SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 38
Basic life support  นพ.ธานินทร์  โลเกศกระวี  วว.เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 15 กันยายน 2552
ความสำคัญของ Basic life support  ACLS จะสำเร็จไม่ได้  หากไม่ได้รับการทำ BLS ที่ effective เวลาที่ BLS ไปถึง สำคัญกว่าเวลาที่ ACLS ไปถึง และส่งผลต่ออัตราการรอดชีวิตมากกว่า  Hallstrom A, Rea TD, Sayre MR, et al. Manual chest compression vs use of an automated chest compression device during resuscitation following out-of-hospital cardiac arrest : a ramdomized trial. JAMA 2006;295(22):2620-2628
Chain of survival  Early access Early CPR Early defib Early ACLS
Early access  เวลาที่ BLS ไปถึง สำคัญกว่าเวลาที่ ACLS ไปถึง และส่งผลต่ออัตราการรอดชีวิตมากกว่า  มีการศึกษาระหว่าง EMS response time <5 นาที กับ > 5 นาที  พบว่ากลุ่มที่ response time > 5 นาที อัตราการรอดชีวิตน้อยกว่าชัดเจน เป้าหมายของ EMS response time = 4 นาที (รถ basic) , 8 นาที (รถ advanced)
APPROACH SAFELY! Scene safety  Check response สถานที่ :  	ต้องปลอดภัยต่อผู้ช่วยเหลือ  Call for help& 1669 Supine position Open airway Check breathing 2 rescue breaths 30 chest compressions 30 : 2 ratio  Recovery position
Check response  Scene safety Check response Call for help& 1669 Supine position Open airway “คุณๆ....เป็นอย่างไรบ้าง” Check breathing 2 rescue breaths 30 chest compressions 30 : 2 ratio  Recovery position
Call for help & 1669 Scene safety  Check response “ช่วยด้วยๆ มีคนหมดสติ” Call for help& 1669 Supine position Open airway Check breathing 2 rescue breaths 30 chest compressions 30 : 2 ratio  Recovery position
Supine position Scene safety  Check response Call for help& 1669 Supine position Open airway จัดให้อยู่ในท่านอนหงาย บนพื้นราบแข็ง Check breathing 2 rescue breaths 30 chest compressions 30 : 2 ratio  Recovery position
OPEN AIRWAY Scene safety  Head tilt , chin lift : สำหรับคนทั่วไปและ บุคลากรทางการแพทย์ Jaw thrust : สำหรับบุคลากรทางการแพทย์เท่านั้น Check response Call for help& 1669 Supine position Open airway Check breathing 2 rescue breaths ถ้าไม่เห็น FB  ห้ามใช้นิ้วล้วง 30 chest compressions 30 : 2 ratio  Recovery position
Check breathing Scene safety  Check response Call for help& 1669 ตาดู หูฟัง แก้มสัมผัส ใช้เวลา ~5 วินาที Supine position Open airway Check breathing 2 rescue breaths 30 chest compressions 30 : 2 ratio  Recovery position
2 Rescue breaths Scene safety  Check response ช่วยหายใจ 2 ครั้ง  ครั้งละ 1 วินาที ดูทรวงอกขยับตาม  Call for help& 1669 Supine position Open airway Check breathing 2 rescue breaths 30 chest compressions 30 : 2 ratio  Recovery position
Mouth-to-Mouth breathing  บีบจมูกให้แน่น หายใจปกติ  ประกบปากให้แน่น  เป่า 2 ครั้ง ครั้งละ 1 วินาที สังเกตทรวงอกขยับขึ้น ถ้าไม่ขยับ ให้จัดท่าใหม่
Mouth-to-Barrier device breathing  สามารถใช้รอง ก่อนเป่าปากได้ ควรรีบเปลี่ยนเป็น bag-mask ถ้าเป็นไปได้
Mouth-to-Mask breathing  Pocket mask มี one-way-valve ช่วยป้องกันการสัมผัสจากสารคัดหลั่งได้ดีกว่า  คลายมือที่กดเป็นครั้งคราว เพื่อไม่ให้ CO2 คั่งอยู่ในหน้ากากมากเกินไป
Bag-mask ventilation  วาง mask ครอบจมูกและปากให้แนบสนิท ทำ head tilt, chin lift , jaw thrust ไปด้วย ไม่จำเป็นต้องคลายมือที่กด mask เป็นระยะ เพราะลมหายใจออกผ่าน valve ได้เอง บีบ Ambu 500-600 ml       (6-7 ml/kg)  บีบครั้งละ 1 วินาที x 2 ครั้ง อย่าลืมใส่ reservior ด้วย
Bag-mask ventilation คนเดียว Bag-mask ventilation 2 คน ควรกด cricoid pressure ไปด้วย
30 Chest compressions  Scene safety  Check response บุคลากรทางการแพทย์ ให้คลำ pulse ก่อน ส่วนคนทั่วไป ให้กดอกเลย Call for help& 1669 Supine position Open airway Check breathing 2 rescue breaths 30 chest compressions 30 : 2 ratio  Recovery position
Chest compressions ,[object Object]
  ประมาณกึ่งกลางราวนม
  ลำตัวตั้งตรง
  สะโพกเป็นจุดหมุน
  กดลึก 1.5-2 นิ้ว
  ความเร็ว 100 ครั้งต่อนาที
กด 30 ครั้ง สลับช่วยหายใจ 2 ครั้ง
  จังหวะปล่อย ผ่อนน้ำหนักคลายให้สุด
  เปลี่ยนคนกดทุก 2 นาที
check pulse & rhythm ไม่เกิน 10 วินาที ,[object Object]
Hands-only CPR  CPR อย่างเดียวโดยไม่เป่าปาก  มีการศึกษาในสัตว์ทดลองพบว่า ในช่วง 5 นาทีแรกของ VF  ร่างกายยังมี O2 หลงเหลืออยู่ในปริมาณหนึ่ง
ถ้ามีชีพจร แต่ไม่หายใจ  ให้ช่วยหายใจอย่างเดียว  1 ครั้ง ทุก 5-6 วินาที  	(10-12 ครั้ง/min) ตรวจชีพจรทุก 2 นาที
เมื่อ AED มา
1. เปิด กดปุ่ม on ก่อน
2. แปะ
3. แปลผล ,[object Object],[object Object]
CPR อย่างน้อย 2 นาที หรือ 5 cycle จากนั้นค่อย analyse ใหม่  30		       	2
CPRก่อน หรือ Defib ก่อน ปัจจัยสำคัญที่สุดในอัตรารอดชีวิต คือการ CPRในที่เกิดเหตุ  (แม้จะยังไม่มี defib ในตอนนั้นก็ตาม)
Shock ครั้งเดียว หรือ 3 ครั้งติดกัน  Biphasic difibrillator terminate VF ได้ >90% ภายในครั้งเดียว  ถ้าครั้งแรกไม่ได้ผล ครั้งต่อไปก็โอกาสน้อย 	Morrison LJ, Dorian P, Long J, et al. Out-of-hospital cardiac arrest rectilinear biphasic to monophasic damped sine defibrillation waveforms with advanced life support intervention trial (ORBIT). Resuscitation 2005;66(2):149-157 การช็อก 3 ครั้งทำให้ขาดการกดหน้าอกนานถึง   37 วินาที  ( Circulation. 2002; 106: 368–372. ) Biphasic : 200 J , Monophasic 360 J จึงแนะนำ  Shock ครั้งเดียว จากนั้น CPR ต่อทันที อย่างน้อย 2 นาที หลัง shock  แล้วค่อย check rhythm ใหม่
ทันทีที่ช็อกไฟฟ้าเสร็จ ต้องคลำชีพจรหรือไม่ ? หลังช็อกไฟฟ้าใหม่ๆ ส่วนใหญ่ผู้ป่วยมักจะไม่มีชีพจรแม้จะมีคลื่นหัวใจแบบปกติ (Non perfusing rhythm)  ( Resuscitation. 2003; 59: 189–196. ) การรีบกดหน้าอกหลังช็อกไฟฟ้า ไม่มีผลกระตุ้นให้กลับเป็น VF  ( Resuscitation. 2005; 66: 7–11. ) การคลำชีพจร  		- 10% ว่ามีทั้งๆที่ของจริงไม่มี  		- 40% ว่าไม่มีทั้งๆที่ของจริงมี  		- ใช้เวลาคลำนานเกินไป ( Resuscitation. 2000; 44: 195–201)
Minimum chest interuption  1. ทำ Defibrillation			  5 s 	2. ใส่  ET tube 		        10-15 s 	3. เคลื่อนย้ายขนส่ง			 15 s 	4. เปลี่ยนผู้กด 		              5 s 	5. ประเมิน carotid pulse 		 10 s 	6. ใช้ AED 	􀂄	 ขัดจังหวะ chest compression ให้น้อยที่สุดเท่าที่จำเป็น 	􀂄 	 ประสานกับหัตถการอื่นๆ อย่างดี เพื่อให้หยุดไม่เกิน 5-10 นาที 			- พร้อม shock จึงค่อยหยุด 			- หลัง shock กดต่อทันที

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
การดูแลความสะอาดสุขสบาย
การดูแลความสะอาดสุขสบายการดูแลความสะอาดสุขสบาย
การดูแลความสะอาดสุขสบายNakhon Pathom Rajabhat University
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 Yanee Tongmanee
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจSusheewa Mulmuang
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจChutchavarn Wongsaree
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Riskความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก RiskSuradet Sriangkoon
 

Mais procurados (20)

First aid by Narenthorn 2016
First aid by Narenthorn 2016First aid by Narenthorn 2016
First aid by Narenthorn 2016
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
การดูแลความสะอาดสุขสบาย
การดูแลความสะอาดสุขสบายการดูแลความสะอาดสุขสบาย
การดูแลความสะอาดสุขสบาย
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
SSI
SSISSI
SSI
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
 
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
 
CAUTI
CAUTICAUTI
CAUTI
 
Atls for nurse
Atls for nurse Atls for nurse
Atls for nurse
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
HAP
HAPHAP
HAP
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
 
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Riskความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
 

Destaque

2015 aha-guidelines-highlights-thai
2015 aha-guidelines-highlights-thai2015 aha-guidelines-highlights-thai
2015 aha-guidelines-highlights-thaiHummd Mdhum
 
CPR 2015 oleh Bram, MD, Anesthesiologist 20.01.16
CPR 2015 oleh Bram, MD, Anesthesiologist 20.01.16CPR 2015 oleh Bram, MD, Anesthesiologist 20.01.16
CPR 2015 oleh Bram, MD, Anesthesiologist 20.01.16Imelda Wijaya
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นJanjira Majai
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingVai2eene K
 
Advanced cardiac life support(acls)
Advanced cardiac life support(acls)Advanced cardiac life support(acls)
Advanced cardiac life support(acls)omar143
 
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aidCPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aidNarenthorn EMS Center
 
แนวทางการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ (CPR) และการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจหลอดเลือดในภาวะฉ...
แนวทางการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ (CPR) และการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจหลอดเลือดในภาวะฉ...แนวทางการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ (CPR) และการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจหลอดเลือดในภาวะฉ...
แนวทางการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ (CPR) และการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจหลอดเลือดในภาวะฉ...Utai Sukviwatsirikul
 
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุหลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุAiman Sadeeyamu
 
สรุปแนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต ปี 2010
สรุปแนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต ปี 2010สรุปแนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต ปี 2010
สรุปแนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต ปี 2010Thai Resuscitation Foundation
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลSumon Kananit
 
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยSumon Kananit
 
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยNarenthorn EMS Center
 
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5sripayom
 

Destaque (20)

การช่วยฟื้นคืนชีพ
การช่วยฟื้นคืนชีพการช่วยฟื้นคืนชีพ
การช่วยฟื้นคืนชีพ
 
Cpr 2015
Cpr 2015Cpr 2015
Cpr 2015
 
2015 aha-guidelines-highlights-thai
2015 aha-guidelines-highlights-thai2015 aha-guidelines-highlights-thai
2015 aha-guidelines-highlights-thai
 
Cpr Aed (Thai)
Cpr Aed (Thai)Cpr Aed (Thai)
Cpr Aed (Thai)
 
CPR 2015 oleh Bram, MD, Anesthesiologist 20.01.16
CPR 2015 oleh Bram, MD, Anesthesiologist 20.01.16CPR 2015 oleh Bram, MD, Anesthesiologist 20.01.16
CPR 2015 oleh Bram, MD, Anesthesiologist 20.01.16
 
ACLS 2015
ACLS 2015ACLS 2015
ACLS 2015
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
 
Acls update class 2015
Acls update class 2015Acls update class 2015
Acls update class 2015
 
Advanced cardiac life support(acls)
Advanced cardiac life support(acls)Advanced cardiac life support(acls)
Advanced cardiac life support(acls)
 
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aidCPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
 
แนวทางการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ (CPR) และการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจหลอดเลือดในภาวะฉ...
แนวทางการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ (CPR) และการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจหลอดเลือดในภาวะฉ...แนวทางการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ (CPR) และการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจหลอดเลือดในภาวะฉ...
แนวทางการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ (CPR) และการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจหลอดเลือดในภาวะฉ...
 
Nec KU 2017 curriculum
Nec KU 2017 curriculumNec KU 2017 curriculum
Nec KU 2017 curriculum
 
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุหลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
 
สรุปแนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต ปี 2010
สรุปแนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต ปี 2010สรุปแนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต ปี 2010
สรุปแนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต ปี 2010
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาล
 
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
mass casualty management
mass casualty managementmass casualty management
mass casualty management
 
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
 

Semelhante a Basic life support นพ.ธานินทร์

Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2
Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2
Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2Loveis1able Khumpuangdee
 
guide line CPR 2010(ไทย) อ.นพ.ฉัตรกนก ทุมวิภาค
 guide line CPR 2010(ไทย) อ.นพ.ฉัตรกนก ทุมวิภาค guide line CPR 2010(ไทย) อ.นพ.ฉัตรกนก ทุมวิภาค
guide line CPR 2010(ไทย) อ.นพ.ฉัตรกนก ทุมวิภาคUtai Sukviwatsirikul
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 
CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 updatetaem
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNarenthorn EMS Center
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationNarenthorn EMS Center
 
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfTraum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfKrongdai Unhasuta
 

Semelhante a Basic life support นพ.ธานินทร์ (10)

Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2
Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2
Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2
 
guide line CPR 2010(ไทย) อ.นพ.ฉัตรกนก ทุมวิภาค
 guide line CPR 2010(ไทย) อ.นพ.ฉัตรกนก ทุมวิภาค guide line CPR 2010(ไทย) อ.นพ.ฉัตรกนก ทุมวิภาค
guide line CPR 2010(ไทย) อ.นพ.ฉัตรกนก ทุมวิภาค
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
Blunt chest injury
Blunt chest injuryBlunt chest injury
Blunt chest injury
 
CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 update
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
 
Triage
TriageTriage
Triage
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdfTraum Care the Injured Patient in the ER.pdf
Traum Care the Injured Patient in the ER.pdf
 
Initial Assess Trauma (Thai)
Initial Assess Trauma (Thai)Initial Assess Trauma (Thai)
Initial Assess Trauma (Thai)
 

Basic life support นพ.ธานินทร์

  • 1. Basic life support นพ.ธานินทร์ โลเกศกระวี วว.เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 15 กันยายน 2552
  • 2. ความสำคัญของ Basic life support ACLS จะสำเร็จไม่ได้ หากไม่ได้รับการทำ BLS ที่ effective เวลาที่ BLS ไปถึง สำคัญกว่าเวลาที่ ACLS ไปถึง และส่งผลต่ออัตราการรอดชีวิตมากกว่า Hallstrom A, Rea TD, Sayre MR, et al. Manual chest compression vs use of an automated chest compression device during resuscitation following out-of-hospital cardiac arrest : a ramdomized trial. JAMA 2006;295(22):2620-2628
  • 3. Chain of survival Early access Early CPR Early defib Early ACLS
  • 4. Early access เวลาที่ BLS ไปถึง สำคัญกว่าเวลาที่ ACLS ไปถึง และส่งผลต่ออัตราการรอดชีวิตมากกว่า มีการศึกษาระหว่าง EMS response time <5 นาที กับ > 5 นาที พบว่ากลุ่มที่ response time > 5 นาที อัตราการรอดชีวิตน้อยกว่าชัดเจน เป้าหมายของ EMS response time = 4 นาที (รถ basic) , 8 นาที (รถ advanced)
  • 5. APPROACH SAFELY! Scene safety Check response สถานที่ : ต้องปลอดภัยต่อผู้ช่วยเหลือ Call for help& 1669 Supine position Open airway Check breathing 2 rescue breaths 30 chest compressions 30 : 2 ratio Recovery position
  • 6. Check response Scene safety Check response Call for help& 1669 Supine position Open airway “คุณๆ....เป็นอย่างไรบ้าง” Check breathing 2 rescue breaths 30 chest compressions 30 : 2 ratio Recovery position
  • 7. Call for help & 1669 Scene safety Check response “ช่วยด้วยๆ มีคนหมดสติ” Call for help& 1669 Supine position Open airway Check breathing 2 rescue breaths 30 chest compressions 30 : 2 ratio Recovery position
  • 8. Supine position Scene safety Check response Call for help& 1669 Supine position Open airway จัดให้อยู่ในท่านอนหงาย บนพื้นราบแข็ง Check breathing 2 rescue breaths 30 chest compressions 30 : 2 ratio Recovery position
  • 9. OPEN AIRWAY Scene safety Head tilt , chin lift : สำหรับคนทั่วไปและ บุคลากรทางการแพทย์ Jaw thrust : สำหรับบุคลากรทางการแพทย์เท่านั้น Check response Call for help& 1669 Supine position Open airway Check breathing 2 rescue breaths ถ้าไม่เห็น FB ห้ามใช้นิ้วล้วง 30 chest compressions 30 : 2 ratio Recovery position
  • 10. Check breathing Scene safety Check response Call for help& 1669 ตาดู หูฟัง แก้มสัมผัส ใช้เวลา ~5 วินาที Supine position Open airway Check breathing 2 rescue breaths 30 chest compressions 30 : 2 ratio Recovery position
  • 11. 2 Rescue breaths Scene safety Check response ช่วยหายใจ 2 ครั้ง ครั้งละ 1 วินาที ดูทรวงอกขยับตาม Call for help& 1669 Supine position Open airway Check breathing 2 rescue breaths 30 chest compressions 30 : 2 ratio Recovery position
  • 12. Mouth-to-Mouth breathing บีบจมูกให้แน่น หายใจปกติ ประกบปากให้แน่น เป่า 2 ครั้ง ครั้งละ 1 วินาที สังเกตทรวงอกขยับขึ้น ถ้าไม่ขยับ ให้จัดท่าใหม่
  • 13. Mouth-to-Barrier device breathing สามารถใช้รอง ก่อนเป่าปากได้ ควรรีบเปลี่ยนเป็น bag-mask ถ้าเป็นไปได้
  • 14. Mouth-to-Mask breathing Pocket mask มี one-way-valve ช่วยป้องกันการสัมผัสจากสารคัดหลั่งได้ดีกว่า คลายมือที่กดเป็นครั้งคราว เพื่อไม่ให้ CO2 คั่งอยู่ในหน้ากากมากเกินไป
  • 15. Bag-mask ventilation วาง mask ครอบจมูกและปากให้แนบสนิท ทำ head tilt, chin lift , jaw thrust ไปด้วย ไม่จำเป็นต้องคลายมือที่กด mask เป็นระยะ เพราะลมหายใจออกผ่าน valve ได้เอง บีบ Ambu 500-600 ml (6-7 ml/kg) บีบครั้งละ 1 วินาที x 2 ครั้ง อย่าลืมใส่ reservior ด้วย
  • 16. Bag-mask ventilation คนเดียว Bag-mask ventilation 2 คน ควรกด cricoid pressure ไปด้วย
  • 17. 30 Chest compressions Scene safety Check response บุคลากรทางการแพทย์ ให้คลำ pulse ก่อน ส่วนคนทั่วไป ให้กดอกเลย Call for help& 1669 Supine position Open airway Check breathing 2 rescue breaths 30 chest compressions 30 : 2 ratio Recovery position
  • 18.
  • 22. กดลึก 1.5-2 นิ้ว
  • 23. ความเร็ว 100 ครั้งต่อนาที
  • 24. กด 30 ครั้ง สลับช่วยหายใจ 2 ครั้ง
  • 25. จังหวะปล่อย ผ่อนน้ำหนักคลายให้สุด
  • 27.
  • 28. Hands-only CPR CPR อย่างเดียวโดยไม่เป่าปาก มีการศึกษาในสัตว์ทดลองพบว่า ในช่วง 5 นาทีแรกของ VF ร่างกายยังมี O2 หลงเหลืออยู่ในปริมาณหนึ่ง
  • 29. ถ้ามีชีพจร แต่ไม่หายใจ ให้ช่วยหายใจอย่างเดียว 1 ครั้ง ทุก 5-6 วินาที (10-12 ครั้ง/min) ตรวจชีพจรทุก 2 นาที
  • 33.
  • 34. CPR อย่างน้อย 2 นาที หรือ 5 cycle จากนั้นค่อย analyse ใหม่ 30 2
  • 35. CPRก่อน หรือ Defib ก่อน ปัจจัยสำคัญที่สุดในอัตรารอดชีวิต คือการ CPRในที่เกิดเหตุ (แม้จะยังไม่มี defib ในตอนนั้นก็ตาม)
  • 36. Shock ครั้งเดียว หรือ 3 ครั้งติดกัน Biphasic difibrillator terminate VF ได้ >90% ภายในครั้งเดียว ถ้าครั้งแรกไม่ได้ผล ครั้งต่อไปก็โอกาสน้อย Morrison LJ, Dorian P, Long J, et al. Out-of-hospital cardiac arrest rectilinear biphasic to monophasic damped sine defibrillation waveforms with advanced life support intervention trial (ORBIT). Resuscitation 2005;66(2):149-157 การช็อก 3 ครั้งทำให้ขาดการกดหน้าอกนานถึง 37 วินาที ( Circulation. 2002; 106: 368–372. ) Biphasic : 200 J , Monophasic 360 J จึงแนะนำ Shock ครั้งเดียว จากนั้น CPR ต่อทันที อย่างน้อย 2 นาที หลัง shock แล้วค่อย check rhythm ใหม่
  • 37. ทันทีที่ช็อกไฟฟ้าเสร็จ ต้องคลำชีพจรหรือไม่ ? หลังช็อกไฟฟ้าใหม่ๆ ส่วนใหญ่ผู้ป่วยมักจะไม่มีชีพจรแม้จะมีคลื่นหัวใจแบบปกติ (Non perfusing rhythm) ( Resuscitation. 2003; 59: 189–196. ) การรีบกดหน้าอกหลังช็อกไฟฟ้า ไม่มีผลกระตุ้นให้กลับเป็น VF ( Resuscitation. 2005; 66: 7–11. ) การคลำชีพจร - 10% ว่ามีทั้งๆที่ของจริงไม่มี - 40% ว่าไม่มีทั้งๆที่ของจริงมี - ใช้เวลาคลำนานเกินไป ( Resuscitation. 2000; 44: 195–201)
  • 38. Minimum chest interuption 1. ทำ Defibrillation 5 s 2. ใส่ ET tube 10-15 s 3. เคลื่อนย้ายขนส่ง 15 s 4. เปลี่ยนผู้กด 5 s 5. ประเมิน carotid pulse 10 s 6. ใช้ AED 􀂄 ขัดจังหวะ chest compression ให้น้อยที่สุดเท่าที่จำเป็น 􀂄 ประสานกับหัตถการอื่นๆ อย่างดี เพื่อให้หยุดไม่เกิน 5-10 นาที - พร้อม shock จึงค่อยหยุด - หลัง shock กดต่อทันที
  • 39. Recovery position Scene safety Check response ถ้าผู้ป่วย เริ่มหายใจ มีชีพจร ให้จัดท่า recovery position Call for help& 1669 Supine position Open airway Check breathing 2 rescue breaths 30 chest compressions 30 : 2 ratio Recovery position
  • 42.
  • 43.
  • 44. ข้อผิดพลาดที่พบในการ CPR ปล่อยหน้าอกยกไม่สุด กดเบาเกินไป กดช้าเกินไป ปล่อยให้การกดหน้าอกขาดตอนบ่อย ไม่รู้ว่าตนเองอ่อนล้า บีบ Ambu bag ถี่เกินไป