SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 9
Baixar para ler offline
บทนํา




พอล เคล (Paul Klee, ค.ศ. 1879-1940) ชือผลงาน Seneclo, 1922
                                      ่
ผลงานจิตรกรรมสีนามัน ขนาด 40.6 x 38 ซม., อยูทพพธภัณฑเมืองบาเซิล สวิตเซอรแลนด
                ํ้                           ี่ ิ ิ
บทนํา
                                     INTRODUCTION

        คุณสมบัตดงเดิมตามธรรมชาติของคน หรือเรียกวาสัญชาตญาณ เปนสิงทีธรรมชาติให
                 ิ ั้                                                           ่ ่
มาตังแตเกิด มีทงทีเ่ ปนความรูสกและพฤติกรรม โดยไมตองมีใครมาสังสอน เชน ความหวาด
         ้             ั้           ึ                                   ่
กลัว ความโกรธ ความรัก ความหิว และอื่น ๆ อีกมาก ยิ่งกวานั้น มนุษยยงไดรูจักพัฒนาสิ่งตาง ๆ
                                                                        ั
เหลานี้ใหเจริญกาวหนาขึ้นไปอีก พวกเขารูจักสังเกต จดจํา และมีจินตนาการ นํามาสราง
เครื่องไมเครื่องมือเพื่อยังชีพ กอรางสรางบานเรือนสําหรับอยูอาศัย ทําทุกสิ่งทุกอยางเพื่อให
ชีวตมีความสุข สะดวกสบาย สิ่งเหลานี้ไดทําใหพนสภาพจากสัตวมาเปนมนุษยอยางสมบูรณ
    ิ
        จากชีวิตที่เรียบงายตั้งแตครั้งบรรพกาล ผานยุคกอนประวัติศาสตร สูยุคสมัยโบราณใน
สมัยราชอาณาจักรอียิปต สาธารณรัฐกรีซ จักรวรรดิโรมัน และเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน มนุษย
ไดสรรสรางสิ่งตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับศิลปะไวมากมายเหลือคณา ทั้งเพื่อประโยชนทางกาย
และบํารุงบําเรอจิตวิญญาณ โดยมีสิ่งหนึ่งที่ซอนเรนอยูในสิ่งตาง ๆ เหลานั้นเสมอ นั่นคือ
ความงามที่หลากหลาย เปนภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาภาพ ภาษากาย และภาษาเสียง โดย
สะทอนถึงความรักความพึงพอใจ ความศรัทธา ความกลัวเกรง และความระทมทุกข สิ่งเหลา
นี้คอสิ่งที่เรียกวางานศิลปะ ภาษาพูด ภาษาเขียน ทําใหไดมีบทกวีนิพนธและวรรณกรรม
      ื
ภาษาภาพคืองานจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปตยกรรม ภาษากายกอใหเกิดนาฏศิลป
และภาษาเสียงคือดนตรี ซึ่งลวนเปนผลงานหลักของศิลปะและวัฒนธรรม อันเปนแกนสําคัญ
แกนหนึ่งในโครงสรางของสังคม
        จากผลงานศิลปะที่สรางขึ้นอยางเรียบงายตั้งแตโบราณกาล ไดเพิ่มความสลับซับซอน
ตามสภาพบริบทตาง ๆ ของสิ่งแวดลอมทางสังคม จึงทําใหเกิดคําถามมากมายเกี่ยวกับ
ปญหาทางสุนทรียศาสตร เชน บอเกิดของสุนทรียศาสตรเกิดขึ้นที่ไหน อะไรเปนแรงดลใจ
ใหเกิด ความงามกับความไมงาม ความงามกับความดี ความงามกับความจริง มีศาสตร
อื่นใดบางที่เขามาเกี่ยวกับสุนทรียศาสตร ปญหาความงามในธรรมชาติกับสุนทรียศาสตร
งานศิลปะกับสุนทรียศาสตร วิทยาศาสตรกับสุนทรียศาสตร ฯลฯ อยางไรก็ตาม บอเกิดแหง
สุนทรียศาสตรหรือความรูสกในความงามของมนุษยนน พอสรุปไดวา มีแหลงกําเนิดมาจาก
                                ึ                     ั้             
ธรรมชาติกบผลงานศิลปะทุกสาขา
               ั
        ปญหาตาง ๆ ทางความงามหรือสุนทรียภาพ จึงกอประเด็นปญหาที่สลับซับซอนและ
เปลี่ยนแปลงลึกซึ้งทางสุนทรียศาสตร ซึ่งลวนทาทายการคนหาคําตอบอยูตลอดมา



                                                                                         บทนํา     3
สุ น ท รี ย ศ า ส ต ร์
    A E S T H E T I C S



       กอนทีจะกลาวถึงสุนทรียศาสตร ซึงมีผลจากศาสตรหลายศาสตรเขามาเกียวของดวย ดวย
              ่                        ่                                ่
    เหตุนจงขอแนะนําศาสตรตาง ๆ ทีเ่ ขามามีความสัมพันธมาเสนอ เพือทําความเขาใจเบืองตน
         ี้ ึ                                                   ่                ้
    กอน
       1. วิิชาปรัชญา (Philosophy)
       คือวิชาที่วาดวยความจริง แบงออกเปน 4 สาขา คือ
       1. อภิปรัชญา (Metaphysics)
       2. ญาณวิทยา (Epistemology)
       3. จริยปรัชญา (Ethic)
       4. ตรรกวิทยา (Logics)
        ทัง 4 สาขาเรียกปรัชญาบริสทธิ์ (pure philosophy) สวนสุนทรียศาสตรเปนปรัชญาประยุกต
          ้                      ุ
    (applied philosophy) มีสวนเกี่ยวของกับญาณวิทยา ซึ่งเปนปรัชญาสําคัญสาขาหนึ่งที่วา
    ดวยบอเกิด ลักษณะหนาที่ ประเภท ระเบียบวิธี และความสมเหตุสมผลของความรู หรือเรียก
    วาเปน ทฤษฎีความรู (theory of knowledge) เพื่อนํามาใชสอบสวน คนหา และตอบปญหา
    ถึงแหลงกําเนิดและอื่น ๆ ของสุนทรียภาพ สวนศาสตรแหงคุณคา (axiology) นํามาเพื่อใช
    เปนหลักเกณฑในการประเมินคุณคาทางสุนทรียภาพ
       คุณวิทยา, อรรฆวิทยา หรือศาสตรแหงคุณคา (axiology)
       เปนวิชาทีวาดวยเรืองของคุณคา (value) เปนสาขาหนึงของญาณวิทยา มีการพิจารณาถึง
                 ่       ่                              ่
    ปญหาคุณคาของสิงตาง ๆ มีดวยกัน 4 ปญหาใหญดวยกัน คือ
                      ่
       1. ลักษณะคุณคา
       2. ประเภทคุณคา
       3. บรรทัดฐานแหงคุณคา
       4. สถานะทางอภิปรัชญาของคุณคา
         คุณวิทยามีสวนสําคัญโดยตรงกับสุนทรียศาสตรในการพิจารณาปญหาคุณคาทางสุนทรียะ
                    
