SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
โรคเอดส์

เอดส์ คือ อะไร เอดส์ หรือ AIDS (Acquired Immune Deficiency
Syndrome) เป็นกลุ่มอาการของโรค ที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอดส์
  ซึ่งจะเข้าไปทำาลายเม็ดเลือกขาว ซึ่งเป็นแหล่งสร้างภูมิคุ้มกันโรค
ทำาให้ติดเชื้อโรคอื่นๆ ได้ง่ายขึน เช่น วัณโรค ปอดบวม เยื่อหุ้มสมอง
                                 ้
 อักเสบ หรือเป็นมะเร็งบางชนิดได้ง่ายกว่าคนปกติ อาการจะรุนแรง
                 และเป็นสาเหตุสำาคัญของการเสียชีวิต
       โรคเอดส์ ( AIDS ) คือ อะไร โรคเอดส์ หรือ โรคภูมิคุ้มกัน
บกพร่อง เป็นกลุ่มอาการเจ็บป่วยที่เกิดขึนเพราะร่างกายได้รับเชื้อไว
                                         ้
    รัสเอชไอวี ซึ่งจะเข้าไปทำาลายเม็ดเลือดขาว ที่เป็นแหล่งสร้าง
ภูมิคุ้มกันโรค ทำาให้ภูมิคุ้มกันโรคลดน้อยลง จึงทำาให้ติดเชื้อโรคฉวย
 โอกาสแทรกซ้อนเข้าสู่ร่างกายได้ง่ายขึ้น เช่น วัณโรคในปอด หรือ
 ต่อมนำ้าเหลือง เยือหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อรา โรคผิวหนังบางชนิด
                    ่
  หรือเป็นมะเร็งบางชนิดได้ง่ายกว่าคนปกติ ซึ่งสาเหตุของการเสีย
 ชีวิตมักเกิดขึ้นจากโรคติดเชื้อฉวยโอกาสต่างๆ เหล่านี้ทำาให้อาการ
                  จะรุนแรง และเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว
  ปัจจุบันโรคเอดส์มีการตรวจพบทั่วโลก และประมาณการว่ามีผู้เสีย
 ชีวิตเนื่องจากโรคเอดส์ อย่างน้อย 25 ล้านคน ตั้งแต่ถูกค้นพบในปี
   พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) นับเป็นโรคที่มีอันตรายสูงโรคหนึ่งของ
เอดส์ ติดต่อกันได้อย่างไร

  1. การร่วมเพศ โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัย ไม่ว่า
   ชายกับชาย ชายกับหญิง หรือหญิงกับหญิง ทั้ง
   ช่องทางธรรมชาติ หรือไม่ธรรมชาติ ก็ล้วนมี
   โอกาสติดโรคนีได้ทงสิ้น และปัจจัยทีทำาให้มี
                 ้    ั้                ่
   โอกาสติดเชื้อมากขึ้น ได้แก่ การมีแผลเปิด
   และจากข้อมูลของสำานักระบาดวิทยา ประมาณ
   ร้อยละ 84 ของผู้ป่วยเอดส์ ได้รับเชื้อจากการมี
   เพศสัมพันธ์
2. การรับเชื้อทางเลือด ใช้เข็มหรือกระบอก
ฉีดยาร่วมกับผู้ติดเชื้อเอดส์ มักพบในกลุ่มผู้
ฉีดยาเสพติด และหากคนกลุ่มนี้ติดเชือ ก็
                                    ้
สามารถถ่ายทอดเชื้อเอดส์ ทางเพศสัมพันธ์
ได้อีกทางหนึ่ง
- รับเลือดในขณะผ่าตัด หรือเพื่อรักษาโรค
เลือดบางชนิด ในปัจจุบนเลือดที่ได้รับ
                         ั
บริจาคทุกขวด ต้องผ่านการตรวจหาการติด
เชือเอดส์ และจะปลอดภัยเกือบ 100%
   ้
– 3. ทารก ติดเชือจากแม่ที่ติดเชื้อเอดส์
                 ้
  การแพร่เชือจากแม่สู่ลูก ผูหญิงที่ติดเชือ
               ้             ้           ้
  เอดส์ หากตั้งครรภ์ และไม่ได้รับการดูแล
  อย่างดี เชือเอช ไอ วี จะแพร่ไปยังลูกได้
             ้
  ในอัตราร้อยละ 30 จากกรณีเกิดจากแม่
  ติดเชือ จึงมีโอกาสที่จะรับเชือเอช ไอ วี
        ้                      ้
  จากแม่ได้
   3. ทารก ติดเชือจากแม่ที่ติดเชื้อเอดส์ การ
                  ้
    แพร่เชือจากแม่สู่ลูก ผูหญิงที่ติดเชื้อเอดส์
           ้               ้
    หากตั้งครรภ์ และไม่ได้รับการดูแลอย่างดี
    เชือเอช ไอ วี จะแพร่ไปยังลูกได้ ในอัตรา
       ้
    ร้อยละ 30 จากกรณีเกิดจากแม่ติดเชื้อ จึงมี
    โอกาสที่จะรับเชื้อเอช ไอ วี จากแม่ได้
เอดส์ มีอาการอย่างไร
   เอดส์ มีอ าการอย่า งไร คนที่สัมผัสกับ
    โรคเอดส์หรือคนที่ได้รับเชือเอดส์เข้าไปใน
                               ้
    ร่างกายไม่จำาเป็นต้องมีการติดเชือเอดส์
                                      ้
    เสมอไปขึ้นกับจำานวนครั้งที่สมผัสจำานวน
                                 ั
    และความดุร้ายของไวรัสเอดส์ที่เข้าสู่
    ร่างกายและภาวะภูมิต้านทานของร่างกาย
    ถ้ามีการติดเชื้ออาการที่เกิดขึ้นมีได้หลายรูป
    แบบหรือหลายระยะตามการดำาเนินของโรค
ระยะอาการ
   ระยะที่ 1 : ระยะที่ไ ม่ม ีอ าการอะไร
    – ภายใน2-3 อาทิตย์แรกหลังจากได้รับเชื้อเอดส์
      เข้าไป ราวร้อยละ 10 ของผู้ติดเชื้อจะมีอาการ
      คล้ายๆ ไข้หวัด คือมีไข้ เจ็บคอ ปวดศีรษะ ปวด
      เมือยตามตัว ต่อมนำ้าเหลืองโต ผื่นตามตัว แขน
         ่
      ขาชาหรืออ่อนแรง เป็นอยู่ราว 10-14 วันก็จะ
      หายไปเอง ผู้ป่วยส่วนใหญ่อาจไม่สังเกต นึกว่า
      คงเป็นไข้หวัดธรรมดาราว 6-8 สัปดาห์ภาย
      หลังติดเชื้อ
– ระยะที่ 2: ระยะทีเ ริ่ม มีอ าการหรือ ระยะที่
                         ่
  มีอ าการสัม พัน ธ์ก บ เอดส์
                           ั
– เป็นระยะทีคนไข้เริ่มมีอาการ แต่อาการนั้นยัง
               ่
  ไม่มากถึงกับจะเรียกว่าเป็นโรคเอดส์เต็มขั้น
  อาการในช่วงนีอาจเป็นไข้เรื้อรัง นำ้า หนักลด
                    ้
  หรือท้องเสียงเรื้อรัง โดยไม่ทราบสาเหตุ
  นอกจากนีอาจมีเชื้อราในช่องปาก(รูปที่ 3),
             ้
  งูสวัด(รูปที่ 4), เริมในช่องปาก หรืออวัยวะ เพศ
  ผื่นคันตามแขนขา และลำาตัวคล้ายคนแพ้
  นำ้าลายยุง(รูปที่ 5) จะเห็นได้ว่า อาการทีเรียก
                                           ่
  ว่าสัมพันธ์กบเอดส์นน ไม่จำาเพาะสำาหรับโรค
                 ั           ั้
– ระยะที่ 3 : ระยะโรคเอดส์เ ต็ม ขั้น หรือ ที่
  ภาษาทางการเรีย กว่า โรคเอดส์
– เป็นระยะทีภมต้านทานของร่ายกายเสียไปมาก
             ่ ู ิ
  แล้วผู้ป่วยจะมีอาการของการติดเชื้อจำาพวก
  เชื้อฉกฉวยโอกาสบ่อยๆและเป็นมะเร็งบางชนิด
  เช่นแคโปซี่ซาร์โคมา(Kaposi'ssarcoma)และ
  มะเร็งปากมดลูก การติดเชื้อฉกฉวยโอกาส
  หมายถึงการติดเชื้อทีปกติมีความรุนแรงตำ่าไม่
                      ่
  ก่อโรคในคนปกติแต่ถ้าคนนันมีภมต้านทานตำ่า
                             ้   ู ิ
  ลงเช่นจากการเป็นมะเร็งหรือจากการได้รับยา
  ละทำาให้เกิดวัณโรคทีปอดต่อมนำ้าเหลืองตับหรือ
                        ่
อาการของเอดส์ มี 2 ระยะ
1. ระยะไม่มีอาการ ผู้ติดเชื้อจะมีสุขภาพแข็งแรง ไม่มี
   อาการผิดปกติแต่อย่างใด ผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่จะอยู่ใน
   ระยะนี้ และบางคนไม่ทราบว่า ตัวเองติดเชื้อ จึงอาจ
   แพร่เชื้อไปสู่ผู้อื่นได้
2. ระยะมีอาการ ผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่จะเริ่มแสดงอาการ
   ภายหลังจากได้รับเชื้อประมาณ 7-8 ปี แบ่งเป็น 2 ระยะ
   คือ
- ระยะเริ่มปรากฎอาการ อาการที่พบคือ มีเชื้อราในปาก
   ต่อมนำ้าเหลืองโต งูสวัด มีไข้ ท้องเสีย นำ้าหนักลด มีตุ่ม
   คันบริเวณผิวหนัง
- ระยะโรคเอดส์ เป็นระยะที่มีภูมิต้านทานลดลงมาก ทำาให้
ป้องกันตัวเอง ไม่ให้ติดเชื้อเอดส์
ได้อย่างไร
  – รักเดียว ใจเดียว หากจะมีเพศสัมพันธ์กับหญิง
    ควรใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้ง ทีมเพศสัมพันธ์
                                 ่ ี
  – ขอรับบริการปรึกษา เรื่อง โรคเอดส์ ก่อน
    แต่งงาน และก่อนที่จะมีบุตรทุกท้อง
  – ไม่ดื่มเหล้า และงดใช้สารเสพติดทุกชนิด
วิธีใช้ถุงยางอนามัย

   วิธ ใ ช้ถ ุง ยางอนามัย
        ี
วันเอดส์โลก

   วันที่ 1 ธันวาคม ของทุกปี ซึ่งองค์การอนามัยโลก
    ได้กำาหนดให้เป็นวันเอดส์โลก
    วัต ถุป ระสงค์ข องวัน เอดส์โ ลก
    1. เพื่อให้ทุกคนได้ตระหนักถึงอันตรายจากการ
    ติดต่อและการเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์
    2. เพื่อสร้างเสริมและสนับสนุนให้มมาตรการการ
                                       ี
    ป้องกันให้มากยิงขึ้นในสังคมทุกระดับ
                     ่
    3. เพื่อให้มการจัดกิจกรรมต่อต้านต่างๆ ดำาเนินไป
                  ี
    อย่างต่อเนือง
                ่
    4. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการยอมรับและห่วงใยต่อผู้
    ป่วยและผู้ติดเชื้อ
คำาขวัญวันเอดส์โลก
   คำา ขวัญ วัน เอดส์โ ลก ค.ศ.2000 หรือ พ.ศ. 2543 Men make a
    difference เอดส์ลดหรือเพิ่ม เริ่มที่ผู้ชาย
   ค.ศ.2001 หรือ พ.ศ. 2544 I care....Do you? เอดส์ลดแน่ ถ้าคุณ
    ร่วมแก้ไข
   ค.ศ.2002 หรือ พ.ศ. 2545 Stigma and Discrimination -- Live
    and Let Live ทุกชีวิตมีคุณค่า โปรดอย่าตัดสินด้วยเอดส์
   ค.ศ.2003 หรือ พ.ศ. 2546 Stigma and Discrimination -- Live
    and Let Live ทุกชีวิตมีคุณค่า โปรดอย่าตัดสินด้วยเอดส์
   ค.ศ.2004 หรือ พ.ศ. 2547 Woman, girls, HIV and AIDS
    เยาวชนรุ่นใหม่... เข้าใจเรื่องเพศ...ร่วมป้องกันเอดส์
                   ...
   ค.ศ.2005 หรือ พ.ศ. 2548 Stop AIDS Keep the promiss เอดส์
    หยุดได้ ร่วมใจรักษาสัญญา
   ค.ศ.2006 หรือ พ.ศ. 2549 Stop AIDS Keep the promiss เอดส์
    หยุดได้ ร่วมใจรักษาสัญญา
   ค.ศ.2007 หรือ พ.ศ. 2550 Stop AIDS Keep the promiss เอดส์
    หยุดได้ ร่วมใจรักษาสัญญา
   ค.ศ.2008 หรือ พ.ศ. 2551 Stop AIDS Keep the promiss เอดส์
คำา ถาม - คำา ตอบ

– คำา ถาม - คำา ตอบ
  1. เอดส์ รู้ไ ด้อ ย่า งไรว่า ติด แล้ว เนื่องจาก
  โรคนี้แสดงอาการช้า แต่สามารถทราบได้ โดย
  การตรวจเลือด หากต้องการผลทีแม่นยำา ควร
                                      ่
  ตรวจภายหลังจากมีพฤติกรรมเสียง 6 สัปดาห์
                                    ่
  ขึ้นไป
  2. เอดส์ รัก ษาได้ห รือ ไม่
– ขณะนียังไม่มยารักษาโรคเอดส์ให้หายได้ ยาที่
         ้       ี
  ใช้ปัจจุบันจะช่วยยับยัง ไม่ให้ไวรัสเอดส์เพิม
                          ้                    ่
  จำานวนมากขึ้น ในร่างกายผู้ติดเชื้อ และผู้ป่วย
  เอดส์จะมีสุขภาพแข็งแรง สามารถทำางานได้
คำา ถาม - คำา ตอบ
3. เอดส์ ใครบ้า งที่ค วรตรวจหาเชื้อ เอดส์
– - ผู้มีพฤติกรรมเสี่ยง และต้องการรู้ว่าตนเองติดเชื้อเอดส์หรือไม่
– - ผู้ที่ตัดสินใจจะมีคู่ หรืออยูกินฉันท์สามีภรรยา
                                     ่
– - ผู้ที่สงสัยว่า คู่นอนของตนจะมีพฤติกรรมเสี่ยง
– - ผู้ที่คิดจะมีบุตร ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของแม่และลูก
– - ผู้ที่ต้องการข้อมูลสนับสนุนเรื่องความปลอดภัย และสุขภาพของ
   ร่างกาย เช่น ผู้ที่ต้องไปทำางานในต่างประเทศ (บางประเทศ)
   4. เอดส์ เราอยู่ร ่ว มกัน ได้ อย่า งไร
– คนที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี สามารถอยูร่วมกับสังคม และครอบครัวได้
                                        ่
   และทำางานได้เหมือนกับคนทั่วไป เพราะเชื้อเอช ไอ วี ไม่ได้ติดต่อ
   กันโดย การสัมผัส การกอดจูบ การรับประทานอาหาร การขับถ่าย
   การใช้ของร่วมกัน การอยูใกล้กัน การสนทนากัน หรือถูกยุงกัด
                                   ่
   ดังนั้น จึงไม่ต้องแยกวงรับประทานอาหาร ไม่ต้องแยกห้องนอน
   ห้องนำ้า อุปกรณ์ของใช้ต่างๆ หรือห้องทำางาน
คำา ถาม - คำา ตอบ
– 5. บริก ารปรึก ษา ปัญ หาสุข ภาพ ได้ท ี่ไ หน
– - กลุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สำานักโรคเอดส์
       ่
  วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โทร. 0-2286-
  0431, 0-2286-4483
– - โรงพยาบาลบำาราศนราดูร โทร. 0-2590-3737, 0-
  2590-3510
– - กองควบคุมโรคเอดส์ กทม. โทร. 0-2860-8751-6 ต่อ
  407-8
– - มูลนิธิศนย์ฮอทไลน์ โทร. 0-2277-7699, 0-2277-
            ู
  8811 (โทรฟรี)
– - มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ โทร. 0-2372-2222
– - สถานบริการสาธารณสุข และโรงพยาบาลของรัฐทุก
เรื่อ งโรคเอดส์
      จัดทำาโดย



   นายสิทธิศักดิ์ ติจะนา

   ชั้นปีที่ 4/2 เลขที่ 8

More Related Content

What's hot

ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก sivapong klongpanich
 
ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..Prachaya Sriswang
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆวัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆUtai Sukviwatsirikul
 
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopitโรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopitUtai Sukviwatsirikul
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุtechno UCH
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยBallista Pg
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)yahapop
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1Prachaya Sriswang
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 

What's hot (20)

Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
HIV
HIV HIV
HIV
 
STD
STD STD
STD
 
สอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.pptสอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.ppt
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆวัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
 
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopitโรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
 
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็กโรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
CA Cervix
CA CervixCA Cervix
CA Cervix
 

Viewers also liked

Sex education
Sex education Sex education
Sex education atit604
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558Utai Sukviwatsirikul
 
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาsportrnm
 
HIV AIDS presentation
HIV AIDS presentationHIV AIDS presentation
HIV AIDS presentationjschmied
 
9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรbo2536
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
การใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสการใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสWitsanu Rungsichatchawal
 
สอนการใช้ยาต้านไวรัสเอซไอวีสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาใหม่
สอนการใช้ยาต้านไวรัสเอซไอวีสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาใหม่สอนการใช้ยาต้านไวรัสเอซไอวีสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาใหม่
สอนการใช้ยาต้านไวรัสเอซไอวีสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาใหม่duangkaew
 
Aids Powerpoint
Aids PowerpointAids Powerpoint
Aids Powerpointjoeyprince
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์nuttanansaiutpu
 
งานนำเสนอIs
งานนำเสนอIsงานนำเสนอIs
งานนำเสนอIsChii's Pawadee
 
การตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
การตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
การตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นwunnapa
 
ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียนปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียนAor-Thanapol Kanhasing
 
ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียนปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียนAuntika11
 
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ Utai Sukviwatsirikul
 

Viewers also liked (20)

Sex education
Sex education Sex education
Sex education
 
HIV/AIDS powerpoint
HIV/AIDS powerpointHIV/AIDS powerpoint
HIV/AIDS powerpoint
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
 
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
 
HIV AIDS presentation
HIV AIDS presentationHIV AIDS presentation
HIV AIDS presentation
 
9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
การใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสการใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัส
 
สอนการใช้ยาต้านไวรัสเอซไอวีสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาใหม่
สอนการใช้ยาต้านไวรัสเอซไอวีสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาใหม่สอนการใช้ยาต้านไวรัสเอซไอวีสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาใหม่
สอนการใช้ยาต้านไวรัสเอซไอวีสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาใหม่
 
Hiv/aids presentation
Hiv/aids presentationHiv/aids presentation
Hiv/aids presentation
 
Aids Powerpoint
Aids PowerpointAids Powerpoint
Aids Powerpoint
 
HIV AIDS
HIV AIDSHIV AIDS
HIV AIDS
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
 
งานนำเสนอIs
งานนำเสนอIsงานนำเสนอIs
งานนำเสนอIs
 
Hiv รพช2015 2.ppt
Hiv รพช2015  2.pptHiv รพช2015  2.ppt
Hiv รพช2015 2.ppt
 
การตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
การตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
การตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
 
ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียนปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
 
ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียนปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
 
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557
 
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 

Similar to โรคเอดส์

52010918560sce12
52010918560sce1252010918560sce12
52010918560sce12tungmsu
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23mewsanit
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zosterAimmary
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 

Similar to โรคเอดส์ (20)

1129
11291129
1129
 
52010918560sce12
52010918560sce1252010918560sce12
52010918560sce12
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธินแนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
02 lepto
02 lepto02 lepto
02 lepto
 
Vis hpv
Vis hpvVis hpv
Vis hpv
 
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
 
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อแนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
 
Vis hib
Vis hibVis hib
Vis hib
 
Vis hib
Vis hibVis hib
Vis hib
 

โรคเอดส์

  • 1. โรคเอดส์ เอดส์ คือ อะไร เอดส์ หรือ AIDS (Acquired Immune Deficiency Syndrome) เป็นกลุ่มอาการของโรค ที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอดส์ ซึ่งจะเข้าไปทำาลายเม็ดเลือกขาว ซึ่งเป็นแหล่งสร้างภูมิคุ้มกันโรค ทำาให้ติดเชื้อโรคอื่นๆ ได้ง่ายขึน เช่น วัณโรค ปอดบวม เยื่อหุ้มสมอง ้ อักเสบ หรือเป็นมะเร็งบางชนิดได้ง่ายกว่าคนปกติ อาการจะรุนแรง และเป็นสาเหตุสำาคัญของการเสียชีวิต โรคเอดส์ ( AIDS ) คือ อะไร โรคเอดส์ หรือ โรคภูมิคุ้มกัน บกพร่อง เป็นกลุ่มอาการเจ็บป่วยที่เกิดขึนเพราะร่างกายได้รับเชื้อไว ้ รัสเอชไอวี ซึ่งจะเข้าไปทำาลายเม็ดเลือดขาว ที่เป็นแหล่งสร้าง ภูมิคุ้มกันโรค ทำาให้ภูมิคุ้มกันโรคลดน้อยลง จึงทำาให้ติดเชื้อโรคฉวย โอกาสแทรกซ้อนเข้าสู่ร่างกายได้ง่ายขึ้น เช่น วัณโรคในปอด หรือ ต่อมนำ้าเหลือง เยือหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อรา โรคผิวหนังบางชนิด ่ หรือเป็นมะเร็งบางชนิดได้ง่ายกว่าคนปกติ ซึ่งสาเหตุของการเสีย ชีวิตมักเกิดขึ้นจากโรคติดเชื้อฉวยโอกาสต่างๆ เหล่านี้ทำาให้อาการ จะรุนแรง และเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว ปัจจุบันโรคเอดส์มีการตรวจพบทั่วโลก และประมาณการว่ามีผู้เสีย ชีวิตเนื่องจากโรคเอดส์ อย่างน้อย 25 ล้านคน ตั้งแต่ถูกค้นพบในปี พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) นับเป็นโรคที่มีอันตรายสูงโรคหนึ่งของ
  • 2. เอดส์ ติดต่อกันได้อย่างไร 1. การร่วมเพศ โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัย ไม่ว่า ชายกับชาย ชายกับหญิง หรือหญิงกับหญิง ทั้ง ช่องทางธรรมชาติ หรือไม่ธรรมชาติ ก็ล้วนมี โอกาสติดโรคนีได้ทงสิ้น และปัจจัยทีทำาให้มี ้ ั้ ่ โอกาสติดเชื้อมากขึ้น ได้แก่ การมีแผลเปิด และจากข้อมูลของสำานักระบาดวิทยา ประมาณ ร้อยละ 84 ของผู้ป่วยเอดส์ ได้รับเชื้อจากการมี เพศสัมพันธ์
  • 3. 2. การรับเชื้อทางเลือด ใช้เข็มหรือกระบอก ฉีดยาร่วมกับผู้ติดเชื้อเอดส์ มักพบในกลุ่มผู้ ฉีดยาเสพติด และหากคนกลุ่มนี้ติดเชือ ก็ ้ สามารถถ่ายทอดเชื้อเอดส์ ทางเพศสัมพันธ์ ได้อีกทางหนึ่ง - รับเลือดในขณะผ่าตัด หรือเพื่อรักษาโรค เลือดบางชนิด ในปัจจุบนเลือดที่ได้รับ ั บริจาคทุกขวด ต้องผ่านการตรวจหาการติด เชือเอดส์ และจะปลอดภัยเกือบ 100% ้
  • 4. – 3. ทารก ติดเชือจากแม่ที่ติดเชื้อเอดส์ ้ การแพร่เชือจากแม่สู่ลูก ผูหญิงที่ติดเชือ ้ ้ ้ เอดส์ หากตั้งครรภ์ และไม่ได้รับการดูแล อย่างดี เชือเอช ไอ วี จะแพร่ไปยังลูกได้ ้ ในอัตราร้อยละ 30 จากกรณีเกิดจากแม่ ติดเชือ จึงมีโอกาสที่จะรับเชือเอช ไอ วี ้ ้ จากแม่ได้
  • 5. 3. ทารก ติดเชือจากแม่ที่ติดเชื้อเอดส์ การ ้ แพร่เชือจากแม่สู่ลูก ผูหญิงที่ติดเชื้อเอดส์ ้ ้ หากตั้งครรภ์ และไม่ได้รับการดูแลอย่างดี เชือเอช ไอ วี จะแพร่ไปยังลูกได้ ในอัตรา ้ ร้อยละ 30 จากกรณีเกิดจากแม่ติดเชื้อ จึงมี โอกาสที่จะรับเชื้อเอช ไอ วี จากแม่ได้
  • 6. เอดส์ มีอาการอย่างไร  เอดส์ มีอ าการอย่า งไร คนที่สัมผัสกับ โรคเอดส์หรือคนที่ได้รับเชือเอดส์เข้าไปใน ้ ร่างกายไม่จำาเป็นต้องมีการติดเชือเอดส์ ้ เสมอไปขึ้นกับจำานวนครั้งที่สมผัสจำานวน ั และความดุร้ายของไวรัสเอดส์ที่เข้าสู่ ร่างกายและภาวะภูมิต้านทานของร่างกาย ถ้ามีการติดเชื้ออาการที่เกิดขึ้นมีได้หลายรูป แบบหรือหลายระยะตามการดำาเนินของโรค
  • 7. ระยะอาการ  ระยะที่ 1 : ระยะที่ไ ม่ม ีอ าการอะไร – ภายใน2-3 อาทิตย์แรกหลังจากได้รับเชื้อเอดส์ เข้าไป ราวร้อยละ 10 ของผู้ติดเชื้อจะมีอาการ คล้ายๆ ไข้หวัด คือมีไข้ เจ็บคอ ปวดศีรษะ ปวด เมือยตามตัว ต่อมนำ้าเหลืองโต ผื่นตามตัว แขน ่ ขาชาหรืออ่อนแรง เป็นอยู่ราว 10-14 วันก็จะ หายไปเอง ผู้ป่วยส่วนใหญ่อาจไม่สังเกต นึกว่า คงเป็นไข้หวัดธรรมดาราว 6-8 สัปดาห์ภาย หลังติดเชื้อ
  • 8. – ระยะที่ 2: ระยะทีเ ริ่ม มีอ าการหรือ ระยะที่ ่ มีอ าการสัม พัน ธ์ก บ เอดส์ ั – เป็นระยะทีคนไข้เริ่มมีอาการ แต่อาการนั้นยัง ่ ไม่มากถึงกับจะเรียกว่าเป็นโรคเอดส์เต็มขั้น อาการในช่วงนีอาจเป็นไข้เรื้อรัง นำ้า หนักลด ้ หรือท้องเสียงเรื้อรัง โดยไม่ทราบสาเหตุ นอกจากนีอาจมีเชื้อราในช่องปาก(รูปที่ 3), ้ งูสวัด(รูปที่ 4), เริมในช่องปาก หรืออวัยวะ เพศ ผื่นคันตามแขนขา และลำาตัวคล้ายคนแพ้ นำ้าลายยุง(รูปที่ 5) จะเห็นได้ว่า อาการทีเรียก ่ ว่าสัมพันธ์กบเอดส์นน ไม่จำาเพาะสำาหรับโรค ั ั้
  • 9. – ระยะที่ 3 : ระยะโรคเอดส์เ ต็ม ขั้น หรือ ที่ ภาษาทางการเรีย กว่า โรคเอดส์ – เป็นระยะทีภมต้านทานของร่ายกายเสียไปมาก ่ ู ิ แล้วผู้ป่วยจะมีอาการของการติดเชื้อจำาพวก เชื้อฉกฉวยโอกาสบ่อยๆและเป็นมะเร็งบางชนิด เช่นแคโปซี่ซาร์โคมา(Kaposi'ssarcoma)และ มะเร็งปากมดลูก การติดเชื้อฉกฉวยโอกาส หมายถึงการติดเชื้อทีปกติมีความรุนแรงตำ่าไม่ ่ ก่อโรคในคนปกติแต่ถ้าคนนันมีภมต้านทานตำ่า ้ ู ิ ลงเช่นจากการเป็นมะเร็งหรือจากการได้รับยา ละทำาให้เกิดวัณโรคทีปอดต่อมนำ้าเหลืองตับหรือ ่
  • 10. อาการของเอดส์ มี 2 ระยะ 1. ระยะไม่มีอาการ ผู้ติดเชื้อจะมีสุขภาพแข็งแรง ไม่มี อาการผิดปกติแต่อย่างใด ผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่จะอยู่ใน ระยะนี้ และบางคนไม่ทราบว่า ตัวเองติดเชื้อ จึงอาจ แพร่เชื้อไปสู่ผู้อื่นได้ 2. ระยะมีอาการ ผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่จะเริ่มแสดงอาการ ภายหลังจากได้รับเชื้อประมาณ 7-8 ปี แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ - ระยะเริ่มปรากฎอาการ อาการที่พบคือ มีเชื้อราในปาก ต่อมนำ้าเหลืองโต งูสวัด มีไข้ ท้องเสีย นำ้าหนักลด มีตุ่ม คันบริเวณผิวหนัง - ระยะโรคเอดส์ เป็นระยะที่มีภูมิต้านทานลดลงมาก ทำาให้
  • 11. ป้องกันตัวเอง ไม่ให้ติดเชื้อเอดส์ ได้อย่างไร – รักเดียว ใจเดียว หากจะมีเพศสัมพันธ์กับหญิง ควรใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้ง ทีมเพศสัมพันธ์ ่ ี – ขอรับบริการปรึกษา เรื่อง โรคเอดส์ ก่อน แต่งงาน และก่อนที่จะมีบุตรทุกท้อง – ไม่ดื่มเหล้า และงดใช้สารเสพติดทุกชนิด
  • 12. วิธีใช้ถุงยางอนามัย  วิธ ใ ช้ถ ุง ยางอนามัย ี
  • 13. วันเอดส์โลก  วันที่ 1 ธันวาคม ของทุกปี ซึ่งองค์การอนามัยโลก ได้กำาหนดให้เป็นวันเอดส์โลก วัต ถุป ระสงค์ข องวัน เอดส์โ ลก 1. เพื่อให้ทุกคนได้ตระหนักถึงอันตรายจากการ ติดต่อและการเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ 2. เพื่อสร้างเสริมและสนับสนุนให้มมาตรการการ ี ป้องกันให้มากยิงขึ้นในสังคมทุกระดับ ่ 3. เพื่อให้มการจัดกิจกรรมต่อต้านต่างๆ ดำาเนินไป ี อย่างต่อเนือง ่ 4. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการยอมรับและห่วงใยต่อผู้ ป่วยและผู้ติดเชื้อ
  • 14. คำาขวัญวันเอดส์โลก  คำา ขวัญ วัน เอดส์โ ลก ค.ศ.2000 หรือ พ.ศ. 2543 Men make a difference เอดส์ลดหรือเพิ่ม เริ่มที่ผู้ชาย  ค.ศ.2001 หรือ พ.ศ. 2544 I care....Do you? เอดส์ลดแน่ ถ้าคุณ ร่วมแก้ไข  ค.ศ.2002 หรือ พ.ศ. 2545 Stigma and Discrimination -- Live and Let Live ทุกชีวิตมีคุณค่า โปรดอย่าตัดสินด้วยเอดส์  ค.ศ.2003 หรือ พ.ศ. 2546 Stigma and Discrimination -- Live and Let Live ทุกชีวิตมีคุณค่า โปรดอย่าตัดสินด้วยเอดส์  ค.ศ.2004 หรือ พ.ศ. 2547 Woman, girls, HIV and AIDS เยาวชนรุ่นใหม่... เข้าใจเรื่องเพศ...ร่วมป้องกันเอดส์ ...  ค.ศ.2005 หรือ พ.ศ. 2548 Stop AIDS Keep the promiss เอดส์ หยุดได้ ร่วมใจรักษาสัญญา  ค.ศ.2006 หรือ พ.ศ. 2549 Stop AIDS Keep the promiss เอดส์ หยุดได้ ร่วมใจรักษาสัญญา  ค.ศ.2007 หรือ พ.ศ. 2550 Stop AIDS Keep the promiss เอดส์ หยุดได้ ร่วมใจรักษาสัญญา  ค.ศ.2008 หรือ พ.ศ. 2551 Stop AIDS Keep the promiss เอดส์
  • 15. คำา ถาม - คำา ตอบ – คำา ถาม - คำา ตอบ 1. เอดส์ รู้ไ ด้อ ย่า งไรว่า ติด แล้ว เนื่องจาก โรคนี้แสดงอาการช้า แต่สามารถทราบได้ โดย การตรวจเลือด หากต้องการผลทีแม่นยำา ควร ่ ตรวจภายหลังจากมีพฤติกรรมเสียง 6 สัปดาห์ ่ ขึ้นไป 2. เอดส์ รัก ษาได้ห รือ ไม่ – ขณะนียังไม่มยารักษาโรคเอดส์ให้หายได้ ยาที่ ้ ี ใช้ปัจจุบันจะช่วยยับยัง ไม่ให้ไวรัสเอดส์เพิม ้ ่ จำานวนมากขึ้น ในร่างกายผู้ติดเชื้อ และผู้ป่วย เอดส์จะมีสุขภาพแข็งแรง สามารถทำางานได้
  • 16. คำา ถาม - คำา ตอบ 3. เอดส์ ใครบ้า งที่ค วรตรวจหาเชื้อ เอดส์ – - ผู้มีพฤติกรรมเสี่ยง และต้องการรู้ว่าตนเองติดเชื้อเอดส์หรือไม่ – - ผู้ที่ตัดสินใจจะมีคู่ หรืออยูกินฉันท์สามีภรรยา ่ – - ผู้ที่สงสัยว่า คู่นอนของตนจะมีพฤติกรรมเสี่ยง – - ผู้ที่คิดจะมีบุตร ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของแม่และลูก – - ผู้ที่ต้องการข้อมูลสนับสนุนเรื่องความปลอดภัย และสุขภาพของ ร่างกาย เช่น ผู้ที่ต้องไปทำางานในต่างประเทศ (บางประเทศ) 4. เอดส์ เราอยู่ร ่ว มกัน ได้ อย่า งไร – คนที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี สามารถอยูร่วมกับสังคม และครอบครัวได้ ่ และทำางานได้เหมือนกับคนทั่วไป เพราะเชื้อเอช ไอ วี ไม่ได้ติดต่อ กันโดย การสัมผัส การกอดจูบ การรับประทานอาหาร การขับถ่าย การใช้ของร่วมกัน การอยูใกล้กัน การสนทนากัน หรือถูกยุงกัด ่ ดังนั้น จึงไม่ต้องแยกวงรับประทานอาหาร ไม่ต้องแยกห้องนอน ห้องนำ้า อุปกรณ์ของใช้ต่างๆ หรือห้องทำางาน
  • 17. คำา ถาม - คำา ตอบ – 5. บริก ารปรึก ษา ปัญ หาสุข ภาพ ได้ท ี่ไ หน – - กลุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สำานักโรคเอดส์ ่ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โทร. 0-2286- 0431, 0-2286-4483 – - โรงพยาบาลบำาราศนราดูร โทร. 0-2590-3737, 0- 2590-3510 – - กองควบคุมโรคเอดส์ กทม. โทร. 0-2860-8751-6 ต่อ 407-8 – - มูลนิธิศนย์ฮอทไลน์ โทร. 0-2277-7699, 0-2277- ู 8811 (โทรฟรี) – - มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ โทร. 0-2372-2222 – - สถานบริการสาธารณสุข และโรงพยาบาลของรัฐทุก
  • 18. เรื่อ งโรคเอดส์  จัดทำาโดย  นายสิทธิศักดิ์ ติจะนา  ชั้นปีที่ 4/2 เลขที่ 8