SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 11
Baixar para ler offline
Math Online VI                               http://www.pec9.com                               บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
                                   บทที่ 18 คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า
! ตอนที่ 1 คลืนแมเหล็กไฟฟา!! ! ! ! ! ! ! ! !
              ่
        ทฤษฎี ของแมกซเวลล กลาววา “สนามแมเหล็กที่มีการเปลี่ยนแปลง สามารถเหนี่ยวนํา
    ใหเกิดสนามไฟฟา และสนามไฟฟาที่เปลี่ยนแปลง สามารถทําใหเกิดสนามแมเหล็กได”




    ตามทฤษฎีของแมกซเวลล เมื่อมีสนามแมเหล็กที่มีการเปลี่ยนแปลง จะเกดการเหนยว
                                                                         ิ        ่ี
    นําระหวางสนามแมเหล็กกับไฟฟาอยางตอเนื่อง สุดทายจะกอเกิดเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา
1. คลื่นแมเหล็กไฟฟาเกิดจาก....................................................................................................
    ขอควรทราบเพิ่มเติมเกี่ยวกับคลื่นแมเหล็กไฟฟา


                                                                                                      !
        1) สนามไฟฟา สนามแมเหล็ก และทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น จะอยูในทิศที่ตั้งฉากกัน
    ตลอดเวลา จงถอวา คลื่นแมเหล็กไฟฟาเปนคลื่นตามขวาง
                   ึ ื 
        2) อิเลคตรอนทีสนสะเทือน จะเหนี่ยวนําทําใหเกิดคลื่นแมเหล็กไฟฟารอบแนวการสั่น
                          ่ ่ั
    ได ตัวอยางเชนอิเลคตรอนในเสนลวดตัวนําที่มีกระแสไฟฟาสลับไหลผาน หรือ อิเลคตรอน
    ในวัตถุที่มีอุณหภูมิสูง ๆ หรออเิ ลคตรอนทเ่ี ปลยนวงโคจรรอบๆ อะตอม
                                    ื              ่ี
        3) อเิ ลคตรอนทเ่ี คลอนทดวยความเรง จะเหนี่ยวนําใหเกิดคลื่นแมเหล็กไฟฟาไดเชนกัน
                               ่ื ่ี       
        4) อิเลคตรอนทีสนสะเทือน จะทําใหเกิด
                         ่ ่ั
           คลื่นแมเหล็กไฟฟารอบแนวการสั่นทุก
           ทิศทาง ยกเวนแนวที่ตรงกับการสั่นสะ
           เทอน จะไมมีคลื่นแผออกมา
               ื
        5) คลื่นแมเหล็กไฟฟาทุกชนิด จะเคลอนทดวยความเรวเทากน คือ 3x108 เมตร/วินาที
                                              ่ื ่ี      ็  ั
        6) สนามแมเหล็ก และสนามไฟฟาทกสนามในคลนแมเ หลกไฟฟา ถือวาเกิดพรอมกันหมด
                                         ุ           ่ื     ็     


!                                                                "!
Math Online VI                                   http://www.pec9.com                                    บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
2. ไฟฟากระแสตรงเหนี่ยวนําใหเกิดสนามแมเหล็กได แตไมเกิดคลื่นแมเหล็กไฟฟา
   เพราะ.......................................................................................................................................
3. ขอความตอไปนี้ขอใดกลาวถูกตองตามทฤษฎีเกี่ยวกับคลื่นแมเหล็กไฟฟา       (ขอ ข.)
                                                                                
      1. ขณะประจุเคลือนทีดวยความเรงหรือความหนวง จะแผคลื่นแมเหล็กไฟฟา
                      ่ ่
      2. เมื่อสนามแมเหล็กเปลี่ยนแปลงจะเหนี่ยวนําใหเกิดสนามไฟฟาโดยรอบยกเวนบริเวณ
         นันเปนฉนวน
           ้
      3. บริเวณรอบตัวนําที่มีกระแสไฟฟาจะเกิดสนามแมเหล็ก
          ก. 1 , 2 และ 3                      ข. 1 และ 3                    ค. 3 เทานน
                                                                                    ้ั                    ง. ตอบเปนอยางอืน
                                                                                                                            ่
ตอบ
4(มช 38) คลื่นแมเหล็กไฟฟาเกิดจาก
      1. กระแสไฟฟาที่มีคาคงที่ไหลจากแบตเตอรี่ผานตัวนําไฟฟาวงจรไฟฟา
      2. การเคลือนทีของนิวตรอนดวยความเรง
                  ่ ่
      3. วัตถุที่มีอุณหภูมิสูง
      4. การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟาดวยความเร็วคงที่                                                                                  (ขอ 3.)
                                                                                                                                        
ตอบ
5(มช 31) ขอใด ไมใช แหลงกําเนิดของคลื่นแมเหล็กไฟฟา
                                                                                                                                      (ขอ ง.)
      ก. วัตถุมีอุณหภูมิสูง
      ข. อะตอมปลดปลอยพลังงาน
      ค. อิเล็กตรอนปลดปลอยพลังงาน
      ง. อิเล็กตรอนในกระแสไฟฟาตรงปลดปลอยพลังงาน
ตอบ
6(En 33) จงพิจารณาขอความตอไปนี้
      ก. อเิ ลกตรอนเคลอนทดวยความเรวสง
                         ่ื ่ี          ็ ู
      ข. กลุมอิเลกตรอนเคลือนทีในตัวนํา
                              ่ ่
      ค. อเิ ลกตรอนเคลอนทดวยความหนวง
                         ่ื ่ี            
   เหตุการณที่จะทําใหเกิดคลื่นแมเหล็กไฟฟาคือ
      1. ก และ ข                2. ข และ ค        3. ข           4. ค                                                                (ขอ 4.)
                                                                                                                                       
!                                                                      #!
Math Online VI                http://www.pec9.com             บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
7(มช 32) หากมีประจุเคลื่อนกลับไปมาคูหนึ่งดังรูป
   ตามทฤษฎีแมกซเวลล ประจุคูนี้จะแผคลื่นแมเหล็ก
   ไฟฟาออกมา แตมีแนวหนึ่งที่ไมมีคลื่นแผออกมา
   เลยแนวนนคอ
           ้ั ื                             (ขอ ก.)
                                               
      ก. A      ข. B         ค. C ง. D
ตอบ

8(มช 33) สนามแมเหล็กที่มาพรอมกับการเคลื่อนที่ของแสงนั้นจะมีทิศทาง
      ก. ขนานกับทิศทางของการเคลื่อนที่ของแสง
      ข. ขนานกับสนามไฟฟา แตเฟสตางกัน 90 องศา
      ค. ตั้งฉากกับทั้งสนามไฟฟาและทิศทางการเคลื่อนที่ของแสง
      ง. ตั้งฉากกับสนามไฟฟา แตขนานกับทิศทางการ เคลอนทของแสง
                                                       ่ื ่ี                     (ขอ ค.)
                                                                                   
ตอบ


9(มช 33) จงพิจารณาขอความตอไปนี้ ขอใดไมถูกตอง
      ก. การเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟาทําใหเกิดสนามแมเหล็ก และ การเปลี่ยนแปลงสนาม
         แมเหล็กทําใหเกิดสนามไฟฟา
      ข. สนามไฟฟาและสนามแมเหล็กของคลื่นแมเหล็กไฟฟามีเฟสตางกัน 90o
      ค. สําหรับคลื่นแมเหล็กไฟฟา สนามไฟฟา และ สนามแมเหล็กมีทิศตั้งฉากซึ่งกัน
         และกัน และตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นดวย
      ง. ในตัวกลางเดียวกัน คลื่นแมเหล็กไฟฟาทุกความถี่มี ความเรวเทากันหมด
                                                                ็              (ขอ ข.)
                                                                                  
ตอบ


                      !!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!




!                                          $!
Math Online VI               http://www.pec9.com              บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
! ตอนที่ 2 สเปกตรัมคลืนแมเหล็กไฟฟา! ! ! ! ! ! ! ! ! !
                      ่
      แหลงกําเนิดคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ใหญที่สุดในจักรวาลนี้ คือ ดวงอาทิตย
      คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ออกมาจากดวงอาทิตย จะแบงแยกได 8 ชนด ดงตารางตอไปน้ี
                                                                      ิ ั       
                                   การเรียง       การเรียงลําดับ การเรียงลําดับ
                สเปกตรัม
                                ลําดับความถี่ ความยาวคลื่น             พลังงาน
               รังสีแกมมา            มาก              นอย              มาก
                 รังสีเอกซ
          รังสีอลตราไวโอเลต
                    ั
                      แสงขาว
              รังสีอนฟาเรด
                        ิ
             คลนไมโครเวฟ
                 ่ื
                    คลื่นวิทยุ
           ไฟฟากระแสสลับ            นอย             มาก               นอย
      อยาลืม คลื่นแมเหล็กไฟฟาทุกสเปกตรัม จะมความเรวเทากันหมด คือ 3x108 m/s
                                                   ี       ็ 

10(มช 32) คลื่นแมเหล็กไฟฟาทุกชนิดขณะเคลื่อนที่ในสูญญากาศจะมีสิ่งหนึ่งเทากันเสมอ คือ
     ก. ความยาวคลื่น           ข. แอมปลิจูด      ค. ความถี่   ง. ความเร็ว (ขอ ง.) 
ตอบ
!
11(En 42/1) คลนวทยไมโครเวฟ และแสงเลเซอร มีความถี่ อยูในชวง 104 −109 เฮิรตซ
                 ่ื ิ ุ
   108 − 1012 เฮิรตซ และ 1014 เฮิรตซ ตามลําดับ ถาสงคลื่นเหลานี้จากโลกไปยัง
   ดาวเทยมดวงหนง ขอตอไปนี้ขอใดถูกตองมากที่สุด
         ี           ่ึ
      1. คลื่นวิทยุจะใชเวลาในการเคลื่อนที่ไปถึงดาวเทียมนอยที่สุด
      2. แสงเลเซอรจะใชเวลาในการเคลื่อนที่ไปถึงดาวเทียมนอยที่สุด
      3. คลื่นทั้งสามใชเวลาเดินทางไปถึงดาวเทียมเทากัน
      4. หาคําตอบไมไดเพราะไมไดกําหนดคาความยาว คลื่นของคลื่นเหลานี้    (ขอ 3.)
                                                                                
ตอบ

!                                         %!
Math Online VI                 http://www.pec9.com                บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
12(มช 33) การแผรังสีคลื่นแมเหล็กไฟฟาตอไปนี้ขอใดมีความยาวคลื่นสั้นที่สุด
     ก. รังสีแกมมา                              ข. แสงทตามองเหน
                                                           ่ี    ็
     ค. ไมโครเวฟ                                ง. รังสีอลตราไวโอเลต
                                                         ั                           (ขอ ก.)
                                                                                       
ตอบ
13. คลื่นแมเหล็กไฟฟาตอไปนี้คลื่นชนิดใดมีพลังงานมากที่สุด
      ก. ไมโครเวฟ         ข. อินฟราเรด          ค. แสง              ง. รังสีเอ็กซ   (ขอ ง.)
                                                                                       
ตอบ

    พลังงานของคลื่นแมเหล็กไฟฟา
       เราสามารถหาคาพลังงานของคลื่นแมเหล็กไฟฟาไดจากสมการ
                   E = hf            และ        E = hC
                                                         λ
          เมือ ่   E = พลังงานของคลื่นแมเหล็กไฟฟา (จล)
                                                       ู
                   h = คานิจของพลังค = 6.62 x 10–34 J.s
                   f = ความถี่ (s–1)
                   λ = ความยาวคลื่น (m)
                   C = ความเร็วคลื่นแมเหล็กไฟฟา = 3 x 108 m/s
          หรือ E = hef               และ        E = hC
                                                       eλ
          เมือ
             ่     E = พลังงานของคลื่นแมเหล็กไฟฟา หนวยเปน อเิ ลคตรอนโวลต (eV)
                                                          
                   e = 1.6 x 10–19
          หมายเหตุ 1eV = 1.6 x 10–19 จูล
14. คลื่นแมเหล็กไฟฟาชนิดหนึ่ง มีความถี่ 1x1014 Hz คลื่นนี้จะมีพลังงานกี่จูล (6.62x10–20)
วิธทา
   ี ํ


15. จงหาพลังงานของคลื่นแมเหล็กไฟฟาซึ่งมีความยาวคลื่น 600 nm ในหนวยจล (3.31x10–19)
                                                                   ู
วิธทา
   ี ํ


!                                            &!
Math Online VI                http://www.pec9.com               บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
16. คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีพลังงาน 1.324 x 10–20 จล จะมีความถี่เทาใด
                                                  ู                         (2x1013 Hz)
วิธทา
   ี ํ

17(มช 36) จงหาความถี่ในหนวยเฮิรตซของแสงที่โฟตอนมีพลังงานเทากับ 1.5 ev (3.63x1014)
วิธทา
   ี ํ

                      !!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!


    คลื่ น วิ ท ยุ คลื่ น โทรทั ศ น
    คลื่นวิทยุมีความถี่อยูในชวง 106–109 เฮิรตช คลื่นวิทยุมี 2 ระบบ ไดแก
        1. คลื่นวิทยุระบบ AM มีความถี่ตั้งแต 530–1600 กโลเฮรตซ ที่สถานีวิทยุสงออกอากาศ
                                                           ิ ิ
ในระบบเอเอ็ม เปนการสื่อสารโดยการผสม (modulate) คลื่นเสียงเขากับคลื่นวิทยุ ซึ่งเรียกวา
คลื่นพาหนะ และสัญญาณเสียงจะบังคับใหแอมพลิจูดของคลื่นพาหนะเปลี่ยนแปลงไป




       เมื่อคลื่นวิทยุที่ผสมสัญญาณเสียงกระจายออกจากสายอากาศไปยังเครื่องรับวิทยุเครื่องรับ
วิทยุจะทําหนาที่แยกสัญญาณเสียงซึ่งอยูในรูปของสัญญาณไฟฟาออกจากสัญญาณคลื่นวิทยุ
แลวขยายใหมีแอมพลิจูดสูงขึ้น เพื่อสงใหลําโพงแปลงสัญญาณออกมาเปนเสียงที่หูรับฟงได
       2. คลื่นวิทยุระบบ FM เปนการผสมสัญญาณเสียงเขากับคลื่นพาหะโดยใหความถี่ของ
คลื่นพาหะเปลี่ยนแปลงสัญญาณเสียง




!                                           '!
Math Online VI                  http://www.pec9.com                บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
         การสงคลื่นในระบบ FM ใชชวงความถี่จาก 88–108 เมกะเฮิรตซ ระบบการสงคลื่น
แบบเอเอ็มและเอฟเอ็มตางกันที่วิธีการผสมคลื่น ดังนันเครืองรับวิทยุระบบเอเอ็มกับเอฟเอ็มจึง
                                                       ้ ่
ไมสามารถรับคลื่นวิทยุของอีกระบบหนึ่งได
         ในการสงกระจายเสียงดวยคลื่นวิทยุระบบเอเอ็ม คลื่นสามารถเดินทางถึงเครื่องรับวิทยุได
สองทาง คือเคลื่อนที่ไปตรงๆในระดับสายตา ซึ่งเรียกวา คลื่นดิน สวนคลื่นที่สะทอนกลับลงมา
จากชนไอโอโนสเฟยร ซึ่งเรียกวาคลื่นฟา สวนคลื่นวิทยุระบบเอฟเอ็ม ซึ่งมีความถี่สูงจะมีการ
      ้ั
สะทอนทชนไอโอโนสเฟยรนอย ดังนั้นถาตองการสงกระจายเสียงดวยระบบเอฟเอ็มใหครอบ
      ่ี ้ั                  
คลุมพื้นที่ไกลๆ จึงตองมีสถานีถายทอดเปนระยะๆ และผูรับตองตั้งสายอากาศใหสูง ในขณะที่
คลื่นวิทยุเคลื่อนที่ผานสิ่งกีดขวางที่มีขนาดใกลเคียงความยาวคลื่นจะมีการเลี้ยวเบนเกิดขึ้น ทํา
ใหคลื่นวิทยุออมผานไปได แตถาสิ่งกีดขวางมีขนาดใหญมากเชน ภูเขา คลื่นวิทยุที่มีความยาว
คลื่นสั้นจะไมสะทอนออนผานภูเขาไปได ทาใหดานตรงขามของภเู ขาเปนจดปลอดคลน
                                             ํ                        ุ           ่ื
         โลหะมีสมบัติสามารถสะทอนและดูดกลืนคลื่นแมเหล็กไฟฟาไดดี ดังนั้นคลื่นวิทยุจะ
ทะลุผานเขาไปถึงภายในโลหะไดยาก อาจจะสังเกตไดงายเมื่อฟงวิทยุในรถยนต เมือรถยนต่
ผานใตสะพานที่มีโครงสรางเปนเหล็ก เสียงวิทยุจะเบาลง หรือเงียบหายไป
         ในการสงกระจายเสียง สถานีสงคลื่นวิทยุหนึ่งๆ จะใชคลื่นวิทยุที่มีความถี่คลื่นโดยเฉพาะ
เพราะถาใชคลื่นที่มีความถี่เดียวกัน จะเขาไปในเครืองรับพรอมกัน เสียงจะรบกวนกัน แตถา
                                                     ่
สถานีสงวิทยุอยูหางกันมากๆ จนคลื่นวิทยุของสถานีทั้งสองไมสามารถรบกวนกันได สถานีทั้ง
สองอาจใชความถี่เดียวกันได

        คลื่นโทรทัศนมีความถี่ประมาณ 108 เฮิรตซ คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่สูงขนาดนี้จะ
ไมสะทอนทชนไอโอโนสเฟยร แตจะทะลุผานชั้นบรรยากาศไปนอกโลก ดังนั้นการสงคลื่น
       ่ี ้ั              
โทรทัศนไปไกลๆ จะตองใชสถานีถายทอดคลื่นเปนระยะๆ เพื่อรับคลื่นโทรทัศนจากสถานีสง
ซึงมาในแนวเสนตรง แลวขยายใหสัญญาณแรงขึ้นกอนที่จะสงไปยังสถานีที่อยูถัดไป เพราะ
  ่
สัญญาณเดินทางเปนเสนตรง ดังนั้นสัญญาณจะไปไดไกลสุดเพียงประมาณ 80 กิโลเมตร บนผว           ิ
โลกเทานั้น ทงนเ้ี พราะผวโลกโคง หรือาจใชคลื่นไมโครเวฟนําสัญญาณจากสถานีสงไปยังดาว
               ้ั         ิ        
เทยมซงโคจรอยในวงโคจรทตาแหนงหยดนงเมอเทยบกบตาแหนงหนง ๆบนผิวโลก นนคอ
    ี ่ึ          ู          ่ี ํ    ุ ่ิ ่ื ี ั ํ           ่ึ                  ่ั ื
ดาวเทยมมความเรวเชงมมเดยวกบความเรวในการหมนรอบตวเองของโลกจากนนดาวเทยมกจะ
       ี ี           ็ ิ ุ ี ั          ็         ุ       ั                 ้ั        ี ็
สงคลื่นตอไปยังสถานีรับที่อยูไกลๆได

!                                             (!
Math Online VI                  http://www.pec9.com                บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
    คลื่นไมโครเวฟ
       คลื่นไมโครเวฟมีความถี่ตั้งแต 1x109 เฮิรตซ ถึง 3x1011 เฮิรตซ ปจจุบันเราใชคลื่น
ไมโครเวฟที่มีความถี่ 2400 เมกะเฮิรตซ ในการทําอาหาร เปดปดประตโรงรถ ถายภาพพื้นผิว
                                                                    ู
ดาวเคราะห ศึกษากําเนิดของจักรวาล เนื่องจากคลื่นไมโครเวฟสะทอนจากผิวโลหะไดดี ดังนัน        ้
จึงมีการนําสมบัตินี้ไปใชประโยชน ในการตรวจหาตาแหนงของอากาศยาน ตรวจจบอตราเรว
                                                   ํ                           ั ั       ็
ของรถยนต ซึ่งอุปกรณดังกลาวเรียกวา เรดาร

    รงสอนฟราเรด
     ั ีิ
     เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่ในชวง 1011–1014 เฮิรตซ สามารถแบงเปน 3 ชวง
                                                                                  
         1. อินฟราเรดใกล (0.7–1.5 ไมโครเมตร)
         2. อินฟราเรดปานกลาง (1.5–4.0 ไมโครเมตร)
         3. อินฟราเรดไกล (4.0–1000 ไมโครเมตร)
     วตถรอนจะแผรงสอนฟราเรดทมความยาวคลนสนกวา 100 ไมโครเมตร ประสาทสัมผัสทาง
       ั ุ         ั ีิ           ่ี ี             ่ื ้ั 
ผิวหนังของมนุษยรับรังสีอินฟราเรดที่มีความยาวคลื่นบางชวงได ฟลมถายรูปบางชนิดสามารถ
ตรวจจับรังสีอนฟราเรดได ตามปกตแลวสงมชวตทกชนดจะแผรงสอนฟราเรดตลอดเวลา และ
                ิ                        ิ  ่ิ ี ี ิ ุ ิ      ั ีิ
รังสีอินฟราเรดสามารถทะลุผานเมฆหมอกที่หนาทึบเกินกวาที่แสงธรรมดาจะผานได นักเทค
โนโลยีจึงอาศัยสมบัตินี้ในการถายภาพพื้นโลกจากดาวเทียม เพื่อศึกษาการแปรสภาพของปาไม
หรอการอพยพเคลอนทยายของฝงสตวเ ปนตน รงสอนฟราเรดมใชในระบบควบคมทเ่ี รยกวา
   ื                  ่ื ่ี      ู ั   ั ีิ                  ี             ุ ี 
รโทคอนโทรล (remote control) หรือการควบคุมระยะไกล ซึ่งเปนระบบควบคุมการทํางานของ
 ี
เครองรบโทรทศนจากระยะไกล เชนทําการปดเปดเครือง การเปลี่ยนชอง ฯลฯ ในกรณีนี้รังสี
     ่ื ั         ั                                      ่
อินฟราเรดจะเปนตัวนําคําสังจากอุปกรณควบคุมไปยังเครืองรับ นอกจากนี้ในทางการทหารก็มี
                               ่                             ่
การนํารังสีอินฟราเรดมาใชควบคุมอาวุธนําวิถีใหเคลื่อนไปยังเปาหมายไดอยางแมนยํา
         เทคโนโลยีปจจุบันใชการสงสัญญาณดวยเสนใยนําแสง (optical fiber) และคลื่นที่เปน
พาหะนาสญญาณคอ รงสอนฟราเรด เพราะการใชแสงธรรมดานาสญญาณอาจถูกรบกวนโดย
          ํ ั           ื ั ีิ                                  ํ ั
แสงภายนอกไดงาย!
     !
!
!
!
!                                             )!
Math Online VI             http://www.pec9.com                 บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
       แสง!
      แสงมีความถี่โดยประมาณตั้งแต 4x1014 เฮิรตซ ถึง 8x1014 เฮิรตซ ประสาทตาของมนุษย
ไวตอคลื่นแมเหล็กไฟฟาชวงนี้มาก วัตถุที่มีอุณหภูมิสูงมากๆ เชน ไสหลอดไฟฟาที่มีอุณหภูมิ
                                                                   
สูงประมาณ 2500 องศาเซลเซียส หรือผิวดวงอาทิตยทมอณหภูมประมาณ 6000 องศาเซลเซียส
                                                        ่ี ี ุ   ิ
จะเปลงแสงได สําหรับแสงที่มีความยาวคลื่นประมาณ 700 นาโนเมตร ประสาทตาจะรบรเู ปน     ั 
แสงสีแดง สวนแสงที่มีความยาวคลื่นนอยกวาประสาทตาจะรับรูเปนแสงสีสม เหลือง เขียว
น้าเงิน ตามลําดับ จนถึงแสงสีมวง ซึ่งมีความยาวคลื่นประมาณ 400 นาโนเมตร แสงสีตางๆ ที่
  ํ
กลาวมานี้เมื่อรวมกันดวยปริมาณที่เหมาะสม จะเปนแสงสีขาว
          แสงเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาเชนเดียวกับคลื่นวิทยุ ดังนั้นอาจใชแสงเปนคลื่นพาหนะนํา
ขาวสารในการสื่อสารไดเชนเดียวกับการใชคลื่นวิทยุและคลื่นโทรทัศนเปนพาหะนําเสียงและ
ภาพดังกลาวแลว เหตุที่ไมสามารถใชแสงที่เกิดจากวัตถุรอนเปนคลื่นพาหะเพราะวาแสงเหลานี้
มีหลายความถี่และเฟสที่ไมแนนอน ปจจบนเรามเี ครองกาเนดเลเซอร ซึ่งเปนแหลงกําเนิดแสง
                                        ุ ั          ่ื ํ ิ
อาพันธที่ใหแสงได ไดมีผูทดลองผสมสัญญาณเสียงและภาพกับเลเซอรไดสําเร็จ นอกจากใชสื่อ
สารแลว เลเซอรยังใชในวงการตางๆไดอยางกวางขวาง เชน วงการแพทย ใชในการผาตัดนัยน
                                                               
ตาเปนตน 
         เลเซอรเขียนภาษาอังกฤษวา LASER ซึ่งยอมาจาก Light Amplification by Stimulated
Emission of Radiation ที่แปลเปนภาษาไทยไดวา “การขยายสัญญาณแสงโดยการปลอยรังสี
แบบเรงเรา” เพราะแสงเลเซอรเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ไดจากกระบสนการปลอยรังสีแบบเรง
          
เรา และสญญาณแสงถูกขยาย
           ั
       รงสอลตราไวโอเลต
        ั ีั
!



         เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่อยูในชวง 1015 ถึง 1018 เฮิรตซ รังสีอลตราไวโอเลต
                                                                                  ั
ทมในธรรมชาติ สวนใหญมาจากดวงอาทิตย และรังสีนี้ทําใหบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟยรมี
   ่ี ี
ประจอสระ และไอออน เพราะรังสีอลตราไวโอเลต มีพลังงานสูงพอที่จะทําใหอิเล็กตรอนหลุด
        ุิ                             ั
จากโมเลกุลของอากาศพบวา ในไอโอโนสเฟยรมีโมเลกุลหลายชนิด เชน โอโซน ซึ่งสามารถ
                                                                         
กนรงสอลตราไวโอเลตไดดี ตามปกติรังสีอัลตราไวโอเลตไมสามารถทะลุผานสิ่งกีดขวางที่หนา
 ้ั ั ี ั                   
ได รงสนสามารถฆาเชอโรคบางชนดได ในวงการแพทยจึงใชรังสีอัลตราไวโอเลตในปริมาณ
        ั ี ้ี          ้ื              ิ
พอเหมาะรกษาโรคผวหนงบางชนด แตถารังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยสงลงมาถึงพื้น
               ั        ิ ั          ิ
!                                            *!
Math Online VI                  http://www.pec9.com                  บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
โลกในประเทศใดมากเกินไปประชากรจํานวนมากในประเทศนั้นอาจเปนมะเร็งผิวหนังได
เพราะไดรับรังสีนี้ในปริมาณมากเกินควร

    รังสีเอกซ
          เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่อยูในชวง 1017–1021 เฮิรตซ รังสีเอกซ สามารถทะลุ
ผานสิ่งกีดขวางหนาๆ ได ดังนันวงการอุตสาหกรรม จงใชรงสเี อกซตรวจหารอยราวภายในชน
                                ้                         ึ ั ็                         ้ิ
สวนโลหะขนาดใหญ เจาหนาทีดานตรวจก็ใชรงสีเอ็กซตรวจหาอาวุธปนหรือวัตถุระเบิดใน
                                   ่              ั
กระเปาเดนทางโดยไมตองเปดกระเปา โดยอาศัยหลักการวา รังสีเอกซจะถูกขวางกั้นโดย
          ิ                         
อะตอมของธาตุหนักไดดีกวาธาตุเบา แพทยจึงใชวิธีฉายรังสีเอกซผานรางกายคน ไปตกบน
ฟลมเพื่อตรวจดูลักษณะผิดปกติของอวัยวะภายในและกระดูก
    เมื่อฉายรังสีเอกซที่มีความยาวคลื่นประมาณ 10 นาโนเมตร ซึ่งเปนความยาวคลื่นที่ใกลเคียง
กนกบขนาดของอะตอม และระยะหางระหวางอะตอมของผลึกผานผลึกของโลหะที่จัดเรียงตัว
  ั ั
กันอยางมีระเบียบ จะเกิดปรากฏการณเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ เชนเดยวกบเมอแสงผานเกรตตง
                                                                    ี ั ่ื                  ิ
ทําใหสามารถคํานวณหาระยะหางระหวางอะตอมและลักษณะการจัดเรียงตัวของอะตอม จึงทํา
ใหทราบโครงสรางของผลึกแตละชนิดได
    รังสีแกมมา
       รังสีแกมมาเปนคลี่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่สูงกวารังสีเอกซ แตเ ดมรงสแกมมาเปนชอ
                                                                           ิ ั ี        ่ื
เรียกคลื่นแมเหล็กไฟฟาความถี่สูงที่เกิดจากการสลายของนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี แตใน
ปจจุบันคลื่นแมเหล็กไฟฟาใด ๆที่มีความถี่สูงกวารังสีเอกซ โดยทั่วไปจะเรียก รังสีแกมมา ทั้ง
นัน ปฏิกิริยานิวเคลียรบางปฏิกิริยาปลดปลอยรังสีแกมมา การระเบิดของลูกระเบิดนิวเคลียรก็
  ้
ใหรังสีแกมมาปริมาณมาก การมีความถี่สูงทําใหรังสีนี้เปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตทุกชนิด นอก
จากนี้ยังมีรังสีแกมมาที่ไมไดเกิดจากการสลายของธาตุกัมมันตรังสี เชน รังสีแกมมาที่มาจาก
                                                                      
อวกาศและรังสีคอสมิกนอกโลก อนภาคประจไฟฟาทถกเรงในเครองเรงอนภาคกสามารถให
                                     ุ        ุ  ่ี ู            ่ื  ุ ็
กําเนิดรังสีแกมมาไดเชนกัน

!




!                                             "+!
Math Online VI                  http://www.pec9.com                 บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
! ตอนที่ 3 โพลาไรเซชันของคลืนแมเหล็กไฟฟา!
                            ่
             ปกติแลวคลื่นแมเหล็กไฟฟาของแสงทั่วไป จะมีระนาบการเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟา (E )
ประกอบกันอยูหลายระนาบ ถาเราสามารถทําใหระนาบของสนามไฟฟา( E) ในคลื่นแมเหล็ก
ไฟฟา เหลือเพียงระนาบเดียวได คลื่นแมเหล็กไฟฟานั้นจะเรียกเปน คลื่นโพลาไรส
             สําหรับแสงที่ไมโพลาไรส เราสามารถทําใหโพลาไรสได ซึ่งอาจทําไดหลายวิธีเชน
             1. ฉายแสงผานแผนโพลารอยด
                                 
                  แผนโพลารอยดเปนแผนพลาสติกที่มีโมเลกุลของพอลิไวนิลแอลกอฮอล (polyvinyl
alcohol) ฝงอยูในเนื้อพลาสติก และแผนพลาสติกถูกยึดใหโมเลกุลยาวเรียงตัวในแนวขนานกับ
เมือแสงผานแผนโพลารอยด สนามไฟฟาที่มีทิศตั้งฉากกับแนวการเรียงตัวของโมเลกุลจะผาน
   ่
แผนโพลารอยดออกไปได สวนสนามไฟฟาที่มีทิศขนานกับแนวการเรียงตัวของโมเลกุลจะถูก
                      
โมเลกุลดูดกลืน ตอไปจะเรยกแนวทตงฉากกบแนวการเรยงตวของโมเลกลนวา ทิศของโพลา
                                   ี       ่ี ้ั    ั       ี ั              ุ ้ี 
ไรส
             2. ใชการสะทอนแสง เมื่อใหแสงไมโพลาไรสตกกระทบผิววัตถุ เชน แกว น้า หรือ
                                                                                     ํ
กระเบือง หากใชมุมตกกระทบที่เหมาะสม แสงที่สะทอนออกมาจะเปนแสงโพลาไรส
           ้
             มุมที่ทําใหแสงสะทอนเปนแสงโพลาไรส สามารถหาคาไดจากสมการ
                                          tanθB = n        ( สมการนีเ้ รียกวา กฏของบรูสเตอร )
                         เมือ n คือ คาดัชนีหักเหของสสารที่แสงตกกระทบ
                            ่
18. แสงไมโพลาไรสตกกระทบผิววัตถุ โดยทํามุมตกกระทบเทากับ 48 องศา พบวาแสง
         สะทอนจากผิววัตถุเปนแสงโพลาไรส ดรรชนหกเหของวตถนเ้ี ปนเทาใด
                                                       ี ั       ั ุ  
วธทา
 ิี ํ
19. นิลในอากาศ จงคานวณหามมบรสเตอรของนล ถามุมวิกฤตของนิลเทากับ 34.4 องศา
                                ํ        ุ ู           ิ
วธทา
 ิี ํ
             3. โพลาไรเซชันโดยการกระเจิงของแสง
             เมื่อแสงอาทิตยผานเขามาในบรรยากาศของโลก แสงจะกระทบโมเลกุลของอากาศหรือ
อนภาคในบรรยากาศ อิเล็กตรอนในโมเลกุลจะดูดกลืนแสงที่ตกกระทบนั้น และจะปลดปลอย
       ุ
แสงนั้นออกมาอีกครั้งหนึ่งในทุกทิศทาง ปรากฏการณนี้เรียกวา การกระเจิงของแสง แสงที่
กระเจิงออกมาจะเนแสงโพลาไรส
                        !!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!                    !
!                                             ""!

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบChanthawan Suwanhitathorn
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานkrupornpana55
 
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่เกษรา จุ้งลก
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารWuttipong Tubkrathok
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
การขับถ่ายของสัตว์
การขับถ่ายของสัตว์การขับถ่ายของสัตว์
การขับถ่ายของสัตว์Thanyamon Chat.
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่Pinutchaya Nakchumroon
 

Mais procurados (20)

Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 
O-net วิทยาศาสตร์ 2556
O-net วิทยาศาสตร์ 2556O-net วิทยาศาสตร์ 2556
O-net วิทยาศาสตร์ 2556
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบ
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
 
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
o net-2552
o net-2552o net-2552
o net-2552
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติEvolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
Evolution Plan : การคัดเลือกตามธรรมชาติ
 
การขับถ่ายของสัตว์
การขับถ่ายของสัตว์การขับถ่ายของสัตว์
การขับถ่ายของสัตว์
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 

Destaque

บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่thanakit553
 
เรื่องที่ 13 แสง
เรื่องที่ 13  แสงเรื่องที่ 13  แสง
เรื่องที่ 13 แสงthanakit553
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกลthanakit553
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์thanakit553
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหลthanakit553
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1thanakit553
 
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมเรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมthanakit553
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียงthanakit553
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าChakkrawut Mueangkhon
 
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่นthanakit553
 
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์thanakit553
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำthanakit553
 
เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อนthanakit553
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ thanakit553
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าuntika
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพศศิพร แซ่เฮ้ง
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์Somporn Laothongsarn
 

Destaque (20)

บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
 
เรื่องที่ 13 แสง
เรื่องที่ 13  แสงเรื่องที่ 13  แสง
เรื่องที่ 13 แสง
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหล
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
 
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมเรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียง
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
 
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อน
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่
 
ประวัติและความสำคัญของพุทธศาสนา
ประวัติและความสำคัญของพุทธศาสนาประวัติและความสำคัญของพุทธศาสนา
ประวัติและความสำคัญของพุทธศาสนา
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุ
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
 

Semelhante a เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1Chakkrawut Mueangkhon
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมChakkrawut Mueangkhon
 
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอมthanakit553
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าApinya Phuadsing
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กApinya Phuadsing
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2Chakkrawut Mueangkhon
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการSomporn Laothongsarn
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2Apinya Phuadsing
 
งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11Nang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าNang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าNang Ka Nangnarak
 

Semelhante a เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (20)

ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
 
P16
P16P16
P16
 
P19
P19P19
P19
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
 
P17
P17P17
P17
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กไฟฟ้าสนามแม่เหล็กไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
อบรมSme1 มฟล.1
อบรมSme1 มฟล.1อบรมSme1 มฟล.1
อบรมSme1 มฟล.1
 

Mais de thanakit553

Project based learning design 12
Project based learning design 12Project based learning design 12
Project based learning design 12thanakit553
 
การนำเสนอผลงาน12
การนำเสนอผลงาน12การนำเสนอผลงาน12
การนำเสนอผลงาน12thanakit553
 
Project based learning design 12
Project based learning design 12Project based learning design 12
Project based learning design 12thanakit553
 
3 d prainting for science learner 12
3 d prainting for science learner 123 d prainting for science learner 12
3 d prainting for science learner 12thanakit553
 
Educational robotics for basic education 12
Educational robotics for basic education 12Educational robotics for basic education 12
Educational robotics for basic education 12thanakit553
 
3 d prainting วันที่ 13
3 d prainting วันที่ 133 d prainting วันที่ 13
3 d prainting วันที่ 13thanakit553
 
3 d prainting 12
3 d prainting 123 d prainting 12
3 d prainting 12thanakit553
 
ตารางกำหนดการล่าสุด1
ตารางกำหนดการล่าสุด1ตารางกำหนดการล่าสุด1
ตารางกำหนดการล่าสุด1thanakit553
 
Educational 13 ประกาศ
Educational 13 ประกาศEducational 13 ประกาศ
Educational 13 ประกาศthanakit553
 
Educational 12 (2)
Educational 12 (2)Educational 12 (2)
Educational 12 (2)thanakit553
 
กำหนดการ58
กำหนดการ58กำหนดการ58
กำหนดการ58thanakit553
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์thanakit553
 
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์thanakit553
 
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51thanakit553
 

Mais de thanakit553 (20)

Robotic13
Robotic13Robotic13
Robotic13
 
Project13
Project13Project13
Project13
 
Oral13
Oral13Oral13
Oral13
 
3 d13
3 d133 d13
3 d13
 
Project based learning design 12
Project based learning design 12Project based learning design 12
Project based learning design 12
 
การนำเสนอผลงาน12
การนำเสนอผลงาน12การนำเสนอผลงาน12
การนำเสนอผลงาน12
 
Project based learning design 12
Project based learning design 12Project based learning design 12
Project based learning design 12
 
3 d prainting for science learner 12
3 d prainting for science learner 123 d prainting for science learner 12
3 d prainting for science learner 12
 
Educational robotics for basic education 12
Educational robotics for basic education 12Educational robotics for basic education 12
Educational robotics for basic education 12
 
3 d prainting วันที่ 13
3 d prainting วันที่ 133 d prainting วันที่ 13
3 d prainting วันที่ 13
 
3 d prainting 12
3 d prainting 123 d prainting 12
3 d prainting 12
 
ตารางกำหนดการล่าสุด1
ตารางกำหนดการล่าสุด1ตารางกำหนดการล่าสุด1
ตารางกำหนดการล่าสุด1
 
Educational 13 ประกาศ
Educational 13 ประกาศEducational 13 ประกาศ
Educational 13 ประกาศ
 
Educational 12 (2)
Educational 12 (2)Educational 12 (2)
Educational 12 (2)
 
กำหนดการ58
กำหนดการ58กำหนดการ58
กำหนดการ58
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
 
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
 
Img004
Img004Img004
Img004
 
Img003
Img003Img003
Img003
 
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
 

เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

  • 1. Math Online VI http://www.pec9.com บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา บทที่ 18 คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า ! ตอนที่ 1 คลืนแมเหล็กไฟฟา!! ! ! ! ! ! ! ! ! ่ ทฤษฎี ของแมกซเวลล กลาววา “สนามแมเหล็กที่มีการเปลี่ยนแปลง สามารถเหนี่ยวนํา ใหเกิดสนามไฟฟา และสนามไฟฟาที่เปลี่ยนแปลง สามารถทําใหเกิดสนามแมเหล็กได” ตามทฤษฎีของแมกซเวลล เมื่อมีสนามแมเหล็กที่มีการเปลี่ยนแปลง จะเกดการเหนยว ิ ่ี นําระหวางสนามแมเหล็กกับไฟฟาอยางตอเนื่อง สุดทายจะกอเกิดเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา 1. คลื่นแมเหล็กไฟฟาเกิดจาก.................................................................................................... ขอควรทราบเพิ่มเติมเกี่ยวกับคลื่นแมเหล็กไฟฟา ! 1) สนามไฟฟา สนามแมเหล็ก และทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น จะอยูในทิศที่ตั้งฉากกัน ตลอดเวลา จงถอวา คลื่นแมเหล็กไฟฟาเปนคลื่นตามขวาง ึ ื  2) อิเลคตรอนทีสนสะเทือน จะเหนี่ยวนําทําใหเกิดคลื่นแมเหล็กไฟฟารอบแนวการสั่น ่ ่ั ได ตัวอยางเชนอิเลคตรอนในเสนลวดตัวนําที่มีกระแสไฟฟาสลับไหลผาน หรือ อิเลคตรอน ในวัตถุที่มีอุณหภูมิสูง ๆ หรออเิ ลคตรอนทเ่ี ปลยนