SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
บทที่ 1 :              การจัดการความรู การสรางความรู

และการสรางนวัตกรรม ความสัมพันธที่ไมควรมองขาม



           เมื่อไดยินคําวา นวัตกรรม คนสวนใหญมักจะนึกถึงการสราง
เทคโนโลยีใหม ๆ การสรางผลิตภัณฑหรือสินคารูปแบบใหม ซึ่งโดย
สวนมากนวัตกรรมเหลานั้นจะเนน ไปในเชิง ธุ รกิจ การคา การตลาด
เนื่องจากการเกิดนวัตกรรมในยุคแรก ๆ เกิดจากการที่ภาคธุรกิจมีการ
แขงขันกันสูง องคกรหรือบริษัทตาง ๆ ตองพยายามหาสิ่งใหม ๆ เขา
มาดึง ดูดแรงซื้อจากลูกคาเพื่อใหไดเปรียบในการแขง ขัน และความ
มั่งคั่งใหกับบริษัทไดอยางยั่งยืน และนวัตกรรมยังเปนสิ่งที่ผลักดันให
สินคาหรือผลิตภัณฑนั้นเติบโตในระยะยาว องคกรหรือบริษัทเหลานั้น
จึงจําเปนที่จะตองหาวิธีการในการสรางนวัตกรรมของตนเองขึ้นมาเพื่อ
สร า งโอกาสทางธุ ร กิ จ และถื อ ได ว า นวั ต กรรมเป น จุ ด แข็ ง ในการ
ได เ ปรี ย บคู แ ข ง จากกลุ ม ธุ ร กิ จ เดี ย วกั น ดั ง นั้ น วิ ธี ก ารที่ จ ะเข า มา
สนับสนุนการสรางนวัตกรรมขององคกรตาง ๆ จึงมีหลายวิธีการ การ
จัดการความรูเปน วิธีการหนึ่ง ที่ จะไดม าซึ่ง นวัต กรรม เนื่องจากการ
จัดการความรูเปนกระบวนการสําคัญที่ชวยใหนวัตกรรมเกิดขึ้นโดยมี
กระบวนการ วิ ธีก าร องค ป ระกอบที่ เ ข า มามี ส วนเกี่ ย วข อ งหลาย
ประเด็นซึ่งจะไดกลาวในรายละเอียดตอไป


การจัดการความรู การสรางความรู และการสรางนวัตกรรม ความสัมพันธที่ไมควรมองขาม         3
ไมเพียงแตภาคธุรกิจ นวัตกรรมยังกาวเขาไปมีสวนสําคัญใน
ทุกภาคสวน ทั้งภาคเอกชน ภาครัฐ หรือแมแตในวงการศึกษา ตางก็
ใหความสําคัญกับนวัตกรรม ดังนั้น การเตรียมผูเรียนเพื่อใหกาวเขาสู
สังคมยุคนวัตกรรมจึงมีความจําเปนอยางยิ่งโดยเฉพาะในการจัดการ
เรียนการสอนของผูสอนเพื่อมุงเนนใหผูเรียนสามารถคิด คน เสาะหา
และสรางองคความรูที่เปนนวัตกรรม เพื่อเตรียมพวกเขาเหลานั้นให
ตรงกับความตองการของสังคมในยุคปจจุบันและอนาคต

การจัดการความรูกับการสรางนวัตกรรม
        กอนที่จะเขาสูเรื่องของเทคนิคและวิธีการจัดการเรียนการสอน
เพื่อการสรางนวัตกรรมของผูเรียน การจัดการความรูนับเปน เนื้อหา
สําคัญตอการนําเทคนิคและวิธีการดังกลาวไปใช เพราะการจัดการ
ความรูเปน กระบวนการที่กอใหเกิดนวัตกรรมและยังมีองคประกอบ
หลายอยางที่ผูอานควรใหความสนใจ
                

การจัดการความรูคืออะไร
                   
        การจัด การความรู หมายถึง กระบวนการที่ ทํ าให เ กิด การ
รวบรวมองคความรูที่มกระจัดกระจายอยูในตัวบุคคลหรือเอกสารมาจัด
                     ี
กระทําอยางเปนระบบโดยใหทุกคนสามารถเขาถึงความรูนั้น ๆ ได ซึ่ง
ความรูดังกลาวเปนความรู 2 ประเภทใหญ ๆ ไดแก 1. ความรูที่ฝงอยู
ในคน (Tacit knowledge) หมายถึง ความรูที่แตละบุคคลมีโดยไดมา

4                การสรางนวัตกรรม : เปลี่ยนผูเรียนใหเปนผูสรางนวัตกรรม
จากการสั่ง สมประสบการณ พรสวรรค หรือจากการปฏิบัติและการ
เรียนรู โดยยัง มิไ ดเขียนออกมาเปน ลายลักษณอักษรหรือถายทอด
ออกมา 2. ความรูที่ชัดแจง (Explicit knowledge) หมายถึง ความรูที่
สามารถรวบรวมและถายทอดออกมาไดอยางชัดเจน เชน องคความรูที่
ไดรับและบันทึกไวในเอกสารหรือสิ่งพิมพตาง ๆ
         การจัดการความรูเพื่อใหเกิดองคความรูใหม นวัตกรรมใหมที่
สามารถนํามาใชในการทํางานใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น องคกรตาง ๆ
จึงมีความจําเปนที่ตองจัดการความรูเพื่อใหองคกรมีความรูที่ไดรับการ
ตอยอด สง ผลใหองคกรเจริญ กา วหนาตอไปไมมีห ยุดยั้ง ซึ่ง จะตอ ง
อาศัยองคประกอบดังนี้

องคประกอบสําคัญของการจัดการความรู
          1. คน ถือวาเปนองคประกอบหรือปจจัยที่สําคัญที่สุด เพราะ
เป น แหล ง ความรู แ ละเป น ผู นํ า เอาความรู ไ ปใช ใ ห เ กิ ด ประโยชน
ถึง แมวาองคกรหรือบริษัทจะมีร ะบบการทํางานดีอยางไร แตถาคน
ในองคกรนั้น ๆ ขาดคุณภาพหรือไมมีใจในการทํางาน องคกรนั้นก็ไม
สามารถเติบโตได
          2. เทคโนโลยี เปนเครื่องมือเพื่อพัฒนาโครงสรางพื้นฐานของ
ความรูโ ดยใหบุคคลสามารถคน หา จัดเก็บ แลกเปลี่ยน รวมทั้ง นํ า
ความรูไปใชไดอยางสะดวกและงายดายขึ้น


 การจัดการความรู การสรางความรู และการสรางนวัตกรรม ความสัมพันธที่ไมควรมองขาม   5
3. กระบวนการ เปนกระบวนการจัดการความรู ประกอบไป
ดวยแนวทางและขั้นตอนเพื่อนําความรูจากแหลงความรูไปใหผูใชเพื่อ
ทําใหเกิดการปรับปรุง นวัต กรรม โดยกระบวนการจัดการความรูมีผู
แบงขั้นตอนไวหลากหลายซึ่งจะกลาวอีกครั้งหนึ่งในรายละเอียดตอไป
          องคประกอบตาง ๆ เหลานี้หากนําเขามาบูรณาการกันอยาง
สมดุลก็จะสามารถทําใหบุคคลในองคกรเกิดการเรียนรูอยางตอเนื่อง
และสามารถพัฒนาองคความรูนั้นใหเปนนวัตกรรม ซึ่งการบูรณาการ
ทั้ง 3 สวนนี้เขาดวยกันควรมีอัตราสวนดังนี้ 50/25/25 หมายถึง คน =
50 % เทคโนโลยี = 25 % กระบวนการ = 25 % (Ruggles, 1998)
องคกรนั้นจึงจะเกิดการจัดการความรูที่เหมาะสมขึ้น แตการจะเกิดการ
จัดการความรูไดยอมตองอาศัยกระบวนการจัดการความรูซึ่งมีดังนี้



                                     คน 50 %


                   เทคโนโลยี
                      25 %                     กระบวนการ
                                                  25 %



              องคประกอบสําคัญของการจัดการความรู

   6               การสรางนวัตกรรม : เปลี่ยนผูเรียนใหเปนผูสรางนวัตกรรม
กระบวนการจัดการความรู
         กระบวนการจัดการความรู เปนกระบวนการที่จ ะชวยใหเกิด
พัฒ นาการของความรู ซึ่ง มีนั กวิ ช าการและผู ท รงคุ ณ วุ ฒิไ ดจํ าแนก
กระบวนการจัดการความรูไ วแตกตางกัน แตก็ยังคงมีกระบวนการ
หลัก ๆ ที่ใกลเคียงกัน เชน
         Probst (2002) เขียนบทความเกี่ยวกับ The building blocks
of knowledge management โดยไดเสนอโมเดลดังกลาววามีลักษณะ
เปน 2 วง คือวงในและวงนอก วงในนั้นไดแกขั้นตอนที่กอใหเกิดการ
จัดการความรูซึ่งประกอบไปดวย
                
         1. การบงชี้ความรู (Identification) ซึ่งหมายถึงกระบวนการที่
ไดจากความรูภายนอกโดยอาศัยการวิเคราะหและการอธิบายความรูที่
องคกรนั้น ๆ มีอยู
         2. การแสวงหาความรู (Acquisition) ซึ่ ง หมายถึง ความรู ที่
องคกรไดมาจากภายนอก เชน จากลูกคา จากตัวแทนจําหนาย จาก
คูแขง จากคูคา ฯลฯ
         3. การพัฒนา (Development) ซึ่งหมายถึง การเชื่อมตอหรือ
การยกระดับความรูขึ้น มาจากความรูที่ไ ดแสวงหาเพื่อนํามาคิดเปน
สินคาหรือผลิตภัณฑใหม โดยขั้นการพัฒนาจะตองเกิดจากการบริหาร
จัดการในทุกภาคสวนของบริษัทโดยมิไดมาจากใครเพียงคนใดคนหนึ่ง
         4. การแบงปน (Distribution) ซึ่งหมายถึงกระบวนการแบงปน
การกระจายองคความรูใหทั่วทั้งองคกร

การจัดการความรู การสรางความรู และการสรางนวัตกรรม ความสัมพันธที่ไมควรมองขาม   7
5. การนําไปใช (Utilization) ประกอบดวยการนําเขาสูกิจกรรม
การดําเนินการโดยตองมั่นใจวา ความรูที่ไดนั้นไดถูกนําไปประยุกตใช
จนเกิดประโยชนหรือกําไรใหกับบริษัท
         6. การคงไว ห รื อ การรั ก ษาไว (Preservation) ซึ่ ง หมายถึ ง
กระบวนการที่เกิดจากการเลือกเฟนความรูที่เปนประโยชน ทําการเก็บ
รักษาไว ซึ่งอาจเปนขอมูล เอกสาร หรือประสบการณในการบริหาร
จัดการตาง ๆ
         สํ า หรั บ วงนอกนั้ น จะประกอบด ว ย เป า หมายของความรู
(Knowledge goals) และการวัดผลความรู (Knowledge assessment)
โดยมีรายละเอียดดังนี้
         1. เปาหมายของความรู (Knowledge goals) หมายถึง ความรู
ที่ถูกตัดสินวาควรมีอยูในระดับใด
         2. การวัดผลความรู (Knowledge assessment) หมายถึง การ
ตรวจสอบทั้งกระบวนการดวยขอมูลที่บงบอกถึงยุทธศาสตรของการ
จัดการความรูวาไดผลมากนอยเพียงไร
         สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ และสถาบันเพิ่ม
ผลผลิตแหงชาติ (2548) ไดกลาวถึงขั้นตอนการจัดการความรูไวทั้งสิ้น
7 ขั้น ตอนเพื่อให ห นวยงานราชการของไทยไดดําเนิน การประกอบ
ดวย
         1. ขั้นการบงชี้ความรู คือ การระบุหรือคนหาไดวาหากองคกร
ตองการบรรลุเปาหมายตามวิสัยทัศนและพันธกิจขององคกร องคกร

 8                การสรางนวัตกรรม : เปลี่ยนผูเรียนใหเปนผูสรางนวัตกรรม
ตองรูอะไรบาง ตอนนี้มีความรูอะไรอยูแลว อยูในรูปแบบใด เชน อยูใน
เอกสาร ฐานขอมูลในคอมพิวเตอร หรือยังอยูในตัวบุคคลในองคกร ซึ่ง
ตองนําออกมาแสดงใหเห็นอยางเดนชั ดโดยการวิเคราะหอยางเปน
ระบบเพื่อจะสามารถระบุไดวาความรูในองคกรที่ยังขาดและจําเปนคือ
อะไร
          2. ขั้นการสรางและการแสวงหาความรู คือ เมื่อทราบความรูที่
ขาดและจําเปนสําหรับองคกรคืออะไร บุคคลในองคกรจึง ตองสราง
ความรูขึ้น มา การสรางความรูใ หมมีไ ดห ลายวิธี เชน การสอบถาม
ขอมูล การเรียนเพิ่ม เติม การแลกเปลี่ยนความรู การเวียนงาน การ
เรียนรูจ ากการลงมือทํา การสัม มนา การอบรมเชิง ปฏิบัติการ ฯลฯ
รวมถึงการแสวงหาความรูภายนอกองคกร และการเก็บรักษาความรู
ที่มีอยู
          3. ขั้นการจัดความรูใหเปนระบบ คือ การวางโครงสรางความรู
เพื่อการจัดเก็บอยางเปนระบบ เพื่อเตรียมความพรอมที่จะนํามาใชงาน
ไดทันที
          4. ขั้น การประมวลและกลั่น กรองความรู คือ การปรับ ปรุ ง
เอกสารให มี ม าตรฐานลั ก ษณะเดี ย วกั น อาจมี โ ปรแกรมในการ
สนับสนุนการจัดเก็บ มีการปรับปรุงเนื้อหาองคความรูใหสมบูรณมาก
ยิ่งขึ้น



การจัดการความรู การสรางความรู และการสรางนวัตกรรม ความสัมพันธที่ไมควรมองขาม   9
5. ขันการเขาถึงความรู คือ ผูใชงานสามารถเขาถึงความรูได
               ้
งาย เชน การจัดทําคลังจัดเก็บหรือเว็บไซตที่สะดวกตอการเขาถึง โดย
อาจมีระบบเขาชวย เชน ระบบอินเทอรเน็ตหรืออินทราเน็ต ฯลฯ
          6. ขั้น การแบงปนแลกเปลี่ยนความรู คือ บุคลากรในองคกร
สามารถนําความรูมาแลกเปลียนกันไดงายโดยมีการติดตอกันทั้งแบบ
                                ่
เปนทางการและไมเปนทางการ โดยใชระบบการสนับสนุนและการจัด
สภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย เชน การจัดมุมกาแฟ การตั้ง เว็บบอรด
เพื่อแลกเปลี่ยนการแกปญ หาในการทํางาน การจัดทําเอกสารเปน
รูปเลม ฯลฯ
          7. ขั้นการเรียนรู คือ การที่บุคลากรในองคกรนําองคความรู
ที่ไดรับไปใชและนํากลับมาปรับปรุงเพื่อเรียนรูใหมอยางตอเนื่อง
          สํานักงานปลัดกระทรวงแรงงาน กระทรวงแรงงาน (2548) ได
กลาวถึงขั้นตอนการจัดการความรูไวดังนี้
          1. การกําหนดสิงทีตองเรียนรู (Knowledge identification) คือ
                          ่ ่
การกําหนดนิยามสิ่งที่องคกรตองการใหบุคลากรไดเรียนรูเพื่อใหบรรลุ
ตามวิสัยทัศน นโยบาย ภารกิจ คานิยม และเปาหมายตาง ๆ ของ
องคกร เชน การนิยามขีดความสามารถหลัก กําหนดและจัดตัง        ้
คณะทํางาน กําหนดขีดความสามารถ เขียนอธิบายกระบวนการหลัก
สวนแบงการตลาด ศักยภาพของหุนสวน คูคา ผูจัดสงวัตถุดิบ หรือ
ผูจัดจําหนาย ฯลฯ

 10              การสรางนวัตกรรม : เปลี่ยนผูเรียนใหเปนผูสรางนวัตกรรม
                                                            

More Related Content

Similar to 9789740330547

คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้ Walaiporn Mahamai
 
Word qd
Word qdWord qd
Word qdMUQD
 
chapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovationchapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovationChangnoi Etc
 
Km กับการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานห้องสมุด
Km กับการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานห้องสมุดKm กับการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานห้องสมุด
Km กับการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานห้องสมุดAcademic Resource Center Rajabhat Mahasarakham University
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนDrsek Sai
 
รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้นะนาท นะคะ
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 

Similar to 9789740330547 (20)

Story nok
Story nokStory nok
Story nok
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
Word qd
Word qdWord qd
Word qd
 
chapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovationchapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovation
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Km กับการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานห้องสมุด
Km กับการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานห้องสมุดKm กับการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานห้องสมุด
Km กับการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานห้องสมุด
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
 
Ci13501chap3
Ci13501chap3Ci13501chap3
Ci13501chap3
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
Metacognition
MetacognitionMetacognition
Metacognition
 
รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
 
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียนบทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
 
Km` กพร
Km` กพรKm` กพร
Km` กพร
 
Km` กพร
Km` กพรKm` กพร
Km` กพร
 
งาน2
งาน2งาน2
งาน2
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740330547

  • 1. บทที่ 1 : การจัดการความรู การสรางความรู และการสรางนวัตกรรม ความสัมพันธที่ไมควรมองขาม เมื่อไดยินคําวา นวัตกรรม คนสวนใหญมักจะนึกถึงการสราง เทคโนโลยีใหม ๆ การสรางผลิตภัณฑหรือสินคารูปแบบใหม ซึ่งโดย สวนมากนวัตกรรมเหลานั้นจะเนน ไปในเชิง ธุ รกิจ การคา การตลาด เนื่องจากการเกิดนวัตกรรมในยุคแรก ๆ เกิดจากการที่ภาคธุรกิจมีการ แขงขันกันสูง องคกรหรือบริษัทตาง ๆ ตองพยายามหาสิ่งใหม ๆ เขา มาดึง ดูดแรงซื้อจากลูกคาเพื่อใหไดเปรียบในการแขง ขัน และความ มั่งคั่งใหกับบริษัทไดอยางยั่งยืน และนวัตกรรมยังเปนสิ่งที่ผลักดันให สินคาหรือผลิตภัณฑนั้นเติบโตในระยะยาว องคกรหรือบริษัทเหลานั้น จึงจําเปนที่จะตองหาวิธีการในการสรางนวัตกรรมของตนเองขึ้นมาเพื่อ สร า งโอกาสทางธุ ร กิ จ และถื อ ได ว า นวั ต กรรมเป น จุ ด แข็ ง ในการ ได เ ปรี ย บคู แ ข ง จากกลุ ม ธุ ร กิ จ เดี ย วกั น ดั ง นั้ น วิ ธี ก ารที่ จ ะเข า มา สนับสนุนการสรางนวัตกรรมขององคกรตาง ๆ จึงมีหลายวิธีการ การ จัดการความรูเปน วิธีการหนึ่ง ที่ จะไดม าซึ่ง นวัต กรรม เนื่องจากการ จัดการความรูเปนกระบวนการสําคัญที่ชวยใหนวัตกรรมเกิดขึ้นโดยมี กระบวนการ วิ ธีก าร องค ป ระกอบที่ เ ข า มามี ส วนเกี่ ย วข อ งหลาย ประเด็นซึ่งจะไดกลาวในรายละเอียดตอไป การจัดการความรู การสรางความรู และการสรางนวัตกรรม ความสัมพันธที่ไมควรมองขาม 3
  • 2. ไมเพียงแตภาคธุรกิจ นวัตกรรมยังกาวเขาไปมีสวนสําคัญใน ทุกภาคสวน ทั้งภาคเอกชน ภาครัฐ หรือแมแตในวงการศึกษา ตางก็ ใหความสําคัญกับนวัตกรรม ดังนั้น การเตรียมผูเรียนเพื่อใหกาวเขาสู สังคมยุคนวัตกรรมจึงมีความจําเปนอยางยิ่งโดยเฉพาะในการจัดการ เรียนการสอนของผูสอนเพื่อมุงเนนใหผูเรียนสามารถคิด คน เสาะหา และสรางองคความรูที่เปนนวัตกรรม เพื่อเตรียมพวกเขาเหลานั้นให ตรงกับความตองการของสังคมในยุคปจจุบันและอนาคต การจัดการความรูกับการสรางนวัตกรรม กอนที่จะเขาสูเรื่องของเทคนิคและวิธีการจัดการเรียนการสอน เพื่อการสรางนวัตกรรมของผูเรียน การจัดการความรูนับเปน เนื้อหา สําคัญตอการนําเทคนิคและวิธีการดังกลาวไปใช เพราะการจัดการ ความรูเปน กระบวนการที่กอใหเกิดนวัตกรรมและยังมีองคประกอบ หลายอยางที่ผูอานควรใหความสนใจ  การจัดการความรูคืออะไร  การจัด การความรู หมายถึง กระบวนการที่ ทํ าให เ กิด การ รวบรวมองคความรูที่มกระจัดกระจายอยูในตัวบุคคลหรือเอกสารมาจัด ี กระทําอยางเปนระบบโดยใหทุกคนสามารถเขาถึงความรูนั้น ๆ ได ซึ่ง ความรูดังกลาวเปนความรู 2 ประเภทใหญ ๆ ไดแก 1. ความรูที่ฝงอยู ในคน (Tacit knowledge) หมายถึง ความรูที่แตละบุคคลมีโดยไดมา 4 การสรางนวัตกรรม : เปลี่ยนผูเรียนใหเปนผูสรางนวัตกรรม
  • 3. จากการสั่ง สมประสบการณ พรสวรรค หรือจากการปฏิบัติและการ เรียนรู โดยยัง มิไ ดเขียนออกมาเปน ลายลักษณอักษรหรือถายทอด ออกมา 2. ความรูที่ชัดแจง (Explicit knowledge) หมายถึง ความรูที่ สามารถรวบรวมและถายทอดออกมาไดอยางชัดเจน เชน องคความรูที่ ไดรับและบันทึกไวในเอกสารหรือสิ่งพิมพตาง ๆ การจัดการความรูเพื่อใหเกิดองคความรูใหม นวัตกรรมใหมที่ สามารถนํามาใชในการทํางานใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น องคกรตาง ๆ จึงมีความจําเปนที่ตองจัดการความรูเพื่อใหองคกรมีความรูที่ไดรับการ ตอยอด สง ผลใหองคกรเจริญ กา วหนาตอไปไมมีห ยุดยั้ง ซึ่ง จะตอ ง อาศัยองคประกอบดังนี้ องคประกอบสําคัญของการจัดการความรู 1. คน ถือวาเปนองคประกอบหรือปจจัยที่สําคัญที่สุด เพราะ เป น แหล ง ความรู แ ละเป น ผู นํ า เอาความรู ไ ปใช ใ ห เ กิ ด ประโยชน ถึง แมวาองคกรหรือบริษัทจะมีร ะบบการทํางานดีอยางไร แตถาคน ในองคกรนั้น ๆ ขาดคุณภาพหรือไมมีใจในการทํางาน องคกรนั้นก็ไม สามารถเติบโตได 2. เทคโนโลยี เปนเครื่องมือเพื่อพัฒนาโครงสรางพื้นฐานของ ความรูโ ดยใหบุคคลสามารถคน หา จัดเก็บ แลกเปลี่ยน รวมทั้ง นํ า ความรูไปใชไดอยางสะดวกและงายดายขึ้น การจัดการความรู การสรางความรู และการสรางนวัตกรรม ความสัมพันธที่ไมควรมองขาม 5
  • 4. 3. กระบวนการ เปนกระบวนการจัดการความรู ประกอบไป ดวยแนวทางและขั้นตอนเพื่อนําความรูจากแหลงความรูไปใหผูใชเพื่อ ทําใหเกิดการปรับปรุง นวัต กรรม โดยกระบวนการจัดการความรูมีผู แบงขั้นตอนไวหลากหลายซึ่งจะกลาวอีกครั้งหนึ่งในรายละเอียดตอไป องคประกอบตาง ๆ เหลานี้หากนําเขามาบูรณาการกันอยาง สมดุลก็จะสามารถทําใหบุคคลในองคกรเกิดการเรียนรูอยางตอเนื่อง และสามารถพัฒนาองคความรูนั้นใหเปนนวัตกรรม ซึ่งการบูรณาการ ทั้ง 3 สวนนี้เขาดวยกันควรมีอัตราสวนดังนี้ 50/25/25 หมายถึง คน = 50 % เทคโนโลยี = 25 % กระบวนการ = 25 % (Ruggles, 1998) องคกรนั้นจึงจะเกิดการจัดการความรูที่เหมาะสมขึ้น แตการจะเกิดการ จัดการความรูไดยอมตองอาศัยกระบวนการจัดการความรูซึ่งมีดังนี้ คน 50 % เทคโนโลยี 25 % กระบวนการ 25 % องคประกอบสําคัญของการจัดการความรู 6 การสรางนวัตกรรม : เปลี่ยนผูเรียนใหเปนผูสรางนวัตกรรม
  • 5. กระบวนการจัดการความรู กระบวนการจัดการความรู เปนกระบวนการที่จ ะชวยใหเกิด พัฒ นาการของความรู ซึ่ง มีนั กวิ ช าการและผู ท รงคุ ณ วุ ฒิไ ดจํ าแนก กระบวนการจัดการความรูไ วแตกตางกัน แตก็ยังคงมีกระบวนการ หลัก ๆ ที่ใกลเคียงกัน เชน Probst (2002) เขียนบทความเกี่ยวกับ The building blocks of knowledge management โดยไดเสนอโมเดลดังกลาววามีลักษณะ เปน 2 วง คือวงในและวงนอก วงในนั้นไดแกขั้นตอนที่กอใหเกิดการ จัดการความรูซึ่งประกอบไปดวย  1. การบงชี้ความรู (Identification) ซึ่งหมายถึงกระบวนการที่ ไดจากความรูภายนอกโดยอาศัยการวิเคราะหและการอธิบายความรูที่ องคกรนั้น ๆ มีอยู 2. การแสวงหาความรู (Acquisition) ซึ่ ง หมายถึง ความรู ที่ องคกรไดมาจากภายนอก เชน จากลูกคา จากตัวแทนจําหนาย จาก คูแขง จากคูคา ฯลฯ 3. การพัฒนา (Development) ซึ่งหมายถึง การเชื่อมตอหรือ การยกระดับความรูขึ้น มาจากความรูที่ไ ดแสวงหาเพื่อนํามาคิดเปน สินคาหรือผลิตภัณฑใหม โดยขั้นการพัฒนาจะตองเกิดจากการบริหาร จัดการในทุกภาคสวนของบริษัทโดยมิไดมาจากใครเพียงคนใดคนหนึ่ง 4. การแบงปน (Distribution) ซึ่งหมายถึงกระบวนการแบงปน การกระจายองคความรูใหทั่วทั้งองคกร การจัดการความรู การสรางความรู และการสรางนวัตกรรม ความสัมพันธที่ไมควรมองขาม 7
  • 6. 5. การนําไปใช (Utilization) ประกอบดวยการนําเขาสูกิจกรรม การดําเนินการโดยตองมั่นใจวา ความรูที่ไดนั้นไดถูกนําไปประยุกตใช จนเกิดประโยชนหรือกําไรใหกับบริษัท 6. การคงไว ห รื อ การรั ก ษาไว (Preservation) ซึ่ ง หมายถึ ง กระบวนการที่เกิดจากการเลือกเฟนความรูที่เปนประโยชน ทําการเก็บ รักษาไว ซึ่งอาจเปนขอมูล เอกสาร หรือประสบการณในการบริหาร จัดการตาง ๆ สํ า หรั บ วงนอกนั้ น จะประกอบด ว ย เป า หมายของความรู (Knowledge goals) และการวัดผลความรู (Knowledge assessment) โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. เปาหมายของความรู (Knowledge goals) หมายถึง ความรู ที่ถูกตัดสินวาควรมีอยูในระดับใด 2. การวัดผลความรู (Knowledge assessment) หมายถึง การ ตรวจสอบทั้งกระบวนการดวยขอมูลที่บงบอกถึงยุทธศาสตรของการ จัดการความรูวาไดผลมากนอยเพียงไร สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ และสถาบันเพิ่ม ผลผลิตแหงชาติ (2548) ไดกลาวถึงขั้นตอนการจัดการความรูไวทั้งสิ้น 7 ขั้น ตอนเพื่อให ห นวยงานราชการของไทยไดดําเนิน การประกอบ ดวย 1. ขั้นการบงชี้ความรู คือ การระบุหรือคนหาไดวาหากองคกร ตองการบรรลุเปาหมายตามวิสัยทัศนและพันธกิจขององคกร องคกร 8 การสรางนวัตกรรม : เปลี่ยนผูเรียนใหเปนผูสรางนวัตกรรม
  • 7. ตองรูอะไรบาง ตอนนี้มีความรูอะไรอยูแลว อยูในรูปแบบใด เชน อยูใน เอกสาร ฐานขอมูลในคอมพิวเตอร หรือยังอยูในตัวบุคคลในองคกร ซึ่ง ตองนําออกมาแสดงใหเห็นอยางเดนชั ดโดยการวิเคราะหอยางเปน ระบบเพื่อจะสามารถระบุไดวาความรูในองคกรที่ยังขาดและจําเปนคือ อะไร 2. ขั้นการสรางและการแสวงหาความรู คือ เมื่อทราบความรูที่ ขาดและจําเปนสําหรับองคกรคืออะไร บุคคลในองคกรจึง ตองสราง ความรูขึ้น มา การสรางความรูใ หมมีไ ดห ลายวิธี เชน การสอบถาม ขอมูล การเรียนเพิ่ม เติม การแลกเปลี่ยนความรู การเวียนงาน การ เรียนรูจ ากการลงมือทํา การสัม มนา การอบรมเชิง ปฏิบัติการ ฯลฯ รวมถึงการแสวงหาความรูภายนอกองคกร และการเก็บรักษาความรู ที่มีอยู 3. ขั้นการจัดความรูใหเปนระบบ คือ การวางโครงสรางความรู เพื่อการจัดเก็บอยางเปนระบบ เพื่อเตรียมความพรอมที่จะนํามาใชงาน ไดทันที 4. ขั้น การประมวลและกลั่น กรองความรู คือ การปรับ ปรุ ง เอกสารให มี ม าตรฐานลั ก ษณะเดี ย วกั น อาจมี โ ปรแกรมในการ สนับสนุนการจัดเก็บ มีการปรับปรุงเนื้อหาองคความรูใหสมบูรณมาก ยิ่งขึ้น การจัดการความรู การสรางความรู และการสรางนวัตกรรม ความสัมพันธที่ไมควรมองขาม 9
  • 8. 5. ขันการเขาถึงความรู คือ ผูใชงานสามารถเขาถึงความรูได ้ งาย เชน การจัดทําคลังจัดเก็บหรือเว็บไซตที่สะดวกตอการเขาถึง โดย อาจมีระบบเขาชวย เชน ระบบอินเทอรเน็ตหรืออินทราเน็ต ฯลฯ 6. ขั้น การแบงปนแลกเปลี่ยนความรู คือ บุคลากรในองคกร สามารถนําความรูมาแลกเปลียนกันไดงายโดยมีการติดตอกันทั้งแบบ ่ เปนทางการและไมเปนทางการ โดยใชระบบการสนับสนุนและการจัด สภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย เชน การจัดมุมกาแฟ การตั้ง เว็บบอรด เพื่อแลกเปลี่ยนการแกปญ หาในการทํางาน การจัดทําเอกสารเปน รูปเลม ฯลฯ 7. ขั้นการเรียนรู คือ การที่บุคลากรในองคกรนําองคความรู ที่ไดรับไปใชและนํากลับมาปรับปรุงเพื่อเรียนรูใหมอยางตอเนื่อง สํานักงานปลัดกระทรวงแรงงาน กระทรวงแรงงาน (2548) ได กลาวถึงขั้นตอนการจัดการความรูไวดังนี้ 1. การกําหนดสิงทีตองเรียนรู (Knowledge identification) คือ ่ ่ การกําหนดนิยามสิ่งที่องคกรตองการใหบุคลากรไดเรียนรูเพื่อใหบรรลุ ตามวิสัยทัศน นโยบาย ภารกิจ คานิยม และเปาหมายตาง ๆ ของ องคกร เชน การนิยามขีดความสามารถหลัก กําหนดและจัดตัง ้ คณะทํางาน กําหนดขีดความสามารถ เขียนอธิบายกระบวนการหลัก สวนแบงการตลาด ศักยภาพของหุนสวน คูคา ผูจัดสงวัตถุดิบ หรือ ผูจัดจําหนาย ฯลฯ 10 การสรางนวัตกรรม : เปลี่ยนผูเรียนใหเปนผูสรางนวัตกรรม 