่ใชใน
การวิเคราะหอธิบายกระบวนการยุติธรรม นอกจากนี้ไดอธิบายถึงองคประกอบ
ของระบบงานยุติธรรมทางอาญา บทบาทและอํานาจหนาที่ของหนวยงาน
สําคัญ ๆ ในระบบงานยุติธรรมไทย การบริหารงานยุติธรรม การดําเนิน
กระบวนการยุติธรรมทางอาญาในสังคมไทย เริ่มตั้งแตการสอบสวนคดีอาญา
การฟองคดีอาญา การบังคับใหเปนไปตามคําพิพากษา ทนายความกับ
การดําเนินคดีอาญา ลวนเปนแบบแผนตามธรรมเนียมปฏิบัติของกระบวนการ
ยุติธรรมกระแสหลักทั้งสิ้น อยางไรก็ตาม การดําเนินคดีอาญาตามระบบยุติธรรม
กระแสหลักนี้จําเปนตองมีการคุมครองสิทธิของประชาชนในกระบวนการ
ยุติธรรม และการใหความชวยเหลือเยียวยาในคดีอาญาทั้งแกผูถูกกลาวหา
และผูเสียหายประกอบกัน เพื่อใหเกิดความเทาเทียมกันของทุกฝายกอนเขา
สูการดําเนินกระบวนการยุติธรรมตามแนวคิดกระแสหลักนี้ตอไปจนสิ้นสุด
กระบวนการ
บทที่ 1 บทนํา
7
า
บทที่ 4 สืบคนภูมิหลังและจุดเปลี่ยนของระบบยุติธรรมไทย กลาวถึง
ความสัมพันธระหวางระบบงานยุติธรรมและกฎหมายมีพัฒนาการรวมกัน
ผานชวงเวลาและยุคสมัยตางๆ ของสังคมไทยตั้งแตครั้งกรุงสุโขทัยจนกระทั่ง
ปจจุบัน
บทที่ 5 พัฒนาการความสัมพันธของกระบวนการยุติธรรมกับรัฐ
และสังคมไทย กลาวถึงพัฒนาการความสัมพันธ 2 ยุคสมัย โดยชวงแรก เปน
ยุคของรัฐโบราณกับสังคมและกระบวนการยุติธรรม ที่ใชกฎหมายตามแนว
คัมภีรพระธรรมศาสตรตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัยถึงชวงเวลากอนปฏิรูประบบกฎหมาย
และศาลยุติธรรม ในสมัยรัชกาลที่ 5 แหงกรุงรัตนโกสินทร และชวงที่ 2 เปน
ยุคของรัฐชาติกับสังคมและกระบวนการยุติธรรม ตามแนวกฎหมายตะวันตก
ของ John Austin ชาวอังกฤษ เริ่มตั้งแตสมัยหลังปฏิรูประบบกฎหมายและ
ศาลยุติธรรม ในสมัยรัชกาลที่ 5 ถึงปจจุบัน
3.2 การอธิบายการเกิดขึ้นของกระบวนการยุติธรรมทางเลือก
ในสังคมโลกและสังคมไทย ประกอบดวยบทที่ 6 วิกฤติกระบวนการยุติธรรม
กระแสหลักในสังคมไทย กลาวถึงปญหาของกระบวนการยุติธรรมรวมสมัย
ซึ่งมิใชปญหาที่เกิดขึ้นใหม ไดแก ปญหาการเปลี่ยนผานของกระบวนทัศน
การยุติธรรม ปญหาดานกฎหมาย ปญหาดานการบังคับใชกฎหมาย ปญหาดาน
การบริหารงานยุติธรรม ปญหาดานบุคลากรยุติธรรม แตบางปญหาก็เปน
เรื่องที่เพิ่งจะปรากฏใหเห็น ไดแก ปญหาการเปลี่ยนแปลงทิศทางและแนวโนม
อาชญากรรมในสังคมจากอาชญากรรมพื้นฐานสูองคกรอาชญากรรม และปญหา
ดานสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรม ซึ่งมีกรณีศึกษาตาง ๆ เกิดขึ้น
ในประเทศไทยในชวงทศวรรษรวมสมัยนี้
บทที่ 7 ยุติธรรมทางเลือก : หลักการและความสําคัญ กลาวถึงการ
ที่กระบวนการยุติธรรมทางเลือกหวนกลับมาสูความนิยมของสังคมโลกและ
8
ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือก : แนวการวิเคราะหเชิงสังคมศาสตรรร
สังคมไทยอีกครั้งนั้นไดกระตุนใหวงการวิชาการมีการทบทวนองคความรูดาน
แนวคิด ทฤษฎี และการทํางานของกระบวนการยุติธรรมทางเลือกใหมี
ความชัดเจนยิ่งขึ้น ขณะที่ทางปฏิบัติไดมีการนําแนวคิดนี้ไปปรับใชดวย
การกําหนดมาตรการและดําเนินกิจกรรมรูปแบบตางๆ ในระยะตอมา ทั้งในดาน
การคุมครองสิทธิเสรีภาพ ใหความเปนธรรมทางสังคม แกไขปญหาความขัดแยง
แกคูกรณี และปองกันแกไขปญหาอาชญากรรม
3.3 การศึกษาแนวคิดและหลักการของนวัตกรรมยุติธรรมทาง
เลือกรวมสมัยรูปแบบสําคัญๆ และอธิบายความสัมพันธระหวางยุติธรรม
ทางเลือกกับกระบวนการยุติธรรมกระแสหลัก ประกอบดวย
บทที่ 8 ยุติธรรมเชิงสมานฉันท (Restorative Justice) กลาวถึง
การคงอยูและการลมสลายของแนวคิดที่สนับสนุนใหผูกระทําผิดชดใชคาเสียหาย
แกผูเสียหายในสังคมโลกที่มีลักษณะเปลี่ยนแปลงไปในแตละยุคสมัย อยางไร
ก็ตาม ในศตวรรษที่ผานมา ทั้ง ๆ ที่ความสนใจสังคมมุงปฏิรูปการลงโทษผูกระทํา
ผิดไปสูวิธีการที่มีมนุษยธรรมมากขึ้น คือปรับจากวิธีการแกแคนทดแทน
(retribution) เปนการแกไขฟนฟู (rehabilitation) ในทางตรงกันขาม การให
ความสําคัญและดูแลเอาใจใสผูเสียหายและการมีสวนรวมของชุมชนในการแกไข
ปญหาอาชญากรรมกลับลดลง จนกระทั่งคริสตทศวรรษที่ 1970 เปนตนมา
กรอบทรรศนะดังกลาวเริ่มมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอีกครั้ง คือกลับไปสู
การใหความสําคัญแกผูเสียหายและชุมชน
บทที่ 9 ยุติธรรมชุมชน (Community Justice) กลาวถึงการรื้อฟน
แนวคิดยุติธรรมชุมชนกลับมาใชในสังคมไทยอีกครั้ง นับเปนกาวยางสําคัญ
สําหรับการปฏิรูประบบงานยุติธรรมไทยบนเสนทางแหงการเปลี่ยนแปลงที่
เล็งเห็นคุณคาของพลังเครือขายชุมชน เห็นความสําคัญของการเปดพื้นที่ชุมชน
เพื่ออํานวยความยุติธรรมแกกันและกัน รวมทั้งนํายุติธรรมเชิงจารีตตาม
บทที่ 1 บทนํา
9
า
ธรรมเนียมประเพณีที่เคยใชไดผลในการประสานสัมพันธภาพทางสังคมของ
คนในชุมชนเขาดวยกันเชนในอดีตที่ผานมา และที่สําคัญยุติธรรมชุมชนจะ
เปนระบบยุติธรรมแหงอนาคตที่ไดรับการออกแบบใหมีความเขมแข็งดวยพลัง
เครือขายความสัมพันธของสมาชิกชุมชนทุกกลุมทุกระดับเพื่อรองรับกระแส
โลกาภิวัตนที่เปลี่ยนแปลงสังคมโลกดวยเทคโนโลยีและระบบขอมูลขาวสาร
ซึ่งทําใหรัฐเล็กลงจนอาจมีอํานาจควบคุมชุมชนไดนอยลงทุกขณะ
บทที่ 10 บทวิเคราะหกระบวนการยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือก
กับสังคมไทย กลาวถึงลักษณะการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการยุติธรรมกระแส
หลักในสังคม การเกิดขึ้นของกระบวนการยุติธรรมทางเลือกในสังคมโลก
และสังคมไทย ความสัมพันธของนวัตกรรมยุติธรรมทางเลือกรวมสมัย ไดแก
ยุติธรรมเชิงสมานฉันทและยุติธรรมชุมชนกับกระบวนการยุติธรรมกระแส
หลัก ตลอดจนการนํายุติธรรมทางเลือกมาแกไขปญหาบางประการของ
กระบวนการยุติธรรมกระแสหลักเพื่ออํานวยความยุติธรรมตามกฎหมาย ทําให
เกิดความเปนธรรมทางสังคม (social justice) และทําหนาที่ในการคุมครอง
ปองกันสังคมใหปลอดภัยจากอาชญากรรมและการกระทําผิดตาง ๆ เปนสําคัญ
อนึ่ง องคความรูที่ไดจากการศึกษาวิเคราะหและอธิบายดังกลาวจะ
เปนประโยชนตอวงการสังคมวิทยา อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม และ
สังคมไทย ซึ่งทําใหเขาใจพัฒนาการความสัมพันธระหวางผูแสดงสําคัญ ๆ ที่เปน
ผูทรงอํานาจตางชวงเวลาที่มีตอกันและตอกระบวนการยุติธรรมไทย ตลอดจน
สามารถใชองคความรูดังกลาวเปนแหลงศึกษาคนควาอางอิงทางวิชาการที่
เชื่อถือไดตอไป
10
ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือก : แนวการวิเคราะหเชิงสังคมศาสตรรร

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a 9789740331186

ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมpajaree_musikapong
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)pajaree_musikapong
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมpajaree_musikapong
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2Andy Hung
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2AJ Por
 
Power point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองPower point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองbunchai
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรDental Faculty,Phayao University.
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมthnaporn999
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
เรื่องสถาบันทางสังคม
เรื่องสถาบันทางสังคมเรื่องสถาบันทางสังคม
เรื่องสถาบันทางสังคมnaowarat-acr
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายbilly ratchadamri
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2AJ Por
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมbilly ratchadamri
 

Semelhante a 9789740331186 (20)

ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
Power point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองPower point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมือง
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
Law and SocialNetwork
Law and SocialNetworkLaw and SocialNetwork
Law and SocialNetwork
 
เรื่องสถาบันทางสังคม
เรื่องสถาบันทางสังคมเรื่องสถาบันทางสังคม
เรื่องสถาบันทางสังคม
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
 
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไปหลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม
 

Mais de CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

Mais de CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740331186

  • 1. 1. ที่มาและความสําคัญ สังคมทุกสังคมตางมีระเบียบ ธรรมเนียมแบบแผน และบรรทัดฐาน ความประพฤติไวเปนแนวทางปฏิบัติสําหรับสมาชิกของตน ขณะเดียวกัน เมื่อสมาชิกคนใดไมปฏิบัติตามกฎ กติกาที่สังคมกําหนดไว สังคมอาจใชอํานาจ ควบคุมสังคมของตน (social sanction) จัดการความขัดแยงที่เกิดขึ้นไดใน ระดับหนึ่ง หรืออาจใช “รัฐ” ที่สังคมมอบอํานาจใหเปนผูดําเนินการใชอํานาจ ควบคุมสังคมแบบเปนทางการ (formal social sanction) แทน เนื่องจากรัฐ มีศักยภาพความพรอม และมีกลไกรองรับคือ “กฎหมาย” เปนเครื่องมือที่สําคัญ ยิ่งในการระบุวาพฤติกรรมใดเปนการกระทําความผิดตามกฎหมายที่รัฐกําหนด อันเปนพฤติกรรมที่ไมพึงปรารถนาของรัฐและสังคม รวมทั้งไดรับอํานาจหนาที่ ที่จะนําบทบังคับโทษ และมาตรการแทนโทษรูปแบบตาง ๆ ตามที่กําหนดไว ในกฎหมายมาทําการตอบโต ตอตาน บังคับ ควบคุม หรือปฏิบัติตอผูกระทําการ ลวงละเมิดกฎเกณฑของสังคมเหลานั้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูกระทําผิด เกิดความหลาบจําไมกระทําผิดอีก เพื่อไมใหเปนเยี่ยงอยางแกผูอื่นในสังคม ทําใหเกิดการชดใชเยียวยาแกเหยื่ออาชญากรรมหรือผูเสียหาย และเพื่อปกปอง คุมครองสิทธิของคนสวนใหญที่รักษากฎเกณฑเหลานั้นไปพรอม ๆ กัน ซึ่งชุด กลไกของสังคมที่รับผิดชอบตอการบังคับใชกฎหมายนี้คือ กระบวนการยุติธรรม ในสังคม หรือหากจะจัดกระบวนการยุติธรรมเขาไวในโครงสรางสังคม กลไก สําคัญสวนนี้ก็ไดรับการกําหนดใหเปนสถาบันทางสังคมสถาบันหนึ่ง รูจักกัน ในนาม “กระบวนการยุติธรรมหรือกระบวนการยุติธรรมหลัก” (criminal บทนํา
  • 2. 2 ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือก : แนวการวิเคราะหเชิงสังคมศาสตรรร justice) “กระบวนการยุติธรรมเชิงสถาบัน” (institutional criminal justice) บางเรียกวา “กระบวนการยุติธรรมกระแสหลัก” (mainstream criminal justice) นับเนื่องจาก ค.ศ. 1970 เปนตนมา สังคมเกิดกระแสแนวคิดเชิงวิพากษ และตั้งคําถามตอกระบวนการยุติธรรมหลัก โดยเริ่มตนขึ้นในสังคมตะวันตก และ แพรกระจายสูสังคมตะวันออกที่ใชกระบวนการยุติธรรมรูปแบบซึ่งไดรับอิทธิพล จากตะวันตกตั้งแตสมัยหลังยุคลาอาณานิคม วากระบวนการยุติธรรมรูปแบบนี้ สามารถทาบทับอธิบายความยุติธรรมไดมากนอยเพียงใด ผูคนที่มีความไมเทา เทียมกันในสังคมจะสามารถเขาถึงความยุติธรรม และใชบริการจากกระบวนการ ยุติธรรมไดอยางเสมอภาคเปนธรรมหรือไม นอกจากนี้การที่กระบวนการ ยุติธรรมที่มีลักษณะดึงคดีความเขาสูระบบใชระยะเวลานาน และเนนการจํากัด อิสรภาพคน จะตองระดมสรรพทรัพยากรเพื่อใหสามารถรองรับปริมาณคดีที่เพิ่ม สูงขึ้นตามกระแสการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรมมากนอยเพียงใด ฯลฯ คําถามเหลานี้เปนปจจัยเรงประการหนึ่งที่ทําใหเกิดการคิดคนแสวงหาชอง ทางออกหรือแนวทางการแกไขปญหาคดีความลนกระบวนการยุติธรรมที่ตั้งรับ อยูปลายทางของปญหาสังคมทุกรูปแบบ แนวทางดังกลาวพัฒนาไปในทิศทาง ที่มีการถกเถียงทางวิชาการระดับนานาชาติอยางกวางขวาง และไดขอสรุปวา ควรแกไขปญหาในรูปของ การหันเหคดี (diversion) รวมทั้งการนํา ยุติธรรม ทางเลือก (alternative to justice) มาใช ซึ่งยุติธรรมทางเลือกรวมสมัยที่ สําคัญ ๆ ไดแก ยุติธรรมชุมชน (community justice) และ ยุติธรรมเชิง สมานฉันท (restorative justice) ซึ่งไมอาจปฏิเสธไดวาการใชกระบวนการ ยุติธรรมทางเลือกเหลานี้ สวนหนึ่งนั้นไดรับอิทธิพลจากแนวคิดเชิงสังคมศาสตร แนววิพากษ แนวหลังสมัยใหม และแนวสันติวิธี ที่พยายามตั้งคําถาม วิพากษ และเสนอแนะการคืนความเปนมนุษย (humanization) เขาสูระบบยุติธรรม ในสังคมใหมากยิ่งขึ้นกวาเดิมที่อธิบายผลผลิตของการอํานวยความยุติธรรมใน
  • 3. บทที่ 1 บทนํา 3 า รูปของคดีความ สํานวนคดี และจํานวนผูกระทําผิดกฎหมายที่มีความถี่และ ความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ปรากฏการณการเคลื่อนยายแนวคิดและแนวทางการอํานวยความ ยุติธรรมจากที่ใหความสําคัญแกรัฐในการจัดการความขัดแยงผานทาง กระบวนการยุติธรรมกระแสหลักไปสูการใหบทบาทความสําคัญแกชุมชน เพื่อทําหนาที่จัดการความขัดแยงบางลักษณะเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งมี การทบทวนรื้อฟนรูปแบบและแนวทางการอํานวยความยุติธรรมดั้งเดิม กอนที่จะใชกระบวนการยุติธรรมหลักเชนที่เปนอยู โดยนํารูปแบบตาง ๆ มา ประยุกตในฐานะระบบยุติธรรมทางเลือกดังกลาวนี้ เปนปรากฏการณที่ นักวิชาการดานอาชญาวิทยาและงานยุติธรรมสนใจศึกษาวิจัยอยางมาก เพราะ การเปลี่ยนแปลงระบบ รูปแบบ วิธีการอํานวยความยุติธรรมในสังคมไปจาก “กระแสหลัก” ที่ครอบครองวิธีคิดวิธีปฏิบัติของคนในสังคมมาเปนเวลา ยาวนานกวา 5 ศตวรรษนั้น ยอมมีเหตุปจจัยและมีความสัมพันธเชื่อมโยง กับแนวคิดตลอดจนกลไกทางสังคมที่หลากหลาย ซึ่งในชั้นนี้ผูวิจัยสนใจ ที่จะศึกษาโดยใชแนวการวิเคราะหเชิงสังคมศาสตรเพื่ออธิบายวา ลักษณะ การเปลี่ยนแปลงของกระบวนการยุติธรรมกระแสหลักในสังคมเปนอยางไร และการเกิดขึ้นของกระบวนการยุติธรรมทางเลือกดังกลาวในสังคมโลกซึ่ง สงอิทธิพลตอเนื่องถึงสังคมไทยรวมสมัยอยูในขณะนี้ไดรับอิทธิพลจากกลุม แนวคิดสังคมศาสตรสมัยใหมใดบางและอยางไร รวมทั้งนวัตกรรมยุติธรรม ทางเลือกรวมสมัยที่สําคัญ ๆ มีลักษณะอยางไร โดยองคความรูดังกลาวจะ เปนประโยชนตอการพัฒนานโยบายอาญาและการยุติธรรมของประเทศ รวมทั้งพัฒนาองคความรูดานสังคมวิทยา อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม กฎหมาย และรัฐศาสตร ตลอดจนสามารถใชเปนแหลงศึกษาคนควาอางอิงทาง วิชาการที่เชื่อถือไดตอไป
  • 4. 4 ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือก : แนวการวิเคราะหเชิงสังคมศาสตรรร อนึ่ง การศึกษาระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือกโดยใชแนว การวิเคราะหเชิงสังคมศาสตรครั้งนี้จึงเปนการเปลี่ยนมุมมองในการศึกษา งานดานการยุติธรรมในสังคมไทยไปจากเดิมที่ผูกโยงและใหความสําคัญกับ นิติศาสตรเปนหลักในการศึกษาเพียงศาสตรเดียว เนื่องจากการใชแนว การวิเคราะหเชิงสังคมศาสตรครั้งนี้มีลักษณะสําคัญ คือ 1) มีลักษณะเปน พฤติกรรมศาสตร (behavioural science) ที่มุงศึกษาพฤติกรรมทางสังคม โดยใชทฤษฎีอาชญากรรมและการควบคุมสังคมอธิบายพฤติกรรมทางสังคม วาดวยการกระทําผิดกฎหมายและการจัดการตอพฤติกรรมการกระทําผิด ดวยกระบวนการยุติธรรมในฐานะสถาบันหลักที่ทําหนาที่ควบคุมสังคม 2) มี ลักษณะเปนการอธิบายความหมายความเขาใจโลกผสมผสานกับการตีความ (interpretivist) จากมุมมองที่แตกตางออกไปตามนัยของนักสังคมวิทยา ในเรื่องอาชญากรรมและงานยุติธรรมวาผูคนในสังคมที่มีกรอบบรรทัดฐาน และอยูภายใตกฎหมายเดียวกันกลายมาเปนผูฝาฝนกฎหมาย กระทําความผิด และเขาสูกระบวนการยุติธรรมไดอยางไร ใครบางที่เขาขายมีแนวโนมที่จะ กลายเปนอาชญากรในอนาคต ทั้งนี้เพื่อชี้ใหเห็นวาอาชญากรรมและกระบวนการ ยุติธรรมมีลักษณะเปนพลวัตผันแปรไปตามการเปลี่ยนแปลงของภูมิภาคและ สังคมโลก รวมทั้งบริบททางประวัติศาสตรและวัฒนธรรม ไมใชมีลักษณะ หยุดนิ่งอยูกับที่ ขณะที่บรรทัดฐานทางสังคมโดยเฉพาะกฎหมายมีลักษณะ คงที่ ความลาชาในการปรับตัวของกฎหมายที่ไมสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลง ทางสังคมเปนอยางไร และกอใหเกิดผลกระทบอยางไร และ 3) มีลักษณะเปน การเปรียบเทียบเชิงสังคมวิทยากฎหมาย (Sociology of Law Comparation) คือ การจําแนกและเรียนรูจากกฎเกณฑ แนวคิด และแนวทางปฏิบัติที่เรียกวา กระบวนการยุติธรรม จากขอบเขตอํานาจของกฎหมายหรือชุดกฎเกณฑทาง สังคมกระแสหลักและกระแสทางเลือกที่แตกตางออกไป
  • 5. บทที่ 1 บทนํา 5 า 2. ขอบเขตและวิธีการ หนังสือเลมนี้มุงอธิบายลักษณะการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการยุติธรรม กระแสหลักในสังคม ความสัมพันธระหวางรัฐ กฎหมาย กระบวนการยุติธรรม และสังคม และการเกิดขึ้นของกระบวนการยุติธรรมทางเลือกในสังคมรวมสมัย โดยใชแนวการวิเคราะหทางสังคมศาสตรเปนสําคัญ ซึ่งจะอธิบายประเด็น กฎหมายเทาที่เกี่ยวของจําเปน และเนนกระบวนการยุติธรรมทางอาญาเปน สําคัญ โดยทําการศึกษาวิจัยจากตําราและเอกสารตาง ๆ (documentary research) ประกอบการวิเคราะหอธิบายปรากฏการณทางสังคมและตีความ ขอมูลพรอมนําเสนอตัวอยางประกอบ โดยใชแนวการวิเคราะหเชิงสังคมศาสตร ครั้งนี้ใชทฤษฎีโครงสรางหนาที่ (structural-functional theory) ทฤษฎีพันธะ ทางสังคม (social bonding theory) แนวคิดอาชญาวิทยาแนววิพากษ (critical criminology) แนวคิดอาชญาวิทยาแนวหลังสมัยใหม (postmodern criminology) และแนวคิดอาชญาวิทยาแนวสันติวิธี (peacekeeping criminology) เปนสําคัญ ทั้งนี้แนวคิดทฤษฎีที่ใชประกอบการอธิบายประเด็น ที่เกี่ยวของจะปรากฏอยูในบทตาง ๆ 3. การจัดเรียงบท เพื่อใหผูศึกษาเขาใจแนวคิดพื้นฐานตาง ๆ เกี่ยวกับระบบยุติธรรมวา มีลักษณะอยางไร และในชวงเวลาสําคัญ ๆ ที่ผานมาระบบยุติธรรมบนเสนทาง แหงการเปลี่ยนแปลงมีลักษณะอยางไร อะไรเปนเหตุปจจัยใหเกิดการ เปลี่ยนแปลง และในชวงเวลาเปลี่ยนผานดังกลาว ระบบยุติธรรมทางเลือกได ถือกําเนิดขึ้นมาอยางไร มีแนวคิดทฤษฎีใดสนับสนุน รวมทั้งมีหลักการสําคัญ และรูปแบบวิธีการทํางานอยางไร จึงไดจัดเรียงบทเปนกลุมตาง ๆ เพื่อรวมกัน อธิบายประเด็นหลัก หรือตอบคําถามสําคัญ ๆ 3 กลุมดวยกันดังนี้
  • 6. 6 ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือก : แนวการวิเคราะหเชิงสังคมศาสตรรร 3.1 การอธิบายลักษณะการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการ ยุติธรรมกระแสหลักในสังคม ประกอบดวยบทที่ 2 กระบวนการยุติธรรม : หลักการและแนวคิด กลาวถึงแนวคิดและตัวแบบตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับ กระบวนการยุติธรรมในสังคม รวมทั้งหลักการสําคัญ ๆ ที่เปนฐานคติ ใหกระบวนการยุติธรรมดํารงอยูในสังคมทั้งแนวคิดเรื่องความยุติธรรม แนวคิด การควบคุมสังคม กฎหมายกับสังคม กระบวนการยุติธรรมกับสังคม หลักการ และระบบการดําเนินคดีอาญา ลวนเปนฐานคติสําคัญตามหลักปรัชญา หลักสังคมวิทยา และหลักกฎหมายที่รวมกันใชอธิบายลักษณะของความยุติธรรม และกระบวนการยุติธรรมที่สังคมใชเปนกลไกเขาถึงความยุติธรรมที่ผูกโยง ความสัมพันธระหวางรัฐกับกฎหมาย และสังคมเขาดวยกันอยางเปนระบบ บทที่ 3 วาดวยกระบวนการยุติธรรมกระแสหลัก กลาวถึงลักษณะ ของกระบวนการยุติธรรมกระแสหลักในมิติกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ระบบ งานยุติธรรมทางอาญา และองคการยุติธรรมทางอาญา ซึ่งขึ้นกับฐานคติที่ใชใน การวิเคราะหอธิบายกระบวนการยุติธรรม นอกจากนี้ไดอธิบายถึงองคประกอบ ของระบบงานยุติธรรมทางอาญา บทบาทและอํานาจหนาที่ของหนวยงาน สําคัญ ๆ ในระบบงานยุติธรรมไทย การบริหารงานยุติธรรม การดําเนิน กระบวนการยุติธรรมทางอาญาในสังคมไทย เริ่มตั้งแตการสอบสวนคดีอาญา การฟองคดีอาญา การบังคับใหเปนไปตามคําพิพากษา ทนายความกับ การดําเนินคดีอาญา ลวนเปนแบบแผนตามธรรมเนียมปฏิบัติของกระบวนการ ยุติธรรมกระแสหลักทั้งสิ้น อยางไรก็ตาม การดําเนินคดีอาญาตามระบบยุติธรรม กระแสหลักนี้จําเปนตองมีการคุมครองสิทธิของประชาชนในกระบวนการ ยุติธรรม และการใหความชวยเหลือเยียวยาในคดีอาญาทั้งแกผูถูกกลาวหา และผูเสียหายประกอบกัน เพื่อใหเกิดความเทาเทียมกันของทุกฝายกอนเขา สูการดําเนินกระบวนการยุติธรรมตามแนวคิดกระแสหลักนี้ตอไปจนสิ้นสุด กระบวนการ
  • 7. บทที่ 1 บทนํา 7 า บทที่ 4 สืบคนภูมิหลังและจุดเปลี่ยนของระบบยุติธรรมไทย กลาวถึง ความสัมพันธระหวางระบบงานยุติธรรมและกฎหมายมีพัฒนาการรวมกัน ผานชวงเวลาและยุคสมัยตางๆ ของสังคมไทยตั้งแตครั้งกรุงสุโขทัยจนกระทั่ง ปจจุบัน บทที่ 5 พัฒนาการความสัมพันธของกระบวนการยุติธรรมกับรัฐ และสังคมไทย กลาวถึงพัฒนาการความสัมพันธ 2 ยุคสมัย โดยชวงแรก เปน ยุคของรัฐโบราณกับสังคมและกระบวนการยุติธรรม ที่ใชกฎหมายตามแนว คัมภีรพระธรรมศาสตรตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัยถึงชวงเวลากอนปฏิรูประบบกฎหมาย และศาลยุติธรรม ในสมัยรัชกาลที่ 5 แหงกรุงรัตนโกสินทร และชวงที่ 2 เปน ยุคของรัฐชาติกับสังคมและกระบวนการยุติธรรม ตามแนวกฎหมายตะวันตก ของ John Austin ชาวอังกฤษ เริ่มตั้งแตสมัยหลังปฏิรูประบบกฎหมายและ ศาลยุติธรรม ในสมัยรัชกาลที่ 5 ถึงปจจุบัน 3.2 การอธิบายการเกิดขึ้นของกระบวนการยุติธรรมทางเลือก ในสังคมโลกและสังคมไทย ประกอบดวยบทที่ 6 วิกฤติกระบวนการยุติธรรม กระแสหลักในสังคมไทย กลาวถึงปญหาของกระบวนการยุติธรรมรวมสมัย ซึ่งมิใชปญหาที่เกิดขึ้นใหม ไดแก ปญหาการเปลี่ยนผานของกระบวนทัศน การยุติธรรม ปญหาดานกฎหมาย ปญหาดานการบังคับใชกฎหมาย ปญหาดาน การบริหารงานยุติธรรม ปญหาดานบุคลากรยุติธรรม แตบางปญหาก็เปน เรื่องที่เพิ่งจะปรากฏใหเห็น ไดแก ปญหาการเปลี่ยนแปลงทิศทางและแนวโนม อาชญากรรมในสังคมจากอาชญากรรมพื้นฐานสูองคกรอาชญากรรม และปญหา ดานสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรม ซึ่งมีกรณีศึกษาตาง ๆ เกิดขึ้น ในประเทศไทยในชวงทศวรรษรวมสมัยนี้ บทที่ 7 ยุติธรรมทางเลือก : หลักการและความสําคัญ กลาวถึงการ ที่กระบวนการยุติธรรมทางเลือกหวนกลับมาสูความนิยมของสังคมโลกและ
  • 8. 8 ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือก : แนวการวิเคราะหเชิงสังคมศาสตรรร สังคมไทยอีกครั้งนั้นไดกระตุนใหวงการวิชาการมีการทบทวนองคความรูดาน แนวคิด ทฤษฎี และการทํางานของกระบวนการยุติธรรมทางเลือกใหมี ความชัดเจนยิ่งขึ้น ขณะที่ทางปฏิบัติไดมีการนําแนวคิดนี้ไปปรับใชดวย การกําหนดมาตรการและดําเนินกิจกรรมรูปแบบตางๆ ในระยะตอมา ทั้งในดาน การคุมครองสิทธิเสรีภาพ ใหความเปนธรรมทางสังคม แกไขปญหาความขัดแยง แกคูกรณี และปองกันแกไขปญหาอาชญากรรม 3.3 การศึกษาแนวคิดและหลักการของนวัตกรรมยุติธรรมทาง เลือกรวมสมัยรูปแบบสําคัญๆ และอธิบายความสัมพันธระหวางยุติธรรม ทางเลือกกับกระบวนการยุติธรรมกระแสหลัก ประกอบดวย บทที่ 8 ยุติธรรมเชิงสมานฉันท (Restorative Justice) กลาวถึง การคงอยูและการลมสลายของแนวคิดที่สนับสนุนใหผูกระทําผิดชดใชคาเสียหาย แกผูเสียหายในสังคมโลกที่มีลักษณะเปลี่ยนแปลงไปในแตละยุคสมัย อยางไร ก็ตาม ในศตวรรษที่ผานมา ทั้ง ๆ ที่ความสนใจสังคมมุงปฏิรูปการลงโทษผูกระทํา ผิดไปสูวิธีการที่มีมนุษยธรรมมากขึ้น คือปรับจากวิธีการแกแคนทดแทน (retribution) เปนการแกไขฟนฟู (rehabilitation) ในทางตรงกันขาม การให ความสําคัญและดูแลเอาใจใสผูเสียหายและการมีสวนรวมของชุมชนในการแกไข ปญหาอาชญากรรมกลับลดลง จนกระทั่งคริสตทศวรรษที่ 1970 เปนตนมา กรอบทรรศนะดังกลาวเริ่มมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอีกครั้ง คือกลับไปสู การใหความสําคัญแกผูเสียหายและชุมชน บทที่ 9 ยุติธรรมชุมชน (Community Justice) กลาวถึงการรื้อฟน แนวคิดยุติธรรมชุมชนกลับมาใชในสังคมไทยอีกครั้ง นับเปนกาวยางสําคัญ สําหรับการปฏิรูประบบงานยุติธรรมไทยบนเสนทางแหงการเปลี่ยนแปลงที่ เล็งเห็นคุณคาของพลังเครือขายชุมชน เห็นความสําคัญของการเปดพื้นที่ชุมชน เพื่ออํานวยความยุติธรรมแกกันและกัน รวมทั้งนํายุติธรรมเชิงจารีตตาม
  • 9. บทที่ 1 บทนํา 9 า ธรรมเนียมประเพณีที่เคยใชไดผลในการประสานสัมพันธภาพทางสังคมของ คนในชุมชนเขาดวยกันเชนในอดีตที่ผานมา และที่สําคัญยุติธรรมชุมชนจะ เปนระบบยุติธรรมแหงอนาคตที่ไดรับการออกแบบใหมีความเขมแข็งดวยพลัง เครือขายความสัมพันธของสมาชิกชุมชนทุกกลุมทุกระดับเพื่อรองรับกระแส โลกาภิวัตนที่เปลี่ยนแปลงสังคมโลกดวยเทคโนโลยีและระบบขอมูลขาวสาร ซึ่งทําใหรัฐเล็กลงจนอาจมีอํานาจควบคุมชุมชนไดนอยลงทุกขณะ บทที่ 10 บทวิเคราะหกระบวนการยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือก กับสังคมไทย กลาวถึงลักษณะการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการยุติธรรมกระแส หลักในสังคม การเกิดขึ้นของกระบวนการยุติธรรมทางเลือกในสังคมโลก และสังคมไทย ความสัมพันธของนวัตกรรมยุติธรรมทางเลือกรวมสมัย ไดแก ยุติธรรมเชิงสมานฉันทและยุติธรรมชุมชนกับกระบวนการยุติธรรมกระแส หลัก ตลอดจนการนํายุติธรรมทางเลือกมาแกไขปญหาบางประการของ กระบวนการยุติธรรมกระแสหลักเพื่ออํานวยความยุติธรรมตามกฎหมาย ทําให เกิดความเปนธรรมทางสังคม (social justice) และทําหนาที่ในการคุมครอง ปองกันสังคมใหปลอดภัยจากอาชญากรรมและการกระทําผิดตาง ๆ เปนสําคัญ อนึ่ง องคความรูที่ไดจากการศึกษาวิเคราะหและอธิบายดังกลาวจะ เปนประโยชนตอวงการสังคมวิทยา อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม และ สังคมไทย ซึ่งทําใหเขาใจพัฒนาการความสัมพันธระหวางผูแสดงสําคัญ ๆ ที่เปน ผูทรงอํานาจตางชวงเวลาที่มีตอกันและตอกระบวนการยุติธรรมไทย ตลอดจน สามารถใชองคความรูดังกลาวเปนแหลงศึกษาคนควาอางอิงทางวิชาการที่ เชื่อถือไดตอไป