    วาดวยเรืองของความงาม ความดี และความจริงนันมีความสําคัญยิง ในการประเมินคุณคา
              ่                                    ้            ่
    และการตัดสินเชิงสุนทรียภาพตอสุนทรียศาสตร โดยมีตรรกศาสตรและจริยศาสตรเขามา
    เกียวของดวย
       ่

4     บทนํา
คุณวิทยา สามารถแบงออกเปนลักษณะและประเภทได ดังนี้
  1. ลักษณะคุณคา
       1.1 คุณภาพ (quality) หมายถึง ลักษณะที่เปนคุณของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือลักษณะ
ประจําบุคคลหรือสิ่งของ แบงออกเปน 2 แบบ คือ
           ก. คุณภาพปฐมภูมิ (primary quality) เปนลักษณะคุณภาพหลัก เชน รูปราง
               รูปทรง การกินทีในอากาศ การเคลือนไหว การหยุดนิง สิงเหลานีพบไดใน
                                 ่                     ่               ่ ่          ้
               ธรรมชาติ และงานจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปตยกรรม และอืน ๆ ตัวอยาง ่
               เชน เสียงเปนคุณภาพปฐมภูมของดนตรี
                                              ิ
           ข. คุณภาพทุติยภูมิ (secondary quality) เปนลักษณะคุณภาพรอง ไมมีอยู
               ในสิ่งนั้น เกิดคุณภาพไดขนอยูกบการรับรูของผูหนึงผูใดรับรส เชน ไดยนเสียง
                                          ึ้  ั             ่                     ิ
               ไดเห็นสี ไดกลิน ไดรรส ไดสมผัส ซึงมีผลตอการเกิดอารมณสนทรียภาพ
                               ่     ู     ั       ่                        ุ
       1.2 คุณลักษณะ (attribute) เปนลักษณะประจําที่เปนสวนสําคัญและจําเปนอัน
           ขาดมิไดของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งทําใหสิ่งนั้นแตกตางไปจากสิ่งอื่น ๆ เชน ไมมีคุณ-
           ลักษณะแตกตางไปจากเหล็ก จิตรกรรมมีคุณลักษณะแตกตางไปจากดนตรี
        1.3 คุณคา คา (value) เปนคําทีใชกนทัวไป หมายถึง สิงใดก็ตามทีเ่ ชือวามีคณคา
                                               ่ ั ่                   ่            ่         ุ
              เพราะตอบสนองความปรารถนาของมนุษย หรือคุณคาที่เปนประโยชนนาสนใจ           
              ตอบุคคล ความมีคาหรือมีคณคาสําหรับแตละคนไมเหมือนกัน หรืออาจคลายกัน
                                            ุ
              ก็ได โดยเฉพาะคุณคาทางนามธรรม เชน ความงามหรือสุนทรียภาพเปนคุณคา
              ของงานศิลปะ สวนความดีเปนคุณคาทางจริยศาสตร
        1.4 คุณสมบัติ สมบัติ (property) หมายถึง คุณหรือคุณคาประจําตัวของบุคคล
              หรือสิ่งตาง ๆ ซึ่งมีอยูแลว กอนที่จะไดมาซึ่งสิทธิหรือตําแหนงหรือเปนอยู
        1.5 คุณพิเศษ คุณวิเศษ ความดีที่แปลกกวาสามัญชนทั่วไป
        1.6 คุณธรรม (virtue) สภาพคุณความดี
        1.7 คานิยม (good will value) เปนคุณคาทีเ่ กิดจากบุคคลหรือกลุมบุคคลใหคานิยม
                                                                                           
              สิงใดสิงหนึงรวมกัน
                 ่ ่ ่
   คําเหลานี้ลวนมีการนํามาใชในสุนทรียศาสตรกันมาก

                                                                                        บทนํา     5
สุ น ท รี ย ศ า ส ต ร์
    A E S T H E T I C S



       2. ประเภทคุณคา แบงออกเปน 2 ประเภท คือ
           2.1 คุณคานอกตัว (extrinsic value) หมายถึง คุณคาของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีคา
               อยูนอกตัว หมายความวา ถาเราตองการสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ไมใชจากสิ่งนั้น ๆ หากแต
               เปนความตองการเพราะสิ่งนั้นมีคานอกตัวสําหรับไปไดสิ่งอื่น เชน ตองการซื้อ
               งานจิตรกรรมภาพนั้น ไมใชเกิดจากเห็นคุณคาในงาน แตเปนเพราะผลงานภาพ
               นั้นมีคุณคานอกตัว สามารถนําไปขายไดเงินมากกวาที่ซื้อมา เงินเปนคุณคา
               นอกตัว สําหรับใชจายซื้อสิ่งของตาง ๆ เพื่อบํารุงบําเรอความสุข
                                  
           2.2 คุณคาในตัว (intrinsic value) การที่สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีคาในตัวเอง หมายความ
               วา เราตองการสิ่งนั้นเพราะตัวสิ่งนั้นมีคณคาอยูในตัวเอง คุณคาตรงนี้ตรงขาม
                                                        ุ
               กับคุณคานอกตัว เชน เห็นคุณคาในตัวของงานศิลปะ

       3. บรรทัดฐานแหงคุณคา แบงออกเปน 2 ประเภทใหญดวยกัน คือ
           3.1 คุณคาเชิงวัตถุวสัย (objective value) เปนมาตรฐานการชีขาดของการ
                                   ิ                                            ้
                ตัดสินขึนอยูกบคุณคาทางวัตถุวสยหรือปรนัยวิสยทีเ่ คยยึดถือ และยอมรับกัน
                        ้ ั                     ิ ั          ั
                ในกลุมสังคม เชน คุณคาของศิลปวัตถุตาง ๆ มีอยูแลวในตัวของมันเอง นอกจาก
                                                              
                นี้ นักสุนทรียศาสตรแนววัตถุนยมยังถือเปนคุณคาทีสาคัญ เพราะเชือวามีวตถุ
                                               ิ                  ่ํ              ่     ั
                จึงทําใหมสนทรียภาพเกิดขึน
                          ีุ                ้
           3.2 คุณคาเชิงจิตวิสัย (subjective value) เปนมาตรฐานการตัดสินที่ขึ้นอยูกับ
                การประเมินของบุคคลหรือของกลุม ยึดถือตามสถานการณทางสังคม กําหนด
                และยึดถือกันมา มีการใชความรูสึกเปนตัวกําหนด คุณคาเชิงจิตวิสัยนี้ถือเอา
                ความรูสึกที่เปนนามธรรมมีความสําคัญสูงสุด เปนทรรศนะตรงกันขามกับ
                คุณคาเชิงวัตถุวสย เชื่อวาเพราะมีจิตกําหนดจึงทําใหเกิดสุนทรียภาพ
                                 ิ ั

       นอกจากนี้ บรรทัดฐานแหงคุณคายังมีทรรศนะและการนําไปใชทแตกตางออกไปอีก เชน
                                                                ี่
    คุณคาทางจริยธรรม คุณคาทางประเพณี เปนตน อีกทั้งยังแบงคุณคาออกไปอีกเปนคุณคา
    ทางเศรษฐกิจ คุณคาทางสุนทรียศาสตร คุณคาทางจริยศาสตร คุณคาทางตรรกศาสตร
    คุณคาทางวิทยาศาสตร คุณคาทางญาณวิทยา คุณคาทางอภิปรัชญา และอื่น ๆ



6     บทนํา
ปญหาเรื่องคุณคาจึงเปนประเด็นปญหาใหญ โดยเฉพาะเรื่องบรรทัดฐานแหงคุณคานั้น
ยังแบงออกเปน มีความเชื่อวาคุณคามีความคงที่ถาวรไมเปลี่ยนแปลง หรือไมมีมาตรฐาน
ของบรรทัดฐานที่แนนอน เปลี่ยนแปลงได นอกจากนี้ ปญหาเรื่องของคุณคายังมีคุณคาที่เปด
เผยเห็นไดชัดเจน ไมตองการคําอธิบาย กับคุณคาที่แฝงเรน สามารถรูไดดวยการสํานึก ความ
ซาบซึ้ง และการอรรถาธิบาย ดังเชน คุณคาทางสุนทรียศาสตรที่มีคุณคาทั้งสองประการ

    ตรรกศาสตร ตรรกวิทยา (logic, logics) เปนศาสตรหนึ่งในวิชาปรัชญาวาดวยเรื่อง
วิธีของการวิเคราะหและการตัดสินตามสมเหตุสมผลในการอางเหตุผล คําที่ใชในตรรกะ
(logical term) สําหรับขอเสนอหรือขอความ มีทั้งที่เปนประโยคบอกเลาและประโยคปฏิเสธ
มีเนื้อหาเปนขอเท็จจริงหรือความจริงอยางใดอยางหนึ่งเทานั้น จะมีความหมายกํากวมไมได
หรือสรางประพจน (proposition) หรือขอเสนอใหม คําตรรกะที่ใชกันมากไดแก และ หรือ ไม
ถา-ก็ ทุก บาง เปนตน
    ตรรกศาสตร เปนศาสตรที่ละเอียดออนซับซอน มีทั้งการใชคณิตศาสตร เชน คณิต
ตรรกศาสตร (mathematic logic) ตรรกศาสตรสัญลักษณ (symbolic logic) ที่ใชภาษา
สัญลักษณแทนภาษาถอยคํา วิชานี้ใชกันมากในศาสตรอื่น ๆ สวนในสุนทรียศาสตรนั้นนํามา
ใชบาง เพราะเปนเรื่องของความรูสกคอนขางมาก
                                  ึ




                                                                                 บทนํา    7
สุ น ท รี ย ศ า ส ต ร์
    A E S T H E T I C S



              จริยศาสตร (ethics)
        เปนสาขาหนึงในวิชาปรัชญา จึงมีอกชือหนึงวา จริยปรัชญา มีสวนเกียวของกับกฎเกณฑ
                    ่                      ี ่ ่                       ่
    ขอบังคับในทางศาสนา และความเชือในลัทธิตาง ๆ อยูบาง แตจริยศาสตรหรือจริยปรัชญา
                                         ่                
    ตางจากหลักศาสนาไปบางตรงทีมงเนนถึงเนือหาสาระหรือแกน(substance)เนือหา(content)
                                    ่ ุ       ้                             ้
    เนือเรือง (subject matter) สาระหรือแกนสาร (essence) ทีวาดวยเรืองของการแสวงหาความดี
       ้ ่                                                 ่       ่
    สูงสุดของชีวิตมนุษย คนหาเกณฑในการพิจารณาตัดสินความประพฤติของมนุษยวาอยาง
    ไหนผิดไมผด ถูกไมถก ดีไมดี ควรไมควร และพิจารณาปญหาเรืองสถานภาพของคุณคาทาง
                ิ        ู                                       ่
    ศีลธรรม ซึ่งสุนทรียศาสตรบางสํานักยึดถือเปนมาตรฐานสําคัญสําหรับเกณฑการตัดสินเชิง
    สุนทรียภาพ
        สํานักจริยศาสตรมทรรศนะตางกันอยูหลายสํานัก เชน พวกอาเวค (อารมณ) นิยม (Emotiv-
                         ี                  
    ism) มีหลักทฤษฎีอาเวคนิยม (Emotion Theory Ethics) เชือในการตัดสินดวยอารมณ ความ
                                                               ่
    รูสกเกียวกับศีลธรรมสําคัญมากกวาอาศัยขอเท็จจริง สวนพวกจริยศาสตรแบบธรรมชาตินยม
      ึ ่                                                                             ิ
    (Natural Ethics) มีทรรศนะวาควรหาวิธขอเท็จจริงเชิงประจักษ (empirical fact) มีกรอบการ
                                            ี
    ศึกษายึดถือมนุษยในสังคม เกียวของกับอะไรถูกอะไรผิดอะไรดีไมดี สํานักนีไมนยมคนหา
                                      ่                                       ้ ิ
    เกณฑการตัดสินตายตัว หากเชือในสิงหรือประสบการณทเี่ ปนอยูทเี่ กิดขึนตามธรรมชาติเปน
                                        ่ ่                            ้
    ขอเท็จจริงทางธรรมชาติ จริยศาสตรแนวประโยชนนยม (Utilitarianism) ของจอหน สจวต
                                                       ิ
    มิลล (ค.ศ. 1806-1873) ทีเ่ ชือวาการมีศลธรรมดีหรือไมดขนอยูกบการนําความสุขสูมหาชน
                                    ่          ี             ี ึ้  ั               
    เชน ดุรยางคศิลปเปนสิงทีดี ดวยเหตุผลเพราะทําใหเกิดความรืนรมย
            ิ              ่ ่                                   ่
         จริยศาสตรมสวนเขามาสัมพันธกบสุนทรียศาสตรคอนขางแนบแนน โดยเปนหนึงในปญหา
                      ี                    ั                                     ่
    หลักของสุนทรียภาพในเรืองของความดีหรือจริยธรรม ความสุนทรียหรือความงาม และความ
                              ่                                         
    จริงหรือสัจธรรม ซึงจําเปนตอการสอบสวน วิเคราะห และวิจยในงานศิลปะทุกสาขา เชน ยุค
                         ่                                    ั
    กอนประวัตศาสตร และยุคประวัตศาสตร มีสวนผูกพันกับสุนทรียศาสตรคอนขางมาก โดยมี
                ิ                         ิ                                
    ศาสนาเปนหลัก สวนยุคสมัยใหมแมจะลดบทบาทลงบางจากลัทธิศลปะบางลัทธิทมทรรศนะ
                                                                          ิ          ี่ ี
    วา การสรางสรรคงานไมจาเปนตองคํานึงถึงเพราะไมใชหนาที่ แตกยงมีความสําคัญอยูไมนอย
                                ํ                                    ็ั                    
    เนืองจากยังมีผเู ห็นดวยอยูเ ชนกัน
       ่



8     บทนํา
แนวคิดในเรื่องมาตรการในจริยศาสตร แบงออกเปน 2 แนวทาง คือ
  1. อัตนัยนิยม หรือจิตวิสย (Subjectivism) เชือวาจริยศาสตรไมมมาตรการตายตัว
                            ั                       ่                 ี
     สามารถเปลียนแปลงได เพราะเกิดจากมนุษยกาหนดขึนเอง มาตรการตาง ๆ ทีสราง
                   ่                              ํ       ้                  ่
     มานั้น จะประสบผลขึ้นอยูกับมีคนเชื่อมากนอยเพียงไร ถาตองการใหมีความเชื่อ
     มาก ก็ขนอยูกบการสรางวิธการตาง ๆ เพือใหเกิดศรัทธา
              ึ้  ั          ี               ่
  2. ปรนัยนิยม หรือวัตถุวสัย (Objectivism) มีทรรศนะวามาตรการทางจริยศาสตรนั้น
                          ิ
     มีความแนนอนตายตัวในระดับสูงสุด หรือขันสากล ดังนัน มนุษยจงมีหนาทีคนควา
                                                ้           ้           ึ ่
     ศึกษาใหรมาตรการนัน เทาทียงไมรูก็เปนเพราะยังไมสามารถเขาถึงได
                ู      ้       ่ั
    จริยศาสตรในยุคโบราณ และยุคกลางของชาวตะวันตกและชาวตะวันออก มีความเขม
งวดมาก ทั้งนี้ขึ้นอยูกับมาตรการควบคุมความประพฤติของทางศาสนา และลัทธิความเชื่อ
ในเวลานั้นกําหนดขึ้น ซึ่งมีผลสะทอนปรากฏในผลงานศิลปะทุกสาขาดวย นั่นยอมหมายถึง
มีสวนสงผลตอสุนทรียศาสตรโดยตรง
  เพื่อใหเกิดความกระจางในจริยศาสตร จึงขอนําเสนอคําศัพทที่มักพบเห็นเสมอ ดังนี้
  • จริยธรรม (ethic) มาจากคํา จริย + ธรรม มีแนวในการใชอยู 2 แนวทาง คือ
        ก. เปนความประพฤติทดงาม ทังเพือประโยชนแกตนและสังคม เชน ปฏิบตตามหลัก
                                   ่ี ี     ้ ่                           ั ิ
              ศีลธรรมทางศาสนา ทางวัฒนธรรมประเพณี หลักกฎหมาย และจรรยาบรรณใน
              วิชาชีพ
        ข. เปนเรื่องของความรูสึกนึกคิด และสติปญญาของบุคคล ใชไตรตรอง อะไรควร
              ไมควร
  • จรรยา (eliquette) คือความประพฤติ หมายความวา เปนพฤติกรรมทีควรปฏิบติ   ่      ั
        เปนมารยาททางสังคม และเปนจรรยาบรรณทีบคคลในอาชีพตาง ๆ ควรปฏิบติ เชน ครู
                                                 ่ ุ                          ั
        แพทย ชางหรือศิลปน เปนจรรยาบรรณวิชาชีพ (professional code) อาจมีการเขียน
        กําหนดหรือไมมการเขียนไวกได
                         ี              ็
  • ศีลธรรม (moral) คําวา moral นันนํามาจากภาษาละติน moralis หมายถึง หลักของ
                                          ้
        การประพฤติทดี สวนคําวาศีลธรรม นํามาจากคําในพระพุทธศาสนา หมายถึง หลักของ
                      ี่
        ความประพฤติทดทงาม มีศลมีธรรม
                           ี่ ี ี่    ี



                                                                             บทนํา    9
สุ น ท รี ย ศ า ส ต ร์
     A E S T H E T I C S



        • มโนธรรม (conscience) เปนความรูสึกทางใจ ในเรื่องของความผิดชอบชั่วดี อะไร
          ควรทํา ไมควรทํา
        • คุณธรรม (virtue) เปนสภาพของคุณงามความดี ทั้งในดานความประพฤติ และจิตใจ
          เชน ซื่อสัตยสุจริต อุทิศเสียสละ ความอดกลั้นอดทน ความรับผิดชอบ
        • คตินิยม (ideology) ความคิดหรือความเชื่อ อันมีจุดมุงหมายรวมกันของกลุมชน
          เชน กลุมวิชาชีพ นิกายศาสนา พรรคการเมือง
        • คติชาวบาน เปนเรืองราวความเชือของชาวบานเกียวกับอดีต เลากันปากตอปากและ
                                ่            ่            ่
          ประพฤติสบตอกันมาหลายชัวอายุคน สวนมากมักเปนเรืองของคติความเชือ ประเพณี
                      ื                  ่                    ่            ่
          นิยาย นิทาน เพลง ภาษิตปริศนา บทเสียงทาย งานศิลปกรรม การละเลน ปจจุบน
                                                  ่                               ั
          มีการศึกษากันอยางลึกซึงในมนุษยศาสตร สังคมศาสตร และสุนทรียศาสตร
                                     ้
        • คติธรรม เปนคํานาม หมายถึง ธรรมที่เปนแบบอยาง

                นอกจากนี้ คําวา คติ ยังนําไปใชเพื่อแสดงถึงความคิด ความเชื่อ และประพฤติปฏิบติ
                                                                                             ั
     กันอีกมาก เชน คติโลกวิสัย (secularism) ใชในจริยศาสตร สุนทรียศาสตร และปรัชญาทาง
     ศิลปะอยูมาก เพราะเกี่ยวของกับทางโลกวิสัยโดยตรง ปรากฏในงานศิลปะจํานวนมาก เชน
     คติสขารมณ (hedoism) มีทรรศนะที่เชื่อวาความพึงพอใจในความสุข (pleasure) นั้น เปน
            ุ
     สิ่งประเสริฐสูงสุด และเปนคุณความดีที่แทจริง หลักการของคตินี้แนะนําใหบุคคลมุงแสวงหา
     ความสุขจากรสสัมผัส เปนความสุขทางโลกียสุข ปญหานี้เปนปญหาโลกแตก หรือปญหาที่
     ยังคงเปนปญหามาตั้งแตโบราณกาลจนถึงปจจุบัน ตัวอยางที่ชัดเจน ไดแก แนวคิดในการ
     สรางงานศิลปะในสมัยโรโกโก ในฝรั่งเศส เมื่อคริสตศตวรรษที่ 17 ที่เห็นวางานศิลปะตอง
     ตอบสนองเรื่องของความสุขเทานั้น เปนตน คตินิยมตน หรือ อัตตานิยม (egoism) นับเปน
     คติที่สาคัญ มักพบเห็นเสมอในผูสรางสรรคงานศิลปะ คตินิยมสิทธิสตรี (feminism) ซึ่งเริ่มมี
              ํ
     บทบาทในคริสตศตวรรษที่ 20 เรื่อยมา เมื่อสตรีมีบทบาทตอการสรางสรรคงานศิลปะและ
     หนาที่การงานอยางมากในปจจุบัน คติอณาธิปไตย (anarchism) ที่เกิดจากคติมองโลกใน
     แงราย หรือทุนิยมตอสังคม แนวคิดนี้เชื่อวาอํานาจใด ๆ ที่มนุษยกําหนดขึ้นไมสําคัญ เพราะ
     มนุษยสามารถบริหารและกําหนดตัวเองไดโดยไมจําเปนตองบังคับ
                แนวคิดทางจริยศาสตรเหลานี้ ลวนเขาไปอยูในประเด็นปญหาทางสุนทรียศาสตร
     ทั้งสิ้น


10     บทนํา

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏCUPress
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาPadvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาPadvee Academy
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม ExistentialismPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)Padvee Academy
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทPadvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องPadvee Academy
 
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕Napakan Srionlar
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31Aaesah
 
9789740329640
97897403296409789740329640
9789740329640CUPress
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 Padvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกรมณ รมณ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะBordin Sirikase
 
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพานจิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพานPadvee Academy
 

Mais procurados (20)

วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
 
Personality r1
Personality r1Personality r1
Personality r1
 
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
บทเรียนพระพุทธศาสนา ป.๕
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31
 
9789740329640
97897403296409789740329640
9789740329640
 
ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ
 
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพานจิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะ
 
Content06
Content06Content06
Content06
 

Semelhante a 9789740329237

9789740330905
97897403309059789740330905
9789740330905CUPress
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52juriporn chuchanakij
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับniralai
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียงchamriang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 

Semelhante a 9789740329237 (20)

9789740330905
97897403309059789740330905
9789740330905
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
02life
02life02life
02life
 
What is life
What is lifeWhat is life
What is life
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
 

Mais de CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

Mais de CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740329237

  • 1. บทนํา พอล เคล (Paul Klee, ค.ศ. 1879-1940) ชือผลงาน Seneclo, 1922 ่ ผลงานจิตรกรรมสีนามัน ขนาด 40.6 x 38 ซม., อยูทพพธภัณฑเมืองบาเซิล สวิตเซอรแลนด ํ้  ี่ ิ ิ
  • 2. บทนํา INTRODUCTION คุณสมบัตดงเดิมตามธรรมชาติของคน หรือเรียกวาสัญชาตญาณ เปนสิงทีธรรมชาติให ิ ั้ ่ ่ มาตังแตเกิด มีทงทีเ่ ปนความรูสกและพฤติกรรม โดยไมตองมีใครมาสังสอน เชน ความหวาด ้ ั้ ึ  ่ กลัว ความโกรธ ความรัก ความหิว และอื่น ๆ อีกมาก ยิ่งกวานั้น มนุษยยงไดรูจักพัฒนาสิ่งตาง ๆ ั เหลานี้ใหเจริญกาวหนาขึ้นไปอีก พวกเขารูจักสังเกต จดจํา และมีจินตนาการ นํามาสราง เครื่องไมเครื่องมือเพื่อยังชีพ กอรางสรางบานเรือนสําหรับอยูอาศัย ทําทุกสิ่งทุกอยางเพื่อให ชีวตมีความสุข สะดวกสบาย สิ่งเหลานี้ไดทําใหพนสภาพจากสัตวมาเปนมนุษยอยางสมบูรณ ิ จากชีวิตที่เรียบงายตั้งแตครั้งบรรพกาล ผานยุคกอนประวัติศาสตร สูยุคสมัยโบราณใน สมัยราชอาณาจักรอียิปต สาธารณรัฐกรีซ จักรวรรดิโรมัน และเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน มนุษย ไดสรรสรางสิ่งตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับศิลปะไวมากมายเหลือคณา ทั้งเพื่อประโยชนทางกาย และบํารุงบําเรอจิตวิญญาณ โดยมีสิ่งหนึ่งที่ซอนเรนอยูในสิ่งตาง ๆ เหลานั้นเสมอ นั่นคือ ความงามที่หลากหลาย เปนภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาภาพ ภาษากาย และภาษาเสียง โดย สะทอนถึงความรักความพึงพอใจ ความศรัทธา ความกลัวเกรง และความระทมทุกข สิ่งเหลา นี้คอสิ่งที่เรียกวางานศิลปะ ภาษาพูด ภาษาเขียน ทําใหไดมีบทกวีนิพนธและวรรณกรรม ื ภาษาภาพคืองานจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปตยกรรม ภาษากายกอใหเกิดนาฏศิลป และภาษาเสียงคือดนตรี ซึ่งลวนเปนผลงานหลักของศิลปะและวัฒนธรรม อันเปนแกนสําคัญ แกนหนึ่งในโครงสรางของสังคม จากผลงานศิลปะที่สรางขึ้นอยางเรียบงายตั้งแตโบราณกาล ไดเพิ่มความสลับซับซอน ตามสภาพบริบทตาง ๆ ของสิ่งแวดลอมทางสังคม จึงทําใหเกิดคําถามมากมายเกี่ยวกับ ปญหาทางสุนทรียศาสตร เชน บอเกิดของสุนทรียศาสตรเกิดขึ้นที่ไหน อะไรเปนแรงดลใจ ใหเกิด ความงามกับความไมงาม ความงามกับความดี ความงามกับความจริง มีศาสตร อื่นใดบางที่เขามาเกี่ยวกับสุนทรียศาสตร ปญหาความงามในธรรมชาติกับสุนทรียศาสตร งานศิลปะกับสุนทรียศาสตร วิทยาศาสตรกับสุนทรียศาสตร ฯลฯ อยางไรก็ตาม บอเกิดแหง สุนทรียศาสตรหรือความรูสกในความงามของมนุษยนน พอสรุปไดวา มีแหลงกําเนิดมาจาก ึ ั้  ธรรมชาติกบผลงานศิลปะทุกสาขา ั ปญหาตาง ๆ ทางความงามหรือสุนทรียภาพ จึงกอประเด็นปญหาที่สลับซับซอนและ เปลี่ยนแปลงลึกซึ้งทางสุนทรียศาสตร ซึ่งลวนทาทายการคนหาคําตอบอยูตลอดมา บทนํา 3
  • 3. สุ น ท รี ย ศ า ส ต ร์ A E S T H E T I C S กอนทีจะกลาวถึงสุนทรียศาสตร ซึงมีผลจากศาสตรหลายศาสตรเขามาเกียวของดวย ดวย ่ ่ ่ เหตุนจงขอแนะนําศาสตรตาง ๆ ทีเ่ ขามามีความสัมพันธมาเสนอ เพือทําความเขาใจเบืองตน ี้ ึ  ่ ้ กอน 1. วิิชาปรัชญา (Philosophy) คือวิชาที่วาดวยความจริง แบงออกเปน 4 สาขา คือ 1. อภิปรัชญา (Metaphysics) 2. ญาณวิทยา (Epistemology) 3. จริยปรัชญา (Ethic) 4. ตรรกวิทยา (Logics) ทัง 4 สาขาเรียกปรัชญาบริสทธิ์ (pure philosophy) สวนสุนทรียศาสตรเปนปรัชญาประยุกต ้ ุ (applied philosophy) มีสวนเกี่ยวของกับญาณวิทยา ซึ่งเปนปรัชญาสําคัญสาขาหนึ่งที่วา ดวยบอเกิด ลักษณะหนาที่ ประเภท ระเบียบวิธี และความสมเหตุสมผลของความรู หรือเรียก วาเปน ทฤษฎีความรู (theory of knowledge) เพื่อนํามาใชสอบสวน คนหา และตอบปญหา ถึงแหลงกําเนิดและอื่น ๆ ของสุนทรียภาพ สวนศาสตรแหงคุณคา (axiology) นํามาเพื่อใช เปนหลักเกณฑในการประเมินคุณคาทางสุนทรียภาพ คุณวิทยา, อรรฆวิทยา หรือศาสตรแหงคุณคา (axiology) เปนวิชาทีวาดวยเรืองของคุณคา (value) เปนสาขาหนึงของญาณวิทยา มีการพิจารณาถึง ่ ่ ่ ปญหาคุณคาของสิงตาง ๆ มีดวยกัน 4 ปญหาใหญดวยกัน คือ ่ 1. ลักษณะคุณคา 2. ประเภทคุณคา 3. บรรทัดฐานแหงคุณคา 4. สถานะทางอภิปรัชญาของคุณคา คุณวิทยามีสวนสําคัญโดยตรงกับสุนทรียศาสตรในการพิจารณาปญหาคุณคาทางสุนทรียะ  วาดวยเรืองของความงาม ความดี และความจริงนันมีความสําคัญยิง ในการประเมินคุณคา ่ ้ ่ และการตัดสินเชิงสุนทรียภาพตอสุนทรียศาสตร โดยมีตรรกศาสตรและจริยศาสตรเขามา เกียวของดวย ่ 4 บทนํา
  • 4. คุณวิทยา สามารถแบงออกเปนลักษณะและประเภทได ดังนี้ 1. ลักษณะคุณคา 1.1 คุณภาพ (quality) หมายถึง ลักษณะที่เปนคุณของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือลักษณะ ประจําบุคคลหรือสิ่งของ แบงออกเปน 2 แบบ คือ ก. คุณภาพปฐมภูมิ (primary quality) เปนลักษณะคุณภาพหลัก เชน รูปราง รูปทรง การกินทีในอากาศ การเคลือนไหว การหยุดนิง สิงเหลานีพบไดใน ่ ่ ่ ่ ้ ธรรมชาติ และงานจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปตยกรรม และอืน ๆ ตัวอยาง ่ เชน เสียงเปนคุณภาพปฐมภูมของดนตรี ิ ข. คุณภาพทุติยภูมิ (secondary quality) เปนลักษณะคุณภาพรอง ไมมีอยู ในสิ่งนั้น เกิดคุณภาพไดขนอยูกบการรับรูของผูหนึงผูใดรับรส เชน ไดยนเสียง ึ้  ั   ่  ิ ไดเห็นสี ไดกลิน ไดรรส ไดสมผัส ซึงมีผลตอการเกิดอารมณสนทรียภาพ ่ ู ั ่ ุ 1.2 คุณลักษณะ (attribute) เปนลักษณะประจําที่เปนสวนสําคัญและจําเปนอัน ขาดมิไดของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งทําใหสิ่งนั้นแตกตางไปจากสิ่งอื่น ๆ เชน ไมมีคุณ- ลักษณะแตกตางไปจากเหล็ก จิตรกรรมมีคุณลักษณะแตกตางไปจากดนตรี 1.3 คุณคา คา (value) เปนคําทีใชกนทัวไป หมายถึง สิงใดก็ตามทีเ่ ชือวามีคณคา ่ ั ่ ่ ่ ุ เพราะตอบสนองความปรารถนาของมนุษย หรือคุณคาที่เปนประโยชนนาสนใจ  ตอบุคคล ความมีคาหรือมีคณคาสําหรับแตละคนไมเหมือนกัน หรืออาจคลายกัน  ุ ก็ได โดยเฉพาะคุณคาทางนามธรรม เชน ความงามหรือสุนทรียภาพเปนคุณคา ของงานศิลปะ สวนความดีเปนคุณคาทางจริยศาสตร 1.4 คุณสมบัติ สมบัติ (property) หมายถึง คุณหรือคุณคาประจําตัวของบุคคล หรือสิ่งตาง ๆ ซึ่งมีอยูแลว กอนที่จะไดมาซึ่งสิทธิหรือตําแหนงหรือเปนอยู 1.5 คุณพิเศษ คุณวิเศษ ความดีที่แปลกกวาสามัญชนทั่วไป 1.6 คุณธรรม (virtue) สภาพคุณความดี 1.7 คานิยม (good will value) เปนคุณคาทีเ่ กิดจากบุคคลหรือกลุมบุคคลใหคานิยม   สิงใดสิงหนึงรวมกัน ่ ่ ่ คําเหลานี้ลวนมีการนํามาใชในสุนทรียศาสตรกันมาก บทนํา 5
  • 5. สุ น ท รี ย ศ า ส ต ร์ A E S T H E T I C S 2. ประเภทคุณคา แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 2.1 คุณคานอกตัว (extrinsic value) หมายถึง คุณคาของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีคา อยูนอกตัว หมายความวา ถาเราตองการสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ไมใชจากสิ่งนั้น ๆ หากแต เปนความตองการเพราะสิ่งนั้นมีคานอกตัวสําหรับไปไดสิ่งอื่น เชน ตองการซื้อ งานจิตรกรรมภาพนั้น ไมใชเกิดจากเห็นคุณคาในงาน แตเปนเพราะผลงานภาพ นั้นมีคุณคานอกตัว สามารถนําไปขายไดเงินมากกวาที่ซื้อมา เงินเปนคุณคา นอกตัว สําหรับใชจายซื้อสิ่งของตาง ๆ เพื่อบํารุงบําเรอความสุข  2.2 คุณคาในตัว (intrinsic value) การที่สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีคาในตัวเอง หมายความ วา เราตองการสิ่งนั้นเพราะตัวสิ่งนั้นมีคณคาอยูในตัวเอง คุณคาตรงนี้ตรงขาม ุ กับคุณคานอกตัว เชน เห็นคุณคาในตัวของงานศิลปะ 3. บรรทัดฐานแหงคุณคา แบงออกเปน 2 ประเภทใหญดวยกัน คือ 3.1 คุณคาเชิงวัตถุวสัย (objective value) เปนมาตรฐานการชีขาดของการ ิ ้ ตัดสินขึนอยูกบคุณคาทางวัตถุวสยหรือปรนัยวิสยทีเ่ คยยึดถือ และยอมรับกัน ้ ั ิ ั ั ในกลุมสังคม เชน คุณคาของศิลปวัตถุตาง ๆ มีอยูแลวในตัวของมันเอง นอกจาก    นี้ นักสุนทรียศาสตรแนววัตถุนยมยังถือเปนคุณคาทีสาคัญ เพราะเชือวามีวตถุ ิ ่ํ ่ ั จึงทําใหมสนทรียภาพเกิดขึน ีุ ้ 3.2 คุณคาเชิงจิตวิสัย (subjective value) เปนมาตรฐานการตัดสินที่ขึ้นอยูกับ การประเมินของบุคคลหรือของกลุม ยึดถือตามสถานการณทางสังคม กําหนด และยึดถือกันมา มีการใชความรูสึกเปนตัวกําหนด คุณคาเชิงจิตวิสัยนี้ถือเอา ความรูสึกที่เปนนามธรรมมีความสําคัญสูงสุด เปนทรรศนะตรงกันขามกับ คุณคาเชิงวัตถุวสย เชื่อวาเพราะมีจิตกําหนดจึงทําใหเกิดสุนทรียภาพ ิ ั นอกจากนี้ บรรทัดฐานแหงคุณคายังมีทรรศนะและการนําไปใชทแตกตางออกไปอีก เชน ี่ คุณคาทางจริยธรรม คุณคาทางประเพณี เปนตน อีกทั้งยังแบงคุณคาออกไปอีกเปนคุณคา ทางเศรษฐกิจ คุณคาทางสุนทรียศาสตร คุณคาทางจริยศาสตร คุณคาทางตรรกศาสตร คุณคาทางวิทยาศาสตร คุณคาทางญาณวิทยา คุณคาทางอภิปรัชญา และอื่น ๆ 6 บทนํา
  • 6. ปญหาเรื่องคุณคาจึงเปนประเด็นปญหาใหญ โดยเฉพาะเรื่องบรรทัดฐานแหงคุณคานั้น ยังแบงออกเปน มีความเชื่อวาคุณคามีความคงที่ถาวรไมเปลี่ยนแปลง หรือไมมีมาตรฐาน ของบรรทัดฐานที่แนนอน เปลี่ยนแปลงได นอกจากนี้ ปญหาเรื่องของคุณคายังมีคุณคาที่เปด เผยเห็นไดชัดเจน ไมตองการคําอธิบาย กับคุณคาที่แฝงเรน สามารถรูไดดวยการสํานึก ความ ซาบซึ้ง และการอรรถาธิบาย ดังเชน คุณคาทางสุนทรียศาสตรที่มีคุณคาทั้งสองประการ ตรรกศาสตร ตรรกวิทยา (logic, logics) เปนศาสตรหนึ่งในวิชาปรัชญาวาดวยเรื่อง วิธีของการวิเคราะหและการตัดสินตามสมเหตุสมผลในการอางเหตุผล คําที่ใชในตรรกะ (logical term) สําหรับขอเสนอหรือขอความ มีทั้งที่เปนประโยคบอกเลาและประโยคปฏิเสธ มีเนื้อหาเปนขอเท็จจริงหรือความจริงอยางใดอยางหนึ่งเทานั้น จะมีความหมายกํากวมไมได หรือสรางประพจน (proposition) หรือขอเสนอใหม คําตรรกะที่ใชกันมากไดแก และ หรือ ไม ถา-ก็ ทุก บาง เปนตน ตรรกศาสตร เปนศาสตรที่ละเอียดออนซับซอน มีทั้งการใชคณิตศาสตร เชน คณิต ตรรกศาสตร (mathematic logic) ตรรกศาสตรสัญลักษณ (symbolic logic) ที่ใชภาษา สัญลักษณแทนภาษาถอยคํา วิชานี้ใชกันมากในศาสตรอื่น ๆ สวนในสุนทรียศาสตรนั้นนํามา ใชบาง เพราะเปนเรื่องของความรูสกคอนขางมาก ึ บทนํา 7
  • 7. สุ น ท รี ย ศ า ส ต ร์ A E S T H E T I C S จริยศาสตร (ethics) เปนสาขาหนึงในวิชาปรัชญา จึงมีอกชือหนึงวา จริยปรัชญา มีสวนเกียวของกับกฎเกณฑ ่ ี ่ ่  ่ ขอบังคับในทางศาสนา และความเชือในลัทธิตาง ๆ อยูบาง แตจริยศาสตรหรือจริยปรัชญา ่    ตางจากหลักศาสนาไปบางตรงทีมงเนนถึงเนือหาสาระหรือแกน(substance)เนือหา(content) ่ ุ ้ ้ เนือเรือง (subject matter) สาระหรือแกนสาร (essence) ทีวาดวยเรืองของการแสวงหาความดี ้ ่ ่ ่ สูงสุดของชีวิตมนุษย คนหาเกณฑในการพิจารณาตัดสินความประพฤติของมนุษยวาอยาง ไหนผิดไมผด ถูกไมถก ดีไมดี ควรไมควร และพิจารณาปญหาเรืองสถานภาพของคุณคาทาง ิ ู ่ ศีลธรรม ซึ่งสุนทรียศาสตรบางสํานักยึดถือเปนมาตรฐานสําคัญสําหรับเกณฑการตัดสินเชิง สุนทรียภาพ สํานักจริยศาสตรมทรรศนะตางกันอยูหลายสํานัก เชน พวกอาเวค (อารมณ) นิยม (Emotiv- ี  ism) มีหลักทฤษฎีอาเวคนิยม (Emotion Theory Ethics) เชือในการตัดสินดวยอารมณ ความ ่ รูสกเกียวกับศีลธรรมสําคัญมากกวาอาศัยขอเท็จจริง สวนพวกจริยศาสตรแบบธรรมชาตินยม  ึ ่ ิ (Natural Ethics) มีทรรศนะวาควรหาวิธขอเท็จจริงเชิงประจักษ (empirical fact) มีกรอบการ ี ศึกษายึดถือมนุษยในสังคม เกียวของกับอะไรถูกอะไรผิดอะไรดีไมดี สํานักนีไมนยมคนหา ่ ้ ิ เกณฑการตัดสินตายตัว หากเชือในสิงหรือประสบการณทเี่ ปนอยูทเี่ กิดขึนตามธรรมชาติเปน ่ ่  ้ ขอเท็จจริงทางธรรมชาติ จริยศาสตรแนวประโยชนนยม (Utilitarianism) ของจอหน สจวต ิ มิลล (ค.ศ. 1806-1873) ทีเ่ ชือวาการมีศลธรรมดีหรือไมดขนอยูกบการนําความสุขสูมหาชน ่ ี ี ึ้  ั  เชน ดุรยางคศิลปเปนสิงทีดี ดวยเหตุผลเพราะทําใหเกิดความรืนรมย ิ ่ ่ ่ จริยศาสตรมสวนเขามาสัมพันธกบสุนทรียศาสตรคอนขางแนบแนน โดยเปนหนึงในปญหา ี ั  ่ หลักของสุนทรียภาพในเรืองของความดีหรือจริยธรรม ความสุนทรียหรือความงาม และความ ่  จริงหรือสัจธรรม ซึงจําเปนตอการสอบสวน วิเคราะห และวิจยในงานศิลปะทุกสาขา เชน ยุค ่ ั กอนประวัตศาสตร และยุคประวัตศาสตร มีสวนผูกพันกับสุนทรียศาสตรคอนขางมาก โดยมี ิ ิ   ศาสนาเปนหลัก สวนยุคสมัยใหมแมจะลดบทบาทลงบางจากลัทธิศลปะบางลัทธิทมทรรศนะ ิ ี่ ี วา การสรางสรรคงานไมจาเปนตองคํานึงถึงเพราะไมใชหนาที่ แตกยงมีความสําคัญอยูไมนอย ํ ็ั   เนืองจากยังมีผเู ห็นดวยอยูเ ชนกัน ่ 8 บทนํา
  • 8. แนวคิดในเรื่องมาตรการในจริยศาสตร แบงออกเปน 2 แนวทาง คือ 1. อัตนัยนิยม หรือจิตวิสย (Subjectivism) เชือวาจริยศาสตรไมมมาตรการตายตัว ั ่ ี สามารถเปลียนแปลงได เพราะเกิดจากมนุษยกาหนดขึนเอง มาตรการตาง ๆ ทีสราง ่ ํ ้ ่ มานั้น จะประสบผลขึ้นอยูกับมีคนเชื่อมากนอยเพียงไร ถาตองการใหมีความเชื่อ มาก ก็ขนอยูกบการสรางวิธการตาง ๆ เพือใหเกิดศรัทธา ึ้  ั ี ่ 2. ปรนัยนิยม หรือวัตถุวสัย (Objectivism) มีทรรศนะวามาตรการทางจริยศาสตรนั้น ิ มีความแนนอนตายตัวในระดับสูงสุด หรือขันสากล ดังนัน มนุษยจงมีหนาทีคนควา ้ ้ ึ ่ ศึกษาใหรมาตรการนัน เทาทียงไมรูก็เปนเพราะยังไมสามารถเขาถึงได ู ้ ่ั จริยศาสตรในยุคโบราณ และยุคกลางของชาวตะวันตกและชาวตะวันออก มีความเขม งวดมาก ทั้งนี้ขึ้นอยูกับมาตรการควบคุมความประพฤติของทางศาสนา และลัทธิความเชื่อ ในเวลานั้นกําหนดขึ้น ซึ่งมีผลสะทอนปรากฏในผลงานศิลปะทุกสาขาดวย นั่นยอมหมายถึง มีสวนสงผลตอสุนทรียศาสตรโดยตรง เพื่อใหเกิดความกระจางในจริยศาสตร จึงขอนําเสนอคําศัพทที่มักพบเห็นเสมอ ดังนี้ • จริยธรรม (ethic) มาจากคํา จริย + ธรรม มีแนวในการใชอยู 2 แนวทาง คือ ก. เปนความประพฤติทดงาม ทังเพือประโยชนแกตนและสังคม เชน ปฏิบตตามหลัก ่ี ี ้ ่ ั ิ ศีลธรรมทางศาสนา ทางวัฒนธรรมประเพณี หลักกฎหมาย และจรรยาบรรณใน วิชาชีพ ข. เปนเรื่องของความรูสึกนึกคิด และสติปญญาของบุคคล ใชไตรตรอง อะไรควร ไมควร • จรรยา (eliquette) คือความประพฤติ หมายความวา เปนพฤติกรรมทีควรปฏิบติ ่ ั เปนมารยาททางสังคม และเปนจรรยาบรรณทีบคคลในอาชีพตาง ๆ ควรปฏิบติ เชน ครู ่ ุ ั แพทย ชางหรือศิลปน เปนจรรยาบรรณวิชาชีพ (professional code) อาจมีการเขียน กําหนดหรือไมมการเขียนไวกได ี ็ • ศีลธรรม (moral) คําวา moral นันนํามาจากภาษาละติน moralis หมายถึง หลักของ ้ การประพฤติทดี สวนคําวาศีลธรรม นํามาจากคําในพระพุทธศาสนา หมายถึง หลักของ ี่ ความประพฤติทดทงาม มีศลมีธรรม ี่ ี ี่ ี บทนํา 9
  • 9. สุ น ท รี ย ศ า ส ต ร์ A E S T H E T I C S • มโนธรรม (conscience) เปนความรูสึกทางใจ ในเรื่องของความผิดชอบชั่วดี อะไร ควรทํา ไมควรทํา • คุณธรรม (virtue) เปนสภาพของคุณงามความดี ทั้งในดานความประพฤติ และจิตใจ เชน ซื่อสัตยสุจริต อุทิศเสียสละ ความอดกลั้นอดทน ความรับผิดชอบ • คตินิยม (ideology) ความคิดหรือความเชื่อ อันมีจุดมุงหมายรวมกันของกลุมชน เชน กลุมวิชาชีพ นิกายศาสนา พรรคการเมือง • คติชาวบาน เปนเรืองราวความเชือของชาวบานเกียวกับอดีต เลากันปากตอปากและ ่ ่ ่ ประพฤติสบตอกันมาหลายชัวอายุคน สวนมากมักเปนเรืองของคติความเชือ ประเพณี ื ่ ่ ่ นิยาย นิทาน เพลง ภาษิตปริศนา บทเสียงทาย งานศิลปกรรม การละเลน ปจจุบน ่ ั มีการศึกษากันอยางลึกซึงในมนุษยศาสตร สังคมศาสตร และสุนทรียศาสตร ้ • คติธรรม เปนคํานาม หมายถึง ธรรมที่เปนแบบอยาง นอกจากนี้ คําวา คติ ยังนําไปใชเพื่อแสดงถึงความคิด ความเชื่อ และประพฤติปฏิบติ ั กันอีกมาก เชน คติโลกวิสัย (secularism) ใชในจริยศาสตร สุนทรียศาสตร และปรัชญาทาง ศิลปะอยูมาก เพราะเกี่ยวของกับทางโลกวิสัยโดยตรง ปรากฏในงานศิลปะจํานวนมาก เชน คติสขารมณ (hedoism) มีทรรศนะที่เชื่อวาความพึงพอใจในความสุข (pleasure) นั้น เปน ุ สิ่งประเสริฐสูงสุด และเปนคุณความดีที่แทจริง หลักการของคตินี้แนะนําใหบุคคลมุงแสวงหา ความสุขจากรสสัมผัส เปนความสุขทางโลกียสุข ปญหานี้เปนปญหาโลกแตก หรือปญหาที่ ยังคงเปนปญหามาตั้งแตโบราณกาลจนถึงปจจุบัน ตัวอยางที่ชัดเจน ไดแก แนวคิดในการ สรางงานศิลปะในสมัยโรโกโก ในฝรั่งเศส เมื่อคริสตศตวรรษที่ 17 ที่เห็นวางานศิลปะตอง ตอบสนองเรื่องของความสุขเทานั้น เปนตน คตินิยมตน หรือ อัตตานิยม (egoism) นับเปน คติที่สาคัญ มักพบเห็นเสมอในผูสรางสรรคงานศิลปะ คตินิยมสิทธิสตรี (feminism) ซึ่งเริ่มมี ํ บทบาทในคริสตศตวรรษที่ 20 เรื่อยมา เมื่อสตรีมีบทบาทตอการสรางสรรคงานศิลปะและ หนาที่การงานอยางมากในปจจุบัน คติอณาธิปไตย (anarchism) ที่เกิดจากคติมองโลกใน แงราย หรือทุนิยมตอสังคม แนวคิดนี้เชื่อวาอํานาจใด ๆ ที่มนุษยกําหนดขึ้นไมสําคัญ เพราะ มนุษยสามารถบริหารและกําหนดตัวเองไดโดยไมจําเปนตองบังคับ แนวคิดทางจริยศาสตรเหลานี้ ลวนเขาไปอยูในประเด็นปญหาทางสุนทรียศาสตร ทั้งสิ้น 10 บทนํา