SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 19
โปรแกรม                                           หน่วยการ
           คอมพิวเตอร์                                      เรียนรู้ที่

            ตัวชี้วัดช่วง
                                                                   2
    ชั้น
           เขียนโปรแกรมภาษา (ง ٣.١ ม. ٦/٦-٤)

    ผังมโนทัศน์สาระ                               ประเภทของภาษา
    การเรียนรู้ วเตอร์
        คอมพิ
                                                                   ตัวอ
           ย่างภาษาคอมพิวเตอร์
                                                                   หลัก
           การเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์

ความหมายและ                                       ภาษา
ลักษณะของ                                     คอมพิวเตอร์
โปรแกรม


                                โปรแกรม

                                คอมพิวเต


                                       ตัวอย่าง
                            การเขียน

                                 ลักษณะของภาษา HTML
                                  หลักการเขียนภาษา HTML
                ประโยชน์จาก       คำาสั่งและการแสดงผล
การเรียน
1.รู้ความหมายและลักษณะของ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
2.แยกประเภทของโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ได้
3.เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้
ลองคิด ลอง
                             ตอบ
                             1.การทำางานของโปรแกรม
 การประยุกต์ใช้ในชีวิต       คอมพิวเตอร์เหมือนกับการทำางาน
ประจำาวัน                    ของมนุษย์อย่างไร
                             2.ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่มีโปรแกรม
   ١.ใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศแก้จะสามารถทำางานได้
                             คอมพิวเตอร์ปัญหาในชีวิต
   ประจำาวัน
   ٢.ถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาพบในชีวิตประจำาวัน
   ด้วยอัลกอริทึม

           คำา
    ทบทวน
   ١.รหัสจำาลองมีลักษณะอย่างไร
   ٢.ผังงานแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
   ٣.อัลกอริทึมที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
   ٤.โครงสร้างแบบทำาซำ้ามีลักษณะอย่างไร
   ٥.อัลกอริทึมที่ดีต้องมีมอดูลหรือไม่ เพราะเหตุใด
   ٦.ผังงานระบบแตกต่างจากผังงานโปรแกรมอย่างไร
   ٧.สัญลักษณ์ทใช่ในผังงานกำาหนดโดยหน่วยงานใด
                  ี่
   ٨.กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศมีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง
   ٩.ข้อความที่อยู่ในสัญลักษณ์ของผังงานควรมีลักษณะ
   อย่างไร
   ١٠.ผังงานประเภทใดนิยมใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำาวัน
   เพราะเหตุใด
   ١١.อัลกอริทึมคืออะไร เกี่ยวข้องกับกระบวนการ
   เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างไร
   ١٢.เงื่อนไขเป็นสัญลักษณ์ที่มีลักษณะอย่างไรและใช้
   สำาหรับโครงสร้างผังงานแบบใด
   ١٣.การตรวจสอบและปรับปรุงกระบวนการเทคโนโลยี
   สารสนเทศมีประโยชน์อย่างไร
   ١٤.การเขียนบรรยายด้วยคำาพูดด้วยภาษามนุษย์จัดเป็นอัล
   กอริทึมหรือไม่ เพราะเหตุใด
١٥.การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนในกระบวนการ
เทคโนโลยีสารสนเทศควรคำานึงถึงสิ่งใดเป็นสำาคัญ




องค์ประกอบสำาคัญในการทำางานของคอมพิวเตอร์ คือ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึงเป็นองค์ประกอบที่สั่งให้
                       ่
คอมพิวเตอร์ทำางานตามที่ผู้ใช้งานต้องการ ดังนั้นหาก
คอมพิวเตอร์ไม่มีโปรแกรมคอมพิวเตอร์ก็จะเป็นเพียงวัสดุ
อุปกรณ์ที่ไม่สามารถทำางานได้
          ความหมายและลักษณะของโปรแกรม
  คอมพิวเตอร์
   โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ( Program computer ) คือ ชุดคำา
สั่งทีใช้สำาหรับแสดงและสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ เพื่อให้
      ่
คอมพิวเตอร์ทำางานตามลำาดับขั้นตอนที่เขียนไว้ในชุดคำาสั่งนั้นๆ
คำาสั่งเหล่านี้นักพัฒนาโปรแกรมหรือ โปรแกรมเมอร์
( programmer ) จะเขียนขึ้นด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ตามลำาดับขั้น
ตอนของการพัฒนาโปรแกรม ดังนี้
        ١.วิเคราะห์ปัญหา ปัญหาส่วนใหญ่ที่พบมักเกิดจากระบบงาน
หรือเป็นปัญหาที่สนใจ โดยทัวไปนิยมวิเคราะห์จากผลลัพธ์ที่
                             ่
ต้องการ ( output ) ก่อน แล้วย้อนกลับไปยังที่มาของข้อมูลทีนำา  ่
เข้าสู่ระบบ ( Input ) ตลอดจนข้อมูลอื่นๆ ทีมีส่วนเกี่ยวข้องการนำา
                                           ่
ไปใช้ในการประมวลผล
        ٢. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา เมื่อทราบผลลัพธ์ที่ต้องการ
และที่มาของข้อมูลทีนำาเข้าสู่ระบบแล้ว ขั้นต่อไปต้องวางแผนเพื่อ
                      ่
แก้ปัญหาว่า มีวิธีการอย่างไรที่จะทำาให้ได้ผลลัพธ์ตามทีระบุไว้ใน
                                                         ่
ขั้นตอนแรก โดยใช้วิธีเขียนลำาดับขั้นตอนการแก้ปัญหาที่เรียกว่า
อัลกอริทึม                         ( Algorithm ) ซึ้งจะใช้รหัส
จำาลอง ( pseudo code ) และผังงาน ( Flowchart )
เป็นเครื่องมือช่วยในการถ่ายทอดความคิด
           ٤. ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม ภายหลังจากเขียน
โปรแกรมเสร็จสิ้นก็จะต้องทำาการทดสอบโปรแกรมเพื่อหาว่ามีข้อ
ผิดพลาด ( Error ) ทีเกิดขึ้นจากโปรแกรมหรือไม่ ข้อผิดพลาด
                        ่
ต่างๆ ทีพบในขั้นตอนการทดสอบโปรแกรมนั้นแบ่งออกเป็น ٣
         ่
ประเภท ได้แก่
       ٤.١ ข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ภาษา ( Runtime Error )
เกิดจากการเขียนชุดคำาสั่งไม่ถูกต้องตามไวยากรณ์ของภาษา
คอมพิวเตอร์นั้นๆ ซึ่งได้แก้ไขไม่ยาก
             ٤.٢ ข้อผิดพลาดระหว่างประมวลผล ( Runtime Error )
เกิดขณะที่โปรแกรมกำาลังประมวลผลหรือกำาลังทำางานอยู่ โดย
อาจเป็นความความผิดพลาดจากการป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบแล้วไม่
สามารถประมวลผลได้ เช่น ชุดคำาสั่งที่มี่การคำานวณด้วยการหารมี
ค่าเป็น ٠ ก็จะทำาให้โปรแกรมเกิดข้อผิดพลาดทันทีและไม่
สามารถทำางานต่อไปได้ถ้าไม่มีการเขียนชุดคำาสั่งไว้รองรับปัญหา
นั้น ๆ ก่อน
      ٤.٣ ข้อผิดพลาดทางวิธีการคิด ( Logical Error ) เป็นข้อผิด
พลาดทีแก้ไขยากที่สุดเพราะถึงแม้ว่าโปรแกรมจะประมวลผลได้
           ่
ผลลัพธ์ออกมา แต่ไม่สามารถทำาให้มั่นใจได้วาวิธีการแก้ปัญหา
                                            ่
นั้นถูกต้องจริง จึงจำาเป็นที่ต้องมีการทดสอบหลาย ๆ ครั้ง ทังจาก
                                                          ้
ผู้พัฒนาโปรแกรมและใช้งานจริง
    การทดสอบและการแก้ไขโปรแกรม แบ่งออกเป็น ٢ ส่วน
ได้แก่ การทดสอบโดยผู้พัฒนาโปรแกรมและการทดสอบโดยผู้ใช้
งาน
    การทดสอบโดยผู้พัฒนาโปรแกรม เป็นการทดสอบขั้นต้นว่ามี
ข้อผิดพลาดที่เกิดจากไวยากรณ์ภาษาหรือไม่ ถ้ามีกทำาการแก้ไข
                                                  ็
จนกว่าจะถูกต้อง นอกจากนี้จะต้องทดสอบด้วยการป้อนข้อมูล
สมมุติเข้าสู่ระบบแล้วพิจารณาว่าผลลัพธ์ได้เป็นไปตามที่วิเคราะห์
หรือไม่ โดยต้องทดสอบจากข้อมูลที่เป็นไปได้หลายๆกรณี เพื่อ
ให้โปรแกรมทำางานได้ถูกต้องแม่นยำาที่สุด
    การทดสอบโดยผู้ใช้งานจริง ด้วยการใช้ข้อมูลจากการทำางาน
จริงๆพิจารณาผลลัพธ์ที่ได้ให้เป็นไปตามที่วิเคราะห์โดยผู้พัฒนา
โปรแกรม แล้วจึงรวมทั้งปรับปรุงโปรแกรมให้ทำางานได้ตามความ
ต้องการของผู้ใช้งานจริง
٥. จัดทำาเอกสารประกอบ เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบแล้วก็จะ
ต้องจัดทำาเอกสารประกอบ ซึ่งควรมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการใช้
งานโปรแกรม วิธีการติดตั้งโปรแกรม ขั้นตอนต่างๆ ในการพัฒนา
โปรแกรม อัลกอริทึม และโปรแกรมต้นฉบับ ( source code ) เพื่อ
ประโยชน์ในกรณีที่ต้องการหรือปรับปรุงโปรแกรมภายหลัง
٦. บำารุงรักษาโปรแกรม หลังจากทีได้นำาโปรแกรมไปใช้งานจริงก็
                                           ่
          ต้องมีการติดตามว่าโปรแกรมทำางานได้สอดคล้องกับความ
          ต้องการหรือไม่ หรือหากผู้ใช้งานมีความต้องการเพิ่มเติมหรือการ
          เปลียนแปลงส่วนใดก็ต้องดำาเนินการแก้ไขให้เป็นไปตามความ
              ่
          ต้องการ




          วิเคราะห์ปัญหา              ออกแบบวิธีการ                        เขียน
          โปรแกรม                   ทดสอบ
                                          ปัญหา
          แก้ไขโปรแกรม


                                                                            บำารุง
          รักษา                  จัดทำาเอกสาร
                                                                            โปรแกร
          ม                      ประกอบ


                                 แหล่งค้น
                                                                                           สาระน่ารู้
ข้อมูล                                            ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม วหนึ่งทำาให้
                                                                   ปี ค.ศ. 1945 มีแมลงตั
E-learning เช่น
http://e-learning.snru.ac.th/els/program1/lesson/page1.html
                                                            เกิดข้อผิดพลาดในการทำางานของ
 และ http://www.thaiall.com/article/teachpro.htm            คอมพิวเตอร์ ทำาให้เรียกข้อผิดพลาดใน
เว็บไซต์ค้นหาข้อมูล เช่น                                    การทำางานของคอมพิวเตอร์ว่า บัก ( Bug)
http://www.google.com                                       และเรียกกระบวนการค้นหาและแก้ไขข้อ
                                                            ผิดพลาดของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ว่าการ
                                                            ดีบัก
                                                        ( Debugging )




        กิจกรรม
   พัฒนหาความหมายและลักษณะของคำาสำาคัญทีเกี่ยวกับโปรแกรม
   1.ค้นาการเรียนรู้                            ่
   คอมพิวเตอร์ เช่น program software,Application,bug และ source
   code
   2.ร่วมกันวิเคราะห์ว่า ถ้าสามารถสั่งงานคอมพิวเตอร์ได้ นักเรียนจะ
         ภาษา
   สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำางานอะไร เนื่องจากอะไร แล้วกำาหนดเป็น
ภาษาคอมพิวเตอร์หรือภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
         ( Computer programming Language )มีพื้นฐานมาจากการปิด
         กระแสไฟฟ้า หรือระบบเลขฐานสอง คือ ٠ และ ١ เรียง
         ต่อกันเพื่อแทนความหมายต่างๆ ในคอมพิวเตอร์ ปัจุบันมีผู้
         สร้างและพัฒนาภาษาคอมพิวเตอร์หลายภาษา เช่น John
         Kemeny และ Thomas Kurtz สร้างภาษาเบสิก ( basic ) Niklaus Wirth
         สร้างภาษาซี ( c ) โดยมีประเภทของภาษาคอมพิวเตอร์ และตัวอย่างของ
         ภาษาคอมพิวเตอร์ดังนี้

          ประเภทของภาษา
       คอมพิวเตอร์
              ภาษคอมพิวเตอร์แบ่งตามลักษณะของภาษาและการ
         ใช้งานได้ ٤ ประเภท ดังนี้١. ภาษาเครื่อง
                                               สาระน่ารู้
         ( MachinLanguage)                     นอกจากนีรหัสแทนข้อมูลแอสกีแล้ว
                                                          ้
              เป็นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็น งยังสามารถแทนด้วยรหัส
                                               ภาษาเครื่อ
               ตัวเลขในระบบฐานสอง คือ ٠ และ ١ ภาษาเครื่อง เช่น รหัสเอบซี
                                               แทนข้อมูลอื่นๆได้อีก
         เป็นภาษาในรูปแบบเดียวที่คอมพิวเตอร์สกและรหัสยูนโคด
                                               ดิามารถเข้าิใจและ
         นำาไปใช้งานได้ทันทีโดยไม่ต้องใช้ตัวแปลชุดคำาสั่ง แต่
         มนุษย์จะเข้าใจเมื่อแทนด้วยรหัสแทนมนุษย์

                                ตารางรหัสแทนข้อมูลแอสกี

    ข้อมูล                       ข้อมูล                    ข้อมูล
รหัสแอสกี                    รหัสแอสกี                 รหัสแอสกี
   A          10100001           E        10100101         I        10101001

   B          10100010           F        10100110         J        10101010

   C          10100011           G        10100111         K        10101011

   D          10100100           H        10101000          L       10101100
ตารางรหัสแทนข้อมูลแอสกี ( ต่อ )
    ข้อมูล                     ข้อมูล                     ข้อมูล
รหัสแอสกี                 รหัสแอสกี                 รหัสแอสกี
   M         10101101         U         10110101
                                                    ٢
   N          ٣
             10101110         V         10110110    ٠١٠١٠٠١٠
   O         10101111         W         10110111    ٤
                                                    ٠١٠١٠٠١١
    P        10110000         X          10111000
                                                    ٥
    Q        10110001         Y         10111001    ٠١٠١٠١٠١
    R        10110010         Z         10111010    ٦
    S        10110011         0          01010000
                                                    ٠١٠١٠١١٠

    T        10110100
                                                    ٧
                              1         01010001
                                                    ٠١٠١٠١١١
                                                    ٨
                ชุดสั่งของภาษาเครื่องจะมีลักษณะเป็นเอกลักษณ์
         เฉพาะของหน่วยประมวลผลแต่ละรุ่นในคอมพิวเตอร์ ทำาให้
         เกิดข้อดีและข้อเสียดังนี้
                ข้อดี คือ โปรแกรมเมอร์สามารถควบคุมการทำางาน
         ของคอมพิวเตอร์ได้โดยตรงคอมพิวเตอร์เข้าใจคำาสั่งได้
         ทันที เหมาะกับงานที่ต้องการประสิทธิภาพสูงและต้องการ
         ใช้หน่วยความจำาน้อย
                ข้อเสีย คือ ต้องใช้เวลาในการเขียนนาน เมื่อมีข้อผิด
         พลาดจะทำาการตรวจจะทำาการตรวจสอบได้ยาก ต้องใช้ผู้
         เชี่ยวชาญหรือโปรแกรมเมอร์ในการเขียนภาษา และภาษา
         ที่เขียนขึ้นจะได้กับหน่วยประมวลผลในรุ่นที่เขียนขึ้น
         เท่านั้น
٢. ภาษาแอสเซมบลี ( Assembly Language ) จัดเป็น
ภาษาระดับตำ่า              ( Low – level ) ภาษาแอสเซมบลี
พัฒนามาจากภาษาเครื่อง โดยใช้รหัสภาษาอังกฤษแทนคำาสั่งใน
คอมพิวเตอร์ ทำาให้การเขียนโปรแกรมหรือชุดคำาสั่งด้วยภาษา
แอสเซมบลีทำาได้ง่ายและสะดวกกว่าการเขียนโปรแกรมหรือชุด
คำาสั่งด้วยภาษาเครื่อง แต่วิธีการเขียนคำาสั่งยังมีสวนคล้ายคลึงกับ
                                                   ่
ภาษาเครื่อง รหัสทีใช้ภาษาเอสเซมบลี เรียกว่า รหัสนีมอนิก(Mne
                  ่
monic code)
ซึ่งจะใช้แทนเลขฐานสองที่เป็นภาษาเครื่อง

            รหัสนีมอนิก
 ความหมาย

            ADD                       การบวก ( Add )

         SUB                        การลบ ( Subtract )

         MUL                        การคูณ ( Multiply )

         DIV                        การหาร ( Divide )


แต่เนื่องจากภาษาแอสเซมบลีเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์ไม่
เข้าใจ คอมพิวเตอร์จึงต้องมีตัวแปล ( Translator Program
or Language Processor ) เพื่อให้ภาษาเครื่อง ตัวแปล
ภาษาดังกล่าวเรียกว่า แอสเซมเบลอร์ ( Assembler )
จากหลักการจงกล่าวทำาให้เกิดข้อดีและข้อเสียของภาษา
แอสเซมบลีดงนี้ั
        ข้อดี คือ คอมพิวเตอร์ประมวลผลได้เร็วเหมือนกับ
การใช้ภาษาเครื่อง สามารถ เขียนได้ง่ายและใช้เวลาใน
การเขียนน้อยกว่าภาษาเครื่อง
ข้อเสีย คือ ไม่เหมาะต่อการเขียนโปรแกรมที่มีขนาดใหญ่
เละภาษายังมีความซับซ้อนและเข้าใจยาก
٣.ภาษาระดับสูง ( High-level Language ) หรือภาษาในยุคที่
สาม ( Third-generation Language ) เป็นภาษา
คอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้มนุษย์สามารถเข้าใจใน
คอมพิวเตอร์มากยิ่งขึ้น จึงมีลักษณะคล้ายคลึงกับภาษาที่
          มนุษย์ใช้ใน ปัจุบัน การใช้งานภาษาระดับสูงจะต้องอาศัย
          ตัวแปลภาษา โดยตัวแปลภาษาที่ใช้งานในปัจุบัน คือ คอม
          ไพเลอร์และอินเทอร์พรีเตอร์ ซึงมีลักษณะและหลักการ
                                         ่
          ทำางานแตกต่างกัน ดังนี้
          ٣.١ คอมไพเลอร์ ( Compiler ) จะแปลโปรแกรมต้นฉบับทั้ง
          โปรแกรมในครั้งเดียวให้เป็นโปรแกรมเรียกใช้งาน
          ( Executable Program ) และเมื่อต้องการเรียกใช้งานก็
          สามารถเรียกได้จากโปรแกรมเรียกใช้งานนี้ โดยไม่ต้อง
          แปลภาษาอีก ทำาให้การทำางานเป็นไปอย่างรวดเร็วนิยมใช้
          ในการแปลภาษา Cobol และภาษา C++


โปรแกรม                          คอมไพ               โปรแกรมเรียก
ต้นฉบับ                  เลอร์                       ใช้งาน
                                                                           ผลลัพธ์



                                                          ข้อมูลนำา
                                                   เข้า


                            หลักการทำางานของคอมไพเลอร์
          ٣.٢ อินเทร์พรีเตอร์ ( Interpreter ) จะแปลโปรแกรม
          ต้นฉบับทีละคำาสั่งพร้อมกีบทำางานตามคำาสั่งนั้นตลอดทั้ง
          โปรแกรม โดยไม่มีการสร้างโปรแกรมเรียกใช้งาน ทำาให้
          ต้องแปลโปรแกรมใหม่ทุกครั้งที่มีการใช้งาน นิยมใช้ใน
          การแปลภาษา BASIC

               โปรแกรม                     อินเทอร์พรี
           ต้นฉบับ                 เตอร์
                                                                 ผลลัพธ์




                                              นำามูลนำา
                                  เข้า
ภาษาระดับสูงแต่ละภาษาจะมีตัวแปลภาษาเฉพาะเป็นของ
ตัวเอง จึงไม่สามารถเป็นตัวแปลภาษาหนึ่งไปใช้แปลอีก
ภาษาหนึ่งได้ ภาษา C จะมีตัวแปลภาษาที่เป็นคอมไพเลอ
ร์ภาษา C ไม่สามารถนำาคอมไพเลอร์ภาษาอื่นมาแปลแทน
ได้ ภาษาดับสูงมีข้อดีและข้อเสียดังนี้
ข้อดี คือ เขียนโปรแกรมได้ง่ายและมีภาษาให้ใช้หลาก
หลาย
ข้อเสีย คือ แต่ละภาษามีลักษณะเฉพาะ และไม่สามารถใช้
ตัวแปลภาษาร่วมกันได้
٤. ภาษาระดับสูงมากและภาษาธรรมชาติ ( Natural
Language ) จัดเป็นภาษารุ่นที่٤ และ ٥ ของพัฒนาการ
ภาษาคอมพิวเตอร์ สามารถใช้ง่ายและตอบสนองต่อผู้ใช้
งานทั่วไปมากยิ่งขึ้น คำาสั่งของภาษาในระดับนี้จะไม่มีการ
กำาหนดแต่จะเป็นการบอกหรือระบุสิ่งที่ต้องกาแทน
นอกจากนี้ภาษาธรรมชาติยังสามารถโต้ตอบกับผู้ใช้และมี
ความยืดหยุ่นในการใช้คำาสั่งมากกว่าภาษาคอมพิวเตอร์
ประเภทอื่น เนื่องจากจะใช้ระบบฐานความรู้ ( Knowledge-
based system ) ช่วยในการแปลความหมายของคำาสั่งต่างๆ
ตัวอย่างภาษาธรรมชาติใน Macromedia
         Flash MX

         ปัจุบันภาษาระดับสูงมากยังไม่นิยมใช้งานมากนัก
         เนื่องจากมีข้อดีและข้อเสียดังนี้
         ข้อดี คือ สามารถใช้งานได้ง่ายโดยบุคคลทั่วไป
         ข้อเสีย คือ มีทางเลือกในการประมวลผลข้อมูลน้อยกว่า
         ภาษาคอมพิวเตอร์ประเภทอื่นๆและต้องใช้งานกับ
         คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง

                           แหล่ง                                               สาระ
ข้อมูล                                         น่ารู้
E-learning เช่น                                              ก่อนปี ค.ศ. 1952 มีการใช้
http://cptd.chandra.ac.th/                        งานภาษาเครื่องเพียงภาษาเดียว โดย
Selfstud/it4life/sub%20soft3.htm และ              จะใช้เลขฐานสองแทนข้อมูลในการ
http://www.kingsolder.com/computer/language/default.asp
2.เว็บไซต์คนหาข้อมูล เช่น
             ้
                                                  สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ทำาให้การเขียน
http://www.google.com                             โปรแกรมยุ่งยากมาก และมีเพียงผู้
                                               เชี่ยวชาญเท่านั้นที่สามารถเขียน


      ตัวอย่างภาษา
คอมพิวเตอร์

         ปัจุบันภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันส่วนใหญ่จะเป็นภาษา
         ระดับสูง ซึงมีความยืดหยุ่นสูงและให้เลือกหลายภาษา
                    ่
         แต่ละภาษาจะมีรูปแบบ โครงสร้าง และการใช้งานที่แตก
         ต่างกันไปในหน่วยการเรียนรู้นี้จะยกตัวอย่างภาษาแอส
         เซมบลี ภาษาโคบอล ภาษาฟอร์แทรน ภาษาซีพลัสพลัส
         และภาษาจาวา
         ١. ภาษาแอสเซมบลี ( Assembly Language ) เป็นภาษา
         ที่เหมาะกับงานที่ต้องการความเร็วในการทำางานระดับสูง
นิยมใช้เขียนโปรแกรมงานพัฒนาซอฟต์แวร์ระบบ ตัวอย่าง
   รูปแบบโครงสร้างของภาษาแอสเซมบลี เช่น




                     Assembly Language
Title Hello world Program           ( hello.asm )
; This Program gisplays “Hello,World”
Dosseg
.model small
.stack 100h
.data
Hello_message bd “Hello;0dh,0ah,$
.code
Main proc
      Mov ax,@data
      Mov ds,ax
      Mov ah,9
      Mov dx,offset hello_message
      Int 21h
      Mov ax,4c00h
      Int 21h
Main endp
End main

   ٢. ภาษาโคบอล ( Cobol :common business oriented
   Language )
เป็นการออกแบบให้เหมาะกับงานทางด้านธุรกิจที่มีขนาด
   ใหญ่ และมีข้อมูลปริมาณมาก หรือใช้สำาหรับการออกแบบ
                           Cobol
   รายงานที่ซับซ้อนและต้องการความสวยงาม โปรแกรมนี้
   สามารถเขียนได้ทั้งจากคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล มินิ
000100      IDENTIFICATION DIVISION.
   คอมพิวเตอร์ และเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ โดยอาจมีการ
000200      PROGRAM-ID. HELLOWORLD.
   เปลี่ยนแปลงโปรแกรมเล็กน้อย นอกจากนี้ยังเหมาะกับงาน
000300 วกับไฟล์ และการจัดการข้อมูล ตัวอย่างรูปแบบ
   เกี่ย    DATE-WRITTEN. 02/08/10 21:04.
   โครงสร้างของภาษาโคบอล เช่น
000400*     AUTHOR BRIAN COLLINS

000500    ENVIRONMENT DIVISION.

000600    CONFIGURATION SECTION.

000700    SOURCE-COMPUTER. RM-COBOL

000800   OBJECT-COMPUTER. RM-COBOL

000900

001000   DATA IVISION.

001100   FILE SECTION.

001200

100000   PROCEDURE DIVISION.

100100

100200   MAIN-LOGIC SECTION.

100300   BEGIN

100400   DISPLAY “   ’’ LINE 1 POSITION 1 ERASE EOS.

100500   DISPLAY “HELLO, WORLD.” LINE 15 POSITION 10.

100600   STOP RUN.

100700   MAIN-LOGIC-EXIT.

100800   EXIT.
ภาษาฟอร์แทรน ( FORTRAN: FORMULA TRANSLATOR
    )
    เหมาะสำาหรับวานด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เละ
    คณิตศาสตร์ ที่มีการคำานวณที่ยุ่งยากซับซ้อน แต่ไม่
    เหมาะกับงานทางด้านธุรกิจ ตัวอย่างรูปแบบโครงสร้าง
    ของภาษาฟอร์แทรน เช่น
                                       FORTRAN

C

C             Hello, world

C


             Program hello

            Implicit none


            Logical Done

            DO while    ( .NOT . DONE )

             END DO

        10 format ( “Hello, world, )

END

   ٤. ภาษาซีพลัสพลัส ( C++ ) เป็นภาษาที่ทำาให้
    คอมพิวเตอร์สามารถทำางานได้อย่างรวดเร็ว มีความ
    ยืดหยุ่นของโครงสร้างทางไวยากรณ์ที่เข้าใจง่าย นิยมนำา
    มาเขียนโปรแกรมประยุกต์ ตัวอย่างรูปแบบโครงสร้างของ
    ภาษาซีพลัสพลัส เช่น
C++

      We have two entries for this language. One originates from the early days of
      the

      Hello World Project ; the other is rather newer . this is the original code:

      # include <iosteam.h>

      Main ()

      {

           For( ;; )

      {

                    Cout <<Hello World ;
          }}


         5.ภาษาจาวา ( JAVA ) เป็นภาษาที่มีโครงสร้าง
    คล้ายภาษาซีพลัสพลัสสามารถทำางานบนระบบปฏิบัติการ
    ที่แตกต่างกันได้ นิยมนำามาพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
    ทั่วไป ตัวอย่างรูปแบบโครงสร้างของภาษาจาวา เช่น

                                                      JAVA

Class Hello Word {

               Public static void main ( String args[] ) {

               For ( ;; ) {

                 System.out.print (“Hello   World”);

                        }

                }

      }
หลักการเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์
                  ในปัจจุบันมีภาษาคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
           โดยแต่ละภาษาจะมีข้อดี ข้อจำากัดและความเหมาะสมใน
           การใช้งานที่แตกต่างกัน ดังนั้นการตัดสินใจเลือกใช้ภาษา
           คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาโปรแกรมนั้น จะต้องคำานึง
           คุณสมบัติเฉพาะของแต่ละภาษารวมถึงงานหรือระบบที่
           ต้องการ โดยหลักการเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ดังนี้
                  ในหน่วยงานหนึ่ง ๆ ควรจะใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ที่
           สามารถใช้งานด้วยกันได้หรือใช้ภาษาคอมพิวเตอร์
           เดียวกัน เพราะการดูแลรักษาซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้น ตล
           อกจนการจัดหาบุคลากรจะทำาได้ง่ายกว่าการใช้ภาษา
           คอมพิวเตอร์หลายๆภาษา
                  ควรเลือกภาษาคอมพิวเตอร์จากคุณสมบัติหรือข้อดี
           ของภาษานั้นๆเป็นหลัก
                  ควรเลือกภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้งานได้กับ
           คอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง เพราะจะเสียเวลาเขียนโปรแกรม
           เพียงครั้งเดียวเท่านั้น
                  ผู้ใช้ควรจำากัดภาษาคอมพิวเตอร์ที่จะใช้ ไม่ควรติด
           ตั้งตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษาในเครื่อง
           คอมพิวเตอร์
                  พิจารณาคุณสมบัติ ลักษณะ และค่าใช้จ่ายของ
           โปรแกรมเอดิเตอร์ ( Editor )
                  สำาหรับเขียนโปรแกรม


                              แหล่งข้อมูล                                           สาระน่ารู้
1. E-learning เช่น http://cptd.chandra.ac.th/
                                                         ภาษาซีพลัสพลัสพัฒนามาจากภาษา
Selfstud/it4lift/sub%20soft3.htm และ
                                                         ซี ที่ คิดค้นโดยเดนนีส ริตชี ( dennis
http://www.tanti.ac.th/com-tranning/webnot/index35.htm   Ritchie ) โดยถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้เป็น
2.เว็บไซต์ค้นหาข้อมูล เช่น                               ภาษาสำาหรับเขียนโปรแกรมระบบ แต่
http://www.google.com                                    ปัจจุบันได้พัฒนาให้สามารถเขียน
                                                         โปรแกรมเพื่อจุดมุงหมายโดยทั่วไป
                                                                           ่
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้


   1. ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับภาคอมพิวเตอร์ เช่น ประวัติศาสตร์และการของ
   ภาษาคอมพิวเตอร์ ผู้คิดค้นภาษาคอมพิวเตอร์ เละเทคนิคการเขียนภาษา
   คอมพิวเตอร์
   2.ค้นหาตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์ แล้วนำามาวิเคราะห์วาภาษาดังกล่าวเป็น
                                                     ่
   ภาษาคอมพิวเตอร์ประเภทใด
             ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
             ภาษาคอมพิวเตอร์แต่ละภาษาจะมีลักษณะ โคลง
      สร้าง และหลักการในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์แตก
      ต่างกัน เครื่องมือสำาคัญในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
      คือ โปรแกรมเอดิเตอร์ ใช้สำาหรับแปลภาษาคอมพิวเตอร์
      ที่เขียนให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ เละทำางานตามทีเราต้องการ
                                                 ่
      ในหน่วยการเรียนรู้ยกตัวอย่างการเขียนภาษา HTML ดังนี้
                                                        ้

       ลักษณะของภาษา HTML

           ภาษา HTML เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงที่ใช้
      โปรแกรมเท็กซ์เอดิเตอร์
           ( Text Editor ) หรือเวิร์ดโพรเซสเซอร์ ( word
      processor ) เพื่อเขียนชุดคำาสั่งโดยไม่ต้องติดตังโปรแกรม
                                                     ้
      เอดิเตอร์อื่น ๆ เพื่มเติม เนื่องจากโปรแกรมเท็กซ์เอดิเตอร์
      หรือเวิร์ดโพรเซสเซอร์ดังกล่าวมักติดตังมาพร้อมกับ
                                             ้
      โปรแกรมระบบ โดยในหน่วยการเรียนรู้นี้จะเขียนภาษา
      HTML ด้วย notepad
           ภาษา html ( HTML: Hypertext markup Language )
      คือ ภาษาที่ใช้สำาหรับเขียนเว็บเพจเพื่อนำาไปแสดงผลบนเว็บเบ
      ราว์เซอร์ โดยจะต้องมีโครงสร้างของภาษา รูปแบบของคำาสั่ง
      ต่างๆ เพื่อให้เว็บเบราว์เซอร์สามารถเข้าใจและแสดงผลออกมา
ตามที่ต้องการ เช่น เว็บเพจที่มีการกำาหนดรูปแบบตัวอักษร และ
       แสดงผลออกมาตามที่ต้องการ เช่น เว็บเพจที่มีการกำาหนดรูป
       แบบตัวอักษร สีของตัวอักษร และขนาดของตัวอักษร ตลอดจน
       การสร้างตัวเชื่อมโยงเว็บไซต์ต่างๆ โดยจะเขียนชุดคำาสั่งกับรหัส
       ภายในเครื่องหมาย < > ทีเรียกว่าแท็ก
                                 ่
            ( TAG ) บันทึกไฟล์เป็นนามสกุล         .html หรือ .htm
       แล้วจึงนำาไฟล์ที่เป็น Html ไปเปิดที่เว็บเบราว์เซอร์ในลำาดับต่อไป


หลักการเขียนภาษา HTML



           หลักการเขียนภาษา HTML แบ่งเป็น ٢ ขั้นตอน ดังนี้
           ١.การเปิด Notepad สามารถทำาได้ด้วยวิธีการดับเบิลคลิกที่
       ไอคอนหรือการคลิกที่ปุ่ม start ซึ่งมีวิธีการดังนี้

            1.1   คลิกที่ปุ่ม start

            1.2   คลิกที่ปุ่ม All Programs

            1.3   คลิกที่ปุ่ม Accessories

            1.4   คลิกที่ปุ่ม Notepad จะปรากฏหน้าต่างโปรแกรมขึ้น
٢. การเขียนภาษา HTML สามารถทำาได้ด้วยการการพิมพ์
คำาสั่งต่าง ๆ ลงในพื้นที่การใช้การใช้งานของ Notepad
ตามโครงสร้างของภาษา HTML ซึ่งแบ่งเป็น ٢ ส่วน คือ
٢.١ ส่วนหัวโปรแกรม ( Head ) เป็นส่วนที่กำาหนดชื่อเรื่อง
ซึ่งไม่ปรากฏอยู่บนแถบชื่อเรื่อง ( Title bar ) ของเว็บเบ
ราว์เซอร์
٢.٢ ส่วนเนื้อหาโปรแกรม Body เป็นส่วนที่กำาหนดคำาสั่งรูป
แบบต่าง ๆ ลงไปในเว็บเพจ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

สาระเพิ่ม โครงงานM6 2
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2สาระเพิ่ม โครงงานM6 2
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2Oh Aeey
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาwinewic199
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร Jp Eternally
 
การพัฒนาเครื่องมือ
การพัฒนาเครื่องมือการพัฒนาเครื่องมือ
การพัฒนาเครื่องมือdgnjamez
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3natnardtaya
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5wipawanmmiiww
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Patitta Intarasopa
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์watnawong
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊คThidaporn Kaewta
 

Mais procurados (17)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 
ใบ 7
ใบ 7ใบ 7
ใบ 7
 
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2สาระเพิ่ม โครงงานM6 2
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร
 
การพัฒนาเครื่องมือ
การพัฒนาเครื่องมือการพัฒนาเครื่องมือ
การพัฒนาเครื่องมือ
 
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
 
กำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซีกำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซี
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
 

Semelhante a โปรแกรม

3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlopPor Kung
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์N'Name Phuthiphong
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมEdz Chatchawan
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์benz18
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ B'Benz Sunisa
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาN'Name Phuthiphong
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Chatkal Sutoy
 
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007MMp'New Aukkaradet
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาPhanupong Chanayut
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา CFair Kung Nattaput
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมComputer ITSWKJ
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอAum Forfang
 

Semelhante a โปรแกรม (20)

Computer
ComputerComputer
Computer
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlop
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอม
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
mindmap
mindmapmindmap
mindmap
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
 
งาน #1
งาน #1งาน #1
งาน #1
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา C
 
Answer unit1.1
Answer unit1.1Answer unit1.1
Answer unit1.1
 
5
55
5
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรม
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ใบงาน3
ใบงาน3ใบงาน3
ใบงาน3
 

โปรแกรม

  • 1. โปรแกรม หน่วยการ คอมพิวเตอร์ เรียนรู้ที่ ตัวชี้วัดช่วง 2 ชั้น เขียนโปรแกรมภาษา (ง ٣.١ ม. ٦/٦-٤) ผังมโนทัศน์สาระ ประเภทของภาษา การเรียนรู้ วเตอร์ คอมพิ ตัวอ ย่างภาษาคอมพิวเตอร์ หลัก การเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ ความหมายและ ภาษา ลักษณะของ คอมพิวเตอร์ โปรแกรม โปรแกรม คอมพิวเต ตัวอย่าง การเขียน ลักษณะของภาษา HTML หลักการเขียนภาษา HTML ประโยชน์จาก คำาสั่งและการแสดงผล การเรียน 1.รู้ความหมายและลักษณะของ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2.แยกประเภทของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ได้ 3.เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้
  • 2. ลองคิด ลอง ตอบ 1.การทำางานของโปรแกรม การประยุกต์ใช้ในชีวิต คอมพิวเตอร์เหมือนกับการทำางาน ประจำาวัน ของมนุษย์อย่างไร 2.ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่มีโปรแกรม ١.ใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศแก้จะสามารถทำางานได้ คอมพิวเตอร์ปัญหาในชีวิต ประจำาวัน ٢.ถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาพบในชีวิตประจำาวัน ด้วยอัลกอริทึม คำา ทบทวน ١.รหัสจำาลองมีลักษณะอย่างไร ٢.ผังงานแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง ٣.อัลกอริทึมที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร ٤.โครงสร้างแบบทำาซำ้ามีลักษณะอย่างไร ٥.อัลกอริทึมที่ดีต้องมีมอดูลหรือไม่ เพราะเหตุใด ٦.ผังงานระบบแตกต่างจากผังงานโปรแกรมอย่างไร ٧.สัญลักษณ์ทใช่ในผังงานกำาหนดโดยหน่วยงานใด ี่ ٨.กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศมีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง ٩.ข้อความที่อยู่ในสัญลักษณ์ของผังงานควรมีลักษณะ อย่างไร ١٠.ผังงานประเภทใดนิยมใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำาวัน เพราะเหตุใด ١١.อัลกอริทึมคืออะไร เกี่ยวข้องกับกระบวนการ เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างไร ١٢.เงื่อนไขเป็นสัญลักษณ์ที่มีลักษณะอย่างไรและใช้ สำาหรับโครงสร้างผังงานแบบใด ١٣.การตรวจสอบและปรับปรุงกระบวนการเทคโนโลยี สารสนเทศมีประโยชน์อย่างไร ١٤.การเขียนบรรยายด้วยคำาพูดด้วยภาษามนุษย์จัดเป็นอัล กอริทึมหรือไม่ เพราะเหตุใด
  • 3. ١٥.การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนในกระบวนการ เทคโนโลยีสารสนเทศควรคำานึงถึงสิ่งใดเป็นสำาคัญ องค์ประกอบสำาคัญในการทำางานของคอมพิวเตอร์ คือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึงเป็นองค์ประกอบที่สั่งให้ ่ คอมพิวเตอร์ทำางานตามที่ผู้ใช้งานต้องการ ดังนั้นหาก คอมพิวเตอร์ไม่มีโปรแกรมคอมพิวเตอร์ก็จะเป็นเพียงวัสดุ อุปกรณ์ที่ไม่สามารถทำางานได้ ความหมายและลักษณะของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ( Program computer ) คือ ชุดคำา สั่งทีใช้สำาหรับแสดงและสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ ่ คอมพิวเตอร์ทำางานตามลำาดับขั้นตอนที่เขียนไว้ในชุดคำาสั่งนั้นๆ คำาสั่งเหล่านี้นักพัฒนาโปรแกรมหรือ โปรแกรมเมอร์ ( programmer ) จะเขียนขึ้นด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ตามลำาดับขั้น ตอนของการพัฒนาโปรแกรม ดังนี้ ١.วิเคราะห์ปัญหา ปัญหาส่วนใหญ่ที่พบมักเกิดจากระบบงาน หรือเป็นปัญหาที่สนใจ โดยทัวไปนิยมวิเคราะห์จากผลลัพธ์ที่ ่ ต้องการ ( output ) ก่อน แล้วย้อนกลับไปยังที่มาของข้อมูลทีนำา ่ เข้าสู่ระบบ ( Input ) ตลอดจนข้อมูลอื่นๆ ทีมีส่วนเกี่ยวข้องการนำา ่ ไปใช้ในการประมวลผล ٢. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา เมื่อทราบผลลัพธ์ที่ต้องการ และที่มาของข้อมูลทีนำาเข้าสู่ระบบแล้ว ขั้นต่อไปต้องวางแผนเพื่อ ่ แก้ปัญหาว่า มีวิธีการอย่างไรที่จะทำาให้ได้ผลลัพธ์ตามทีระบุไว้ใน ่ ขั้นตอนแรก โดยใช้วิธีเขียนลำาดับขั้นตอนการแก้ปัญหาที่เรียกว่า อัลกอริทึม ( Algorithm ) ซึ้งจะใช้รหัส จำาลอง ( pseudo code ) และผังงาน ( Flowchart ) เป็นเครื่องมือช่วยในการถ่ายทอดความคิด ٤. ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม ภายหลังจากเขียน โปรแกรมเสร็จสิ้นก็จะต้องทำาการทดสอบโปรแกรมเพื่อหาว่ามีข้อ ผิดพลาด ( Error ) ทีเกิดขึ้นจากโปรแกรมหรือไม่ ข้อผิดพลาด ่
  • 4. ต่างๆ ทีพบในขั้นตอนการทดสอบโปรแกรมนั้นแบ่งออกเป็น ٣ ่ ประเภท ได้แก่ ٤.١ ข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ภาษา ( Runtime Error ) เกิดจากการเขียนชุดคำาสั่งไม่ถูกต้องตามไวยากรณ์ของภาษา คอมพิวเตอร์นั้นๆ ซึ่งได้แก้ไขไม่ยาก ٤.٢ ข้อผิดพลาดระหว่างประมวลผล ( Runtime Error ) เกิดขณะที่โปรแกรมกำาลังประมวลผลหรือกำาลังทำางานอยู่ โดย อาจเป็นความความผิดพลาดจากการป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบแล้วไม่ สามารถประมวลผลได้ เช่น ชุดคำาสั่งที่มี่การคำานวณด้วยการหารมี ค่าเป็น ٠ ก็จะทำาให้โปรแกรมเกิดข้อผิดพลาดทันทีและไม่ สามารถทำางานต่อไปได้ถ้าไม่มีการเขียนชุดคำาสั่งไว้รองรับปัญหา นั้น ๆ ก่อน ٤.٣ ข้อผิดพลาดทางวิธีการคิด ( Logical Error ) เป็นข้อผิด พลาดทีแก้ไขยากที่สุดเพราะถึงแม้ว่าโปรแกรมจะประมวลผลได้ ่ ผลลัพธ์ออกมา แต่ไม่สามารถทำาให้มั่นใจได้วาวิธีการแก้ปัญหา ่ นั้นถูกต้องจริง จึงจำาเป็นที่ต้องมีการทดสอบหลาย ๆ ครั้ง ทังจาก ้ ผู้พัฒนาโปรแกรมและใช้งานจริง การทดสอบและการแก้ไขโปรแกรม แบ่งออกเป็น ٢ ส่วน ได้แก่ การทดสอบโดยผู้พัฒนาโปรแกรมและการทดสอบโดยผู้ใช้ งาน การทดสอบโดยผู้พัฒนาโปรแกรม เป็นการทดสอบขั้นต้นว่ามี ข้อผิดพลาดที่เกิดจากไวยากรณ์ภาษาหรือไม่ ถ้ามีกทำาการแก้ไข ็ จนกว่าจะถูกต้อง นอกจากนี้จะต้องทดสอบด้วยการป้อนข้อมูล สมมุติเข้าสู่ระบบแล้วพิจารณาว่าผลลัพธ์ได้เป็นไปตามที่วิเคราะห์ หรือไม่ โดยต้องทดสอบจากข้อมูลที่เป็นไปได้หลายๆกรณี เพื่อ ให้โปรแกรมทำางานได้ถูกต้องแม่นยำาที่สุด การทดสอบโดยผู้ใช้งานจริง ด้วยการใช้ข้อมูลจากการทำางาน จริงๆพิจารณาผลลัพธ์ที่ได้ให้เป็นไปตามที่วิเคราะห์โดยผู้พัฒนา โปรแกรม แล้วจึงรวมทั้งปรับปรุงโปรแกรมให้ทำางานได้ตามความ ต้องการของผู้ใช้งานจริง ٥. จัดทำาเอกสารประกอบ เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบแล้วก็จะ ต้องจัดทำาเอกสารประกอบ ซึ่งควรมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการใช้ งานโปรแกรม วิธีการติดตั้งโปรแกรม ขั้นตอนต่างๆ ในการพัฒนา โปรแกรม อัลกอริทึม และโปรแกรมต้นฉบับ ( source code ) เพื่อ ประโยชน์ในกรณีที่ต้องการหรือปรับปรุงโปรแกรมภายหลัง
  • 5. ٦. บำารุงรักษาโปรแกรม หลังจากทีได้นำาโปรแกรมไปใช้งานจริงก็ ่ ต้องมีการติดตามว่าโปรแกรมทำางานได้สอดคล้องกับความ ต้องการหรือไม่ หรือหากผู้ใช้งานมีความต้องการเพิ่มเติมหรือการ เปลียนแปลงส่วนใดก็ต้องดำาเนินการแก้ไขให้เป็นไปตามความ ่ ต้องการ วิเคราะห์ปัญหา ออกแบบวิธีการ เขียน โปรแกรม ทดสอบ ปัญหา แก้ไขโปรแกรม บำารุง รักษา จัดทำาเอกสาร โปรแกร ม ประกอบ แหล่งค้น สาระน่ารู้ ข้อมูล ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม วหนึ่งทำาให้ ปี ค.ศ. 1945 มีแมลงตั E-learning เช่น http://e-learning.snru.ac.th/els/program1/lesson/page1.html เกิดข้อผิดพลาดในการทำางานของ และ http://www.thaiall.com/article/teachpro.htm คอมพิวเตอร์ ทำาให้เรียกข้อผิดพลาดใน เว็บไซต์ค้นหาข้อมูล เช่น การทำางานของคอมพิวเตอร์ว่า บัก ( Bug) http://www.google.com และเรียกกระบวนการค้นหาและแก้ไขข้อ ผิดพลาดของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ว่าการ ดีบัก ( Debugging ) กิจกรรม พัฒนหาความหมายและลักษณะของคำาสำาคัญทีเกี่ยวกับโปรแกรม 1.ค้นาการเรียนรู้ ่ คอมพิวเตอร์ เช่น program software,Application,bug และ source code 2.ร่วมกันวิเคราะห์ว่า ถ้าสามารถสั่งงานคอมพิวเตอร์ได้ นักเรียนจะ ภาษา สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำางานอะไร เนื่องจากอะไร แล้วกำาหนดเป็น
  • 6. ภาษาคอมพิวเตอร์หรือภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ( Computer programming Language )มีพื้นฐานมาจากการปิด กระแสไฟฟ้า หรือระบบเลขฐานสอง คือ ٠ และ ١ เรียง ต่อกันเพื่อแทนความหมายต่างๆ ในคอมพิวเตอร์ ปัจุบันมีผู้ สร้างและพัฒนาภาษาคอมพิวเตอร์หลายภาษา เช่น John Kemeny และ Thomas Kurtz สร้างภาษาเบสิก ( basic ) Niklaus Wirth สร้างภาษาซี ( c ) โดยมีประเภทของภาษาคอมพิวเตอร์ และตัวอย่างของ ภาษาคอมพิวเตอร์ดังนี้ ประเภทของภาษา คอมพิวเตอร์ ภาษคอมพิวเตอร์แบ่งตามลักษณะของภาษาและการ ใช้งานได้ ٤ ประเภท ดังนี้١. ภาษาเครื่อง สาระน่ารู้ ( MachinLanguage) นอกจากนีรหัสแทนข้อมูลแอสกีแล้ว ้ เป็นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็น งยังสามารถแทนด้วยรหัส ภาษาเครื่อ ตัวเลขในระบบฐานสอง คือ ٠ และ ١ ภาษาเครื่อง เช่น รหัสเอบซี แทนข้อมูลอื่นๆได้อีก เป็นภาษาในรูปแบบเดียวที่คอมพิวเตอร์สกและรหัสยูนโคด ดิามารถเข้าิใจและ นำาไปใช้งานได้ทันทีโดยไม่ต้องใช้ตัวแปลชุดคำาสั่ง แต่ มนุษย์จะเข้าใจเมื่อแทนด้วยรหัสแทนมนุษย์ ตารางรหัสแทนข้อมูลแอสกี ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล รหัสแอสกี รหัสแอสกี รหัสแอสกี A 10100001 E 10100101 I 10101001 B 10100010 F 10100110 J 10101010 C 10100011 G 10100111 K 10101011 D 10100100 H 10101000 L 10101100
  • 7. ตารางรหัสแทนข้อมูลแอสกี ( ต่อ ) ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล รหัสแอสกี รหัสแอสกี รหัสแอสกี M 10101101 U 10110101 ٢ N ٣ 10101110 V 10110110 ٠١٠١٠٠١٠ O 10101111 W 10110111 ٤ ٠١٠١٠٠١١ P 10110000 X 10111000 ٥ Q 10110001 Y 10111001 ٠١٠١٠١٠١ R 10110010 Z 10111010 ٦ S 10110011 0 01010000 ٠١٠١٠١١٠ T 10110100 ٧ 1 01010001 ٠١٠١٠١١١ ٨ ชุดสั่งของภาษาเครื่องจะมีลักษณะเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะของหน่วยประมวลผลแต่ละรุ่นในคอมพิวเตอร์ ทำาให้ เกิดข้อดีและข้อเสียดังนี้ ข้อดี คือ โปรแกรมเมอร์สามารถควบคุมการทำางาน ของคอมพิวเตอร์ได้โดยตรงคอมพิวเตอร์เข้าใจคำาสั่งได้ ทันที เหมาะกับงานที่ต้องการประสิทธิภาพสูงและต้องการ ใช้หน่วยความจำาน้อย ข้อเสีย คือ ต้องใช้เวลาในการเขียนนาน เมื่อมีข้อผิด พลาดจะทำาการตรวจจะทำาการตรวจสอบได้ยาก ต้องใช้ผู้ เชี่ยวชาญหรือโปรแกรมเมอร์ในการเขียนภาษา และภาษา ที่เขียนขึ้นจะได้กับหน่วยประมวลผลในรุ่นที่เขียนขึ้น เท่านั้น
  • 8. ٢. ภาษาแอสเซมบลี ( Assembly Language ) จัดเป็น ภาษาระดับตำ่า ( Low – level ) ภาษาแอสเซมบลี พัฒนามาจากภาษาเครื่อง โดยใช้รหัสภาษาอังกฤษแทนคำาสั่งใน คอมพิวเตอร์ ทำาให้การเขียนโปรแกรมหรือชุดคำาสั่งด้วยภาษา แอสเซมบลีทำาได้ง่ายและสะดวกกว่าการเขียนโปรแกรมหรือชุด คำาสั่งด้วยภาษาเครื่อง แต่วิธีการเขียนคำาสั่งยังมีสวนคล้ายคลึงกับ ่ ภาษาเครื่อง รหัสทีใช้ภาษาเอสเซมบลี เรียกว่า รหัสนีมอนิก(Mne ่ monic code) ซึ่งจะใช้แทนเลขฐานสองที่เป็นภาษาเครื่อง รหัสนีมอนิก ความหมาย ADD การบวก ( Add ) SUB การลบ ( Subtract ) MUL การคูณ ( Multiply ) DIV การหาร ( Divide ) แต่เนื่องจากภาษาแอสเซมบลีเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์ไม่ เข้าใจ คอมพิวเตอร์จึงต้องมีตัวแปล ( Translator Program or Language Processor ) เพื่อให้ภาษาเครื่อง ตัวแปล ภาษาดังกล่าวเรียกว่า แอสเซมเบลอร์ ( Assembler ) จากหลักการจงกล่าวทำาให้เกิดข้อดีและข้อเสียของภาษา แอสเซมบลีดงนี้ั ข้อดี คือ คอมพิวเตอร์ประมวลผลได้เร็วเหมือนกับ การใช้ภาษาเครื่อง สามารถ เขียนได้ง่ายและใช้เวลาใน การเขียนน้อยกว่าภาษาเครื่อง ข้อเสีย คือ ไม่เหมาะต่อการเขียนโปรแกรมที่มีขนาดใหญ่ เละภาษายังมีความซับซ้อนและเข้าใจยาก ٣.ภาษาระดับสูง ( High-level Language ) หรือภาษาในยุคที่ สาม ( Third-generation Language ) เป็นภาษา คอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้มนุษย์สามารถเข้าใจใน
  • 9. คอมพิวเตอร์มากยิ่งขึ้น จึงมีลักษณะคล้ายคลึงกับภาษาที่ มนุษย์ใช้ใน ปัจุบัน การใช้งานภาษาระดับสูงจะต้องอาศัย ตัวแปลภาษา โดยตัวแปลภาษาที่ใช้งานในปัจุบัน คือ คอม ไพเลอร์และอินเทอร์พรีเตอร์ ซึงมีลักษณะและหลักการ ่ ทำางานแตกต่างกัน ดังนี้ ٣.١ คอมไพเลอร์ ( Compiler ) จะแปลโปรแกรมต้นฉบับทั้ง โปรแกรมในครั้งเดียวให้เป็นโปรแกรมเรียกใช้งาน ( Executable Program ) และเมื่อต้องการเรียกใช้งานก็ สามารถเรียกได้จากโปรแกรมเรียกใช้งานนี้ โดยไม่ต้อง แปลภาษาอีก ทำาให้การทำางานเป็นไปอย่างรวดเร็วนิยมใช้ ในการแปลภาษา Cobol และภาษา C++ โปรแกรม คอมไพ โปรแกรมเรียก ต้นฉบับ เลอร์ ใช้งาน ผลลัพธ์ ข้อมูลนำา เข้า หลักการทำางานของคอมไพเลอร์ ٣.٢ อินเทร์พรีเตอร์ ( Interpreter ) จะแปลโปรแกรม ต้นฉบับทีละคำาสั่งพร้อมกีบทำางานตามคำาสั่งนั้นตลอดทั้ง โปรแกรม โดยไม่มีการสร้างโปรแกรมเรียกใช้งาน ทำาให้ ต้องแปลโปรแกรมใหม่ทุกครั้งที่มีการใช้งาน นิยมใช้ใน การแปลภาษา BASIC โปรแกรม อินเทอร์พรี ต้นฉบับ เตอร์ ผลลัพธ์ นำามูลนำา เข้า
  • 10. ภาษาระดับสูงแต่ละภาษาจะมีตัวแปลภาษาเฉพาะเป็นของ ตัวเอง จึงไม่สามารถเป็นตัวแปลภาษาหนึ่งไปใช้แปลอีก ภาษาหนึ่งได้ ภาษา C จะมีตัวแปลภาษาที่เป็นคอมไพเลอ ร์ภาษา C ไม่สามารถนำาคอมไพเลอร์ภาษาอื่นมาแปลแทน ได้ ภาษาดับสูงมีข้อดีและข้อเสียดังนี้ ข้อดี คือ เขียนโปรแกรมได้ง่ายและมีภาษาให้ใช้หลาก หลาย ข้อเสีย คือ แต่ละภาษามีลักษณะเฉพาะ และไม่สามารถใช้ ตัวแปลภาษาร่วมกันได้ ٤. ภาษาระดับสูงมากและภาษาธรรมชาติ ( Natural Language ) จัดเป็นภาษารุ่นที่٤ และ ٥ ของพัฒนาการ ภาษาคอมพิวเตอร์ สามารถใช้ง่ายและตอบสนองต่อผู้ใช้ งานทั่วไปมากยิ่งขึ้น คำาสั่งของภาษาในระดับนี้จะไม่มีการ กำาหนดแต่จะเป็นการบอกหรือระบุสิ่งที่ต้องกาแทน นอกจากนี้ภาษาธรรมชาติยังสามารถโต้ตอบกับผู้ใช้และมี ความยืดหยุ่นในการใช้คำาสั่งมากกว่าภาษาคอมพิวเตอร์ ประเภทอื่น เนื่องจากจะใช้ระบบฐานความรู้ ( Knowledge- based system ) ช่วยในการแปลความหมายของคำาสั่งต่างๆ
  • 11. ตัวอย่างภาษาธรรมชาติใน Macromedia Flash MX ปัจุบันภาษาระดับสูงมากยังไม่นิยมใช้งานมากนัก เนื่องจากมีข้อดีและข้อเสียดังนี้ ข้อดี คือ สามารถใช้งานได้ง่ายโดยบุคคลทั่วไป ข้อเสีย คือ มีทางเลือกในการประมวลผลข้อมูลน้อยกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ประเภทอื่นๆและต้องใช้งานกับ คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง แหล่ง สาระ ข้อมูล น่ารู้ E-learning เช่น ก่อนปี ค.ศ. 1952 มีการใช้ http://cptd.chandra.ac.th/ งานภาษาเครื่องเพียงภาษาเดียว โดย Selfstud/it4life/sub%20soft3.htm และ จะใช้เลขฐานสองแทนข้อมูลในการ http://www.kingsolder.com/computer/language/default.asp 2.เว็บไซต์คนหาข้อมูล เช่น ้ สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ทำาให้การเขียน http://www.google.com โปรแกรมยุ่งยากมาก และมีเพียงผู้ เชี่ยวชาญเท่านั้นที่สามารถเขียน ตัวอย่างภาษา คอมพิวเตอร์ ปัจุบันภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันส่วนใหญ่จะเป็นภาษา ระดับสูง ซึงมีความยืดหยุ่นสูงและให้เลือกหลายภาษา ่ แต่ละภาษาจะมีรูปแบบ โครงสร้าง และการใช้งานที่แตก ต่างกันไปในหน่วยการเรียนรู้นี้จะยกตัวอย่างภาษาแอส เซมบลี ภาษาโคบอล ภาษาฟอร์แทรน ภาษาซีพลัสพลัส และภาษาจาวา ١. ภาษาแอสเซมบลี ( Assembly Language ) เป็นภาษา ที่เหมาะกับงานที่ต้องการความเร็วในการทำางานระดับสูง
  • 12. นิยมใช้เขียนโปรแกรมงานพัฒนาซอฟต์แวร์ระบบ ตัวอย่าง รูปแบบโครงสร้างของภาษาแอสเซมบลี เช่น Assembly Language Title Hello world Program ( hello.asm ) ; This Program gisplays “Hello,World” Dosseg .model small .stack 100h .data Hello_message bd “Hello;0dh,0ah,$ .code Main proc Mov ax,@data Mov ds,ax Mov ah,9 Mov dx,offset hello_message Int 21h Mov ax,4c00h Int 21h Main endp End main ٢. ภาษาโคบอล ( Cobol :common business oriented Language )
  • 13. เป็นการออกแบบให้เหมาะกับงานทางด้านธุรกิจที่มีขนาด ใหญ่ และมีข้อมูลปริมาณมาก หรือใช้สำาหรับการออกแบบ Cobol รายงานที่ซับซ้อนและต้องการความสวยงาม โปรแกรมนี้ สามารถเขียนได้ทั้งจากคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล มินิ 000100 IDENTIFICATION DIVISION. คอมพิวเตอร์ และเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ โดยอาจมีการ 000200 PROGRAM-ID. HELLOWORLD. เปลี่ยนแปลงโปรแกรมเล็กน้อย นอกจากนี้ยังเหมาะกับงาน 000300 วกับไฟล์ และการจัดการข้อมูล ตัวอย่างรูปแบบ เกี่ย DATE-WRITTEN. 02/08/10 21:04. โครงสร้างของภาษาโคบอล เช่น 000400* AUTHOR BRIAN COLLINS 000500 ENVIRONMENT DIVISION. 000600 CONFIGURATION SECTION. 000700 SOURCE-COMPUTER. RM-COBOL 000800 OBJECT-COMPUTER. RM-COBOL 000900 001000 DATA IVISION. 001100 FILE SECTION. 001200 100000 PROCEDURE DIVISION. 100100 100200 MAIN-LOGIC SECTION. 100300 BEGIN 100400 DISPLAY “ ’’ LINE 1 POSITION 1 ERASE EOS. 100500 DISPLAY “HELLO, WORLD.” LINE 15 POSITION 10. 100600 STOP RUN. 100700 MAIN-LOGIC-EXIT. 100800 EXIT.
  • 14. ภาษาฟอร์แทรน ( FORTRAN: FORMULA TRANSLATOR ) เหมาะสำาหรับวานด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เละ คณิตศาสตร์ ที่มีการคำานวณที่ยุ่งยากซับซ้อน แต่ไม่ เหมาะกับงานทางด้านธุรกิจ ตัวอย่างรูปแบบโครงสร้าง ของภาษาฟอร์แทรน เช่น FORTRAN C C Hello, world C Program hello Implicit none Logical Done DO while ( .NOT . DONE ) END DO 10 format ( “Hello, world, ) END ٤. ภาษาซีพลัสพลัส ( C++ ) เป็นภาษาที่ทำาให้ คอมพิวเตอร์สามารถทำางานได้อย่างรวดเร็ว มีความ ยืดหยุ่นของโครงสร้างทางไวยากรณ์ที่เข้าใจง่าย นิยมนำา มาเขียนโปรแกรมประยุกต์ ตัวอย่างรูปแบบโครงสร้างของ ภาษาซีพลัสพลัส เช่น
  • 15. C++ We have two entries for this language. One originates from the early days of the Hello World Project ; the other is rather newer . this is the original code: # include <iosteam.h> Main () { For( ;; ) { Cout <<Hello World ; }} 5.ภาษาจาวา ( JAVA ) เป็นภาษาที่มีโครงสร้าง คล้ายภาษาซีพลัสพลัสสามารถทำางานบนระบบปฏิบัติการ ที่แตกต่างกันได้ นิยมนำามาพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ ทั่วไป ตัวอย่างรูปแบบโครงสร้างของภาษาจาวา เช่น JAVA Class Hello Word { Public static void main ( String args[] ) { For ( ;; ) { System.out.print (“Hello World”); } } }
  • 16. หลักการเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันมีภาษาคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยแต่ละภาษาจะมีข้อดี ข้อจำากัดและความเหมาะสมใน การใช้งานที่แตกต่างกัน ดังนั้นการตัดสินใจเลือกใช้ภาษา คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาโปรแกรมนั้น จะต้องคำานึง คุณสมบัติเฉพาะของแต่ละภาษารวมถึงงานหรือระบบที่ ต้องการ โดยหลักการเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ดังนี้ ในหน่วยงานหนึ่ง ๆ ควรจะใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ สามารถใช้งานด้วยกันได้หรือใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ เดียวกัน เพราะการดูแลรักษาซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้น ตล อกจนการจัดหาบุคลากรจะทำาได้ง่ายกว่าการใช้ภาษา คอมพิวเตอร์หลายๆภาษา ควรเลือกภาษาคอมพิวเตอร์จากคุณสมบัติหรือข้อดี ของภาษานั้นๆเป็นหลัก ควรเลือกภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้งานได้กับ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง เพราะจะเสียเวลาเขียนโปรแกรม เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ผู้ใช้ควรจำากัดภาษาคอมพิวเตอร์ที่จะใช้ ไม่ควรติด ตั้งตัวแปรภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษาในเครื่อง คอมพิวเตอร์ พิจารณาคุณสมบัติ ลักษณะ และค่าใช้จ่ายของ โปรแกรมเอดิเตอร์ ( Editor ) สำาหรับเขียนโปรแกรม แหล่งข้อมูล สาระน่ารู้ 1. E-learning เช่น http://cptd.chandra.ac.th/ ภาษาซีพลัสพลัสพัฒนามาจากภาษา Selfstud/it4lift/sub%20soft3.htm และ ซี ที่ คิดค้นโดยเดนนีส ริตชี ( dennis http://www.tanti.ac.th/com-tranning/webnot/index35.htm Ritchie ) โดยถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้เป็น 2.เว็บไซต์ค้นหาข้อมูล เช่น ภาษาสำาหรับเขียนโปรแกรมระบบ แต่ http://www.google.com ปัจจุบันได้พัฒนาให้สามารถเขียน โปรแกรมเพื่อจุดมุงหมายโดยทั่วไป ่
  • 17. กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ 1. ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับภาคอมพิวเตอร์ เช่น ประวัติศาสตร์และการของ ภาษาคอมพิวเตอร์ ผู้คิดค้นภาษาคอมพิวเตอร์ เละเทคนิคการเขียนภาษา คอมพิวเตอร์ 2.ค้นหาตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์ แล้วนำามาวิเคราะห์วาภาษาดังกล่าวเป็น ่ ภาษาคอมพิวเตอร์ประเภทใด ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์แต่ละภาษาจะมีลักษณะ โคลง สร้าง และหลักการในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์แตก ต่างกัน เครื่องมือสำาคัญในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ คือ โปรแกรมเอดิเตอร์ ใช้สำาหรับแปลภาษาคอมพิวเตอร์ ที่เขียนให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ เละทำางานตามทีเราต้องการ ่ ในหน่วยการเรียนรู้ยกตัวอย่างการเขียนภาษา HTML ดังนี้ ้ ลักษณะของภาษา HTML ภาษา HTML เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงที่ใช้ โปรแกรมเท็กซ์เอดิเตอร์ ( Text Editor ) หรือเวิร์ดโพรเซสเซอร์ ( word processor ) เพื่อเขียนชุดคำาสั่งโดยไม่ต้องติดตังโปรแกรม ้ เอดิเตอร์อื่น ๆ เพื่มเติม เนื่องจากโปรแกรมเท็กซ์เอดิเตอร์ หรือเวิร์ดโพรเซสเซอร์ดังกล่าวมักติดตังมาพร้อมกับ ้ โปรแกรมระบบ โดยในหน่วยการเรียนรู้นี้จะเขียนภาษา HTML ด้วย notepad ภาษา html ( HTML: Hypertext markup Language ) คือ ภาษาที่ใช้สำาหรับเขียนเว็บเพจเพื่อนำาไปแสดงผลบนเว็บเบ ราว์เซอร์ โดยจะต้องมีโครงสร้างของภาษา รูปแบบของคำาสั่ง ต่างๆ เพื่อให้เว็บเบราว์เซอร์สามารถเข้าใจและแสดงผลออกมา
  • 18. ตามที่ต้องการ เช่น เว็บเพจที่มีการกำาหนดรูปแบบตัวอักษร และ แสดงผลออกมาตามที่ต้องการ เช่น เว็บเพจที่มีการกำาหนดรูป แบบตัวอักษร สีของตัวอักษร และขนาดของตัวอักษร ตลอดจน การสร้างตัวเชื่อมโยงเว็บไซต์ต่างๆ โดยจะเขียนชุดคำาสั่งกับรหัส ภายในเครื่องหมาย < > ทีเรียกว่าแท็ก ่ ( TAG ) บันทึกไฟล์เป็นนามสกุล .html หรือ .htm แล้วจึงนำาไฟล์ที่เป็น Html ไปเปิดที่เว็บเบราว์เซอร์ในลำาดับต่อไป หลักการเขียนภาษา HTML หลักการเขียนภาษา HTML แบ่งเป็น ٢ ขั้นตอน ดังนี้ ١.การเปิด Notepad สามารถทำาได้ด้วยวิธีการดับเบิลคลิกที่ ไอคอนหรือการคลิกที่ปุ่ม start ซึ่งมีวิธีการดังนี้ 1.1 คลิกที่ปุ่ม start 1.2 คลิกที่ปุ่ม All Programs 1.3 คลิกที่ปุ่ม Accessories 1.4 คลิกที่ปุ่ม Notepad จะปรากฏหน้าต่างโปรแกรมขึ้น
  • 19. ٢. การเขียนภาษา HTML สามารถทำาได้ด้วยการการพิมพ์ คำาสั่งต่าง ๆ ลงในพื้นที่การใช้การใช้งานของ Notepad ตามโครงสร้างของภาษา HTML ซึ่งแบ่งเป็น ٢ ส่วน คือ ٢.١ ส่วนหัวโปรแกรม ( Head ) เป็นส่วนที่กำาหนดชื่อเรื่อง ซึ่งไม่ปรากฏอยู่บนแถบชื่อเรื่อง ( Title bar ) ของเว็บเบ ราว์เซอร์ ٢.٢ ส่วนเนื้อหาโปรแกรม Body เป็นส่วนที่กำาหนดคำาสั่งรูป แบบต่าง ๆ ลงไปในเว็บเพจ