SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 37
Baixar para ler offline
พัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรมไทย
สมัยก่อนประวัตศาสตร์ จนถึงสมัยสุโขทัย
ิ
วัตถุประสงค์
1.

2.
3.

นักศึกษาสามารถอธิบายพัฒนาการของการก่อตั้ง
อาณาจักรของคนไทยได้
นักศึกษาสามารถบอกปัจจัยที่ส่งผลต่อความเจริญ
ทางสังคมของไทยสมัยสุโขทัยได้
นักศึกษาสามารถอธิบายเหตุการณ์ สาคัญหรือภูมิ
ปัญญาสังคมในประวัติศาสตร์ไทยสมัย สุโขทัยได้
อย่างน้อย 2 เรื่อง
สมัยก่อนประวัตศาสตร์ในประเทศไทย
ิ
การขุดค้นทางโบราณคดีทาให้
พบหลั ก ฐานส าคั ญ ที่ แ สดงให้ เ ห็ น ว่ า
ประเทศไทยเคยเป็ น แหล่ ง อาศั ยของ
ชุมชนก่อนประวัติศาสตร์ ตั้งแต่ยุคหิน
เก่า และสิ้นสุดลงเมื่อประมาณ 1,500
ปีมาแล้ว
แหล่ ง โบราณคดี ส าคั ญ ได้ แ ก่
แหล่งโบราณคดีอาเภอแม่ทะ จ.ลาปาง
แหล่งฯ บ้านเชียง จ.อุดรธานี แหล่งฯ
ถ้าผีแมน จ.แม่ฮ่องสอน เป็นต้น
อาณาจักรโบราณในบริเวณประเทศไทย
ราวพุทธศตวรรษที่ 12
ณ ดินแดนประเทศไทยปรากฏรัฐ
ที่ ต่ อ มาได้ ก ลายศู น ย์ ก ลางความ
รุ่ ง เรื อ งทางวั ฒ นธรรมขึ้ น หลาย
แห่ง เช่น ทวารวดี (Dvaravati)
พุทธศตวรรษที่ 12-16, ลพบุรี ใน
ภาคใต้ ไ ด้ แ ก่ ตามพรลิ ง ค์ ใน
ภ า ค เ ห นื อ ไ ด้ แ ก่ ห ริ ภุ ญ ชั ย
เป็นต้น
การเติบโตทางการค้าและพัฒนาการของบ้านเมือง
การติดต่อทางการค้าทางทะเล กับอู่ของอารยธรรมของ
โลก ได้แก่ อินเดีย โรมัน ในราวพุทธศตวรรษที่ 9-10 โดยเฉพาะ
อินเดีย ซึ่งเป็นตะวันออก เป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้บ้านเมืองใหญ่
น้ อ ยในเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ มี พั ฒ นาการทางสั ง คมอย่ า ง
รวดเร็วโดยรับวัฒนธรรมจากแหล่งที่มีความเจริญสูงกว่า
การปรากฏตัวขึ้นของกลุมคน “ไท”
่
เมื่อวัฒนธรรมทวารวดี
เสื่อมลงอิทธิพลเขมรเข้ามา มี
อานาจมากขึ้ นและคงอิทธิพล
อยู่ จ นถึ ง ช่ ว งพุ ท ธศตวรรษที่
18-19 ในช่วงนี้กลุ่มชนที่เรียก
ตนเองว่า “ไท” (คือชนกลุ่มที่มี
การใช้ภาษาตระกูลไทร่วมกัน )
เริ่ ม รวมกลุ่ ม และมี อ านาจ
เข้มแข็งขึ้น
้
การตังถิ่นฐานของกลุมคน “ไท”
่
พุทธศตวรรษที่ 18 เริ่มเกิด
การรวมตัวของกลุ่มชนที่ใช้ภาษา
ตระกูลไทซึ่งอาจอพยพมาจากถิ่น
อื่นนานแล้ว และเข้าปะปนกับคน
พื้นเมืองเดิม ได้ตั้งถิ่นฐานและ
ขยายตัวเป็นนครรัฐและเข้มแข็ง
จนสามารถขับไล่อิทธิพลของเขมร
ออกไปได้สาเร็จ
อิทธิพลวัฒนธรรมอินเดีย
ที่ส่งผลต่อพัฒนาการของการขยายตัวของแว่นแคว้นใน SEA
อิทธิพลวัฒนธรรมอินเดียต่อการขยายตัวของอาณาจักร
พุทธศตวรรษที่ 18-19
ดินแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
มีพัฒนาการจากชุมชนและนครรัฐ
เป็นอาณาจักร โดยรับระบบการ
ปกครองและความเชื่อทางศาสนา
จ า ก อิ น เ ดี ย ใ น ลั ก ษ ณ ะ ผ ส ม
กลมกลื น กั บ วั ฒ นธรรมดั้ ง เดิ ม มี
การถ่ายทอดวัฒนธรรมและระบบ
การปกครองที่มีเอกภาพร่วมกัน
อาณาจักรสุโขทัย
การสถาปนาอาณาจักรของคนเชื้อสาย “ไท”
การรวมตัวของกลุ่มชนที่
ใช้ภาษาตะกูล “ไท” ทาให้เกิด
ความเป็นเอกภาพและความรู้สึก
นึกคิดร่วมกัน เกิดวัฒนธรรมที่มี
ลักษณะเป็นของตนเองที่แตกต่าง
จากวัฒนธรรมอื่นๆ (มอญ-เขมร)
ดังนั้นตั้งแต่ช่วงนี้เป็นต้นมาจึงมี
การเรียกว่า สมัยไท (ย)
จนถึงราวพุทธศตวรรษที่ 18-19 คนเชื้อสายไท ได้รวมตัวเป็น
บ้านเมืองที่มั่นคงหลายแห่ง เช่น นครไทย สองแคว ทุ่งยั้ง สุโขทัย
ศรีสัชนาลัย
หลักฐานทางโบราณคดีทาให้ทราบว่าอาณาเขตของสุโขทัยมี
ขอบเขตวั ฒ นธรรมกว้ า งขวางครอบคลุ ม พื้ น ที่ บ ริ เ วณภาคเหนื อ
ตอนล่าง ภาคกลางและบางส่วนของภาคอีสาน ของไทยในปัจจุบัน
อาณาจักรสุโขทัย (Kingdom of Sukhothai)
หลักฐานทางโบราณคดีบ่งชี้ว่า
บ ริ เ วณ ที่ เ ค ย เ ป็ น อ า ณ า จั ก ร
สุโขทัยนั้น มีร่องรอยการอยู่อาศัย
ข อ ง ชุ ม ช น โ บ ร า ณ ม า ตั้ ง แ ต่
สมัยก่อนประวัติศาสตร์แล้ว
จนในราว พศต.ที่ 16 - 17
เขมรได้ขยายอิทธิพลเข้ามายังลุ่ม
แม่ น้ าเจ้ า พระยาและมี อ านาจ
ครอบคลุมมาถึงเมืองสุโขทัย
พุทธศตวรรษที่ 17-18 อาณาจักรต่างๆ เจริญรุ่งเรือง
ขึ้นจากการค้ากับอินเดีย จีน และเปอร์เซีย ตลอดจนการค้ากับ
อาณาจักรใกล้เคียง เช่น พุกาม และรัฐในลุ่มน้าเจ้าพระยา ผล
ของการติ ด ต่ อทาให้เกิด บ้ านเมืองที่ เป็ นศู นย์กลางการค้า ขึ้ น
หลายแห่ง และยังส่งผลถึงความได้เปรียบทางเศรษฐกิจและ
การเมืองของแคว้นสุโขทัยอีกด้วย
ศูนย์กลางของอาณาจักรสุโขทัย ตั้งอยู่ทางตอนล่างของ
ภาคเหนือหรือตอนบนของที่ราบลุ่มใหญ่ภาคกลาง หัวเมือง
สาคัญได้แก่ เมืองกาแพงเพชร ควบคุมเส้นทางแม่น้าปิง เมือง
พิษณุโลก คุมเส้นทางแม่น้าน่าน และ เมืองศรีสัชนาลัย
ควบคุมเส้นทางแม่น้ายม
การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย (Sukhothai)
ราว พ.ศ.1792 ผู้นาไท คือ
พ่ อ ขุ น ผาเมื อ ง และพ่ อ ขุ น บาง
กลางหาว ได้ขั บ ไล่ อิทธิพลเขมร
ออกจากลุ่ ม น้ ายม (สุ โ ขทั ย ,
เชลี ย ง) ได้ ส าเร็ จ และสถาปนา
พ่อขุนบางกลางหาว ขึ้นเป็นปฐม
กษั ต ริ ย์ แ ห่ ง ศรี สั ช นาลั ย สุ โ ขทั ย
ท ร ง พ ร ะ น า ม ว่ า พ่ อ ขุ น ศ รี
อินทราทิย์ (ต้นราชวงศ์พระร่วง)
สภาพสังคมและการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
ศิลาจารึกหลักที่ 1 ให้
ข้อมูลสมัยพ่อขุนรามคาแหงฯ ว่า
สุ โ ขทั ย ความมี ค วามเป็ น ปึ ก แผ่ น
มี ร ะบบการปกครองที่ มี ร ะเบี ย บ
แบบแผน ในลักษณะบิดาปกครอง
บุ ต ร (แม้ ว่ า สั ง คมเป็ น แบบแบบ
เจ้ า และไพร่ ) ราษฎรมี สิ ท ธิ แ ละ
เ ส รี ภ า พ ใ น ก า ร ด า เ นิ น ชี วิ ต
พอสมควร มีการใช้กฎหมาย ใน
การจัดระเบียบทางสังคม
พระมหากษัตริยสุโขทัยทรงพิจารณาอรรถคดีทรงพิพากษาและ
์
ตัดสินคดีความต่างๆ ด้วยพระองค์เอง
สภาพทางเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย
สมัยสุโขทัยมีระบบเศรษฐกิจแบบยังชีพ บ้านเมืองมี ความ
อุดมสมบูรณ์ดังคากล่าวที่ว่า “ในน้ามีปลา ในนามีข้าว” ความที่ตั้ง
ของที่ตั้งบริเวณลุ่มแม่น้ายม และระบบจัดการน้าที่มีประสิทธิภาพมี
แหล่งกักเก็บที่เรียกว่า สรีดภงส์ ราษฎรจึงมีน้าอุปโภคบริโภคและทา
การเกษตรได้ตลอดทั้งปี
ศิลาจารึกให้ข้อมูลพืชผลทางการเกษตรไว้ ดังนี้ “ป่าหมาก
ป่าพลูทั่วเมืองนี้ทุกแห่ง ป่า พร้าวก็หลายในเมืองนี้ ป่าลาง ก็หลาย
ในเมืองนี้..ใครสร้างได้ไว้แก่มัน”
สภาพทางเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย (ต่อ)
สุ โ ขทั ย มี ต ลาดส าหรั บ ซื้ อ ขายแลกเปลี่ ย นสิ น ค้ า
เรียกว่า ปสาน โดยพระมหากษัตริย์สนับสนุนการค้าขาย คือ
การยกเว้นการเก็บภาษีผ่านด่านหรือ “จังกอบ” (จกอบ) ดัง
จารึกที่ว่า“เจ้าเมืองบ่เอาจกอบในไพร่ ลูท่าง เพื่อนจูงวัวไปเค้า
ขี่ม้าไปขาย ใครใคร่ค้าม้า ค้า ใครใคร่ค้าช้าง ค้า”
ประกอบกับความเจริญของเส้นทางการค้าทางบก และ
การค้ า ที่ ค่ อ นข้ า งเสรี จ ากนโยบายของรั ฐ ท าให้ สุ โ ขทั ย เป็ น
ศูนย์กลางทางการค้าระหว่างรัฐทั้งจากอินเดีย จีน และบริเวณ
ใกล้เคียง
สภาพทางเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย (ต่อ)
การค้ า สมั ย สุ โ ขทั ย ใช้ เ ส้ น ทางการค้ า ส าคั ญ ทางจากกรุ ง
สุโขทัย ผ่านกาแพงเพชร ตาก ไปยังเมืองเมาะตะมะ ซึ่งเป็นเมืองท่า
เป็นที่ซื้อขายแลกเปลี่ยนกับพ่อค้าจากอินเดีย เปอร์เซียและอาหรับ
และเส้นทางจากสุโขทัยสู่อ่าวไทย โดยล่องเรือผ่านแม่น้าเจ้าประยา
และล าน้ าสาขาต่ า งๆ ใช้ ติ ด ต่ อ ค้ า ขายกั บ พ่ อ ค้ า จี น มลายู
อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์
สิ น ค้ า ส่ ง ออกได้ แ ก่ เ ครื่ อ งสั ง คโลก ผลิ ต ผลทางการเกษตร
ของป่า เช่น ครั่ง กายาน ยางรัก หนังสัตว์ ไม้ฝาง ไม้กฤษณา ส่วน
สินค้าขาเข้าได้แก่ ผ้าแพร ผ้าไหม เครื่องเหล็ก และอาวุธต่างๆ
วัฒนธรรมสุโขทัย ต้นกาเนิดวัฒนธรรมไทย
สั ง คมสุ โ ขทั ย ได้ ส ร้ า งแบบแผนการด าเนิ น ชี วิ ต และ
วัฒนธรรมไว้ มากมาย ทั้งการประดิษฐ์ตัวอักษรไทย วรรณกรรม
ประเพณี ดนตรี จิ ต รกรรมประติ ม ากรรมและ สถาปั ต ยกรรม
ดังนี้
ตั ว อั ก ษรไทย ศิ ล าจารึ ก หลั ก ที่ 1 ให้ ข้ อ มู ล สมั ย พ่ อ ขุ น
รามคาแหงตอนหนึ่งว่า “ …1205 ศก ปีมะแม พ่อขุนรามคาแหง
หาใคร่ใจในแลใส่ลายสือไทยนี้ จึ่งมีเพื่อขุนผุ้นั่นใส่ไว้…” จึงเป็นที่
เชื่อกันว่าพ่อขุนรามคาแหงได้ประดิษฐ์ อักษรไทย พ.ศ. 1826 เป็น
อักษรไทยเก่าแก่ที่สุดที่ใช้ในประเทศไทยและใช้มาจวบจนปัจจุบัน
วัฒนธรรมสุโขทัย ต้นกาเนิดวัฒนธรรมไทย (ต่อ)
วรรณกรรมสุโขทัยนับเป็น วรรณกรรมที่ทรงคุณค่าและมี
อิทธิพลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยสมัยสุโขทัยและสืบทอด
มาจนถึ ง ปั จ จุ บั น ได้ แ ก่ ศิ ล าจารึ ก (ให้ ข้ อ มู ล ทั้ ง ทางด้ า นอั ก ษร
ศาสตร์ นิติศาสตร์ สังคมศาสตร์ และอื่น ๆ), ไตรภูมิพระร่วง (เป็น
วรรณกรรมทางศาสนาสั่งสอนเกี่ยวกับความดีความชั่ว), สุภาษิต
พระร่วง (คติธรรมสอนเรื่องการดาเนินชีวิต ), ตารับท้าวศรีจุฬา
ลักษณ์ (ขนบธรรมเนียมประเพณีของราชสานัก และกิริยามารยาท
ของฝ่ายใน) เป็นต้น
วัฒนธรรมสุโขทัย ต้นกาเนิดวัฒนธรรมไทย (ต่อ)
ศิลาจารึกหลักที่ 1 ให้ข้อมูลเกี่ยวกับดนตรีและการฟ้อน
ราที่แสดงให้เห็นว่ า ในสมัยสุโขทัยการร้องราทาเพลง และการ
แสดงฟ้อนราว่า “…เมื่อจักเข้ามาเวียงเรียงกันแต่อรัญญิกพู้นเท้า
หัวลานดมบงคมกลอง ด้วยเสียงพาทย์เสียงพินเสียงเลื่อนเสียงขับ
ใครจักมักเล่น ใครจักมักหัว ใครจักมักเลื่อนเลื่อน…”
เชื่อกันว่าในสมัยสุโขทัยมีทั้งการร้องและการขับ ซึ่งเพลง
ที่ น่ า จะเป็ น เพลงสมั ย สุ โ ขทั ย คื อ เพลงเทพเพลงเทพทอง
(นักศึกษาสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จาก VDO ประกอบคาบรรยาย)
วัฒนธรรมสุโขทัย ต้นกาเนิดวัฒนธรรมไทย (ต่อ)
สถาปัตยกรรมสมัยสุโขทัย ที่โดดเด่น ได้แก่ เจดีย์ทรง
ดอกบัวตูมแบบวัดมหาธาตุ เมืองสุโขทัย ซึ่งถือว่าเป็นแบบเจดีย์
ทรงดอกบัวแบบสุโขทัยแท้ ตั้งอยู่บนฐานเขียง เหนือฐานบัว
ลูกแก้วเป็นแท่นแว่นฟ้าย่อเหลี่ยม แท่นแว่นฟ้ารับเรือนธาตุ ต่อ
จากเรือนธาตุเป็นยอดที่เป็นดอกบัวตูม
ศาสนาและความเชื่อ
สมั ย ดั้ ง เดิ ม ชาวสุ โ ขทั ย มี
ความเชื่ อ เกี่ ย วกั บ ผี แ ละวิ ญ ญาณ
บรรพบุ รุ ษ ต่ อ มารั บ ลั ท ธิ พ ราหมณ์
และนับถือ พระพุทธศาสนา ควบคู่
ไปกับความเชื่อเดิม
แม้ ว่ า กาลต่ อ มาจะได้ รั บ คติ
ทางพระพุ ทธศาสนาแล้ว แต่ สัง คม
สุ โ ขทั ย ยั ง คงนั บ ถื อ ผี และเทพยดา
ประจาเมืองเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ จึงต้อง
จัดให้มีพิธีการสังเวยบูชาเป็นประจา
สรุป
กษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัย ได้ครองราชย์สืบต่อกันมาเป็น
เวลาราว 200 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 1780 – พ.ศ. 1981 จนถึง พ.ศ.
1983 กลุ่มคนไทบริเวณลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาได้รวมตัวกันสถาปนา
อาณาจักรใหม่มีความได้เปรียบด้านที่ตั้ง และมีผู้นาที่เข้มแข็งทา
ให้สามารถยึดครองสุโขทัยได้ในปี พ.ศ.1981
แม้ว่าอานาจทางการเมืองของสุโขทัยจะสิ้นสุดลง หากแต่
ความเจริญทางวัฒนธรรมในด้านต่างๆ ที่บรรพบุรุษได้สั่งสมก็ได้
ถูกส่งผ่านจากอดีต เป็นวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของคนเชื้อสายไท
ตลอดมาไม่ขาดสาย
คาถามท้ายบท
1.

2.

เมื่อนักศึกษาได้ศึกษาเรื่องนี้แล้ว เห็นถึงพัฒนาการของกลุ่ม
คนในดินแดนไทยสมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงการรวบรวม
อาณาจักรอย่างไร จงอธิบาย
บทเรี ย นนี้ นั ก ศึ ก ษาได้ เ รี ย นรู้ วั ฒ นธรรมความเจริ ญ ของ
อาณาจั ก รสุ โ ขทั ย ในหลายด้ า น ให้ นั ก ศึ ก ษายกตั ว อย่ า ง
ความวั ฒ นธรรมและภู มิ ปั ญ ญาด้ านต่ า งๆของคนในสมั ย
สุ โ ขทั ย ที่ ยั ง คงเห็ น ได้ ใ นปั จ จุ บั น และน ามาซึ่ ง ความ
ภาคภูมิใจในฐานะคนไทยอย่างไร

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยาchakaew4524
 
อาณาจักรสมัยโบราณ
อาณาจักรสมัยโบราณอาณาจักรสมัยโบราณ
อาณาจักรสมัยโบราณyeanpean
 
อาณาจักรส..
อาณาจักรส..อาณาจักรส..
อาณาจักรส..sandzii
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัตนโกสินทร์สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัตนโกสินทร์krunrita
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Mais procurados (20)

~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
 
อาณาจักรสมัยโบราณ
อาณาจักรสมัยโบราณอาณาจักรสมัยโบราณ
อาณาจักรสมัยโบราณ
 
อาณาจักรส..
อาณาจักรส..อาณาจักรส..
อาณาจักรส..
 
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจพัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัตนโกสินทร์สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัตนโกสินทร์
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
งานสังคม...
งานสังคม...งานสังคม...
งานสังคม...
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 

Semelhante a Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai

รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขKwandjit Boonmak
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยkrunrita
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัยsangworn
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1wanpenrd
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1wanpenrd
 
111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143sibsakul jutaphan
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Semelhante a Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai (20)

รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
 
Art
ArtArt
Art
 
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรมUnit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
Japan
JapanJapan
Japan
 
111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 

Mais de Thaiway Thanathep

ประเพณีไทย
ประเพณีไทยประเพณีไทย
ประเพณีไทยThaiway Thanathep
 
รัตนโกสินทร์
รัตนโกสินทร์รัตนโกสินทร์
รัตนโกสินทร์Thaiway Thanathep
 
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยาการค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยาThaiway Thanathep
 
ประเพณีไทย การแต่งงาน เอกสารประกอบการเรียนวิชาวิถีไทย
ประเพณีไทย การแต่งงาน   เอกสารประกอบการเรียนวิชาวิถีไทยประเพณีไทย การแต่งงาน   เอกสารประกอบการเรียนวิชาวิถีไทย
ประเพณีไทย การแต่งงาน เอกสารประกอบการเรียนวิชาวิถีไทยThaiway Thanathep
 

Mais de Thaiway Thanathep (7)

ประเพณีไทย
ประเพณีไทยประเพณีไทย
ประเพณีไทย
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทย
 
วัฒนธรรม
วัฒนธรรมวัฒนธรรม
วัฒนธรรม
 
รัตนโกสินทร์
รัตนโกสินทร์รัตนโกสินทร์
รัตนโกสินทร์
 
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยาการค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
 
มารยาทไทย
มารยาทไทยมารยาทไทย
มารยาทไทย
 
ประเพณีไทย การแต่งงาน เอกสารประกอบการเรียนวิชาวิถีไทย
ประเพณีไทย การแต่งงาน   เอกสารประกอบการเรียนวิชาวิถีไทยประเพณีไทย การแต่งงาน   เอกสารประกอบการเรียนวิชาวิถีไทย
ประเพณีไทย การแต่งงาน เอกสารประกอบการเรียนวิชาวิถีไทย
 

Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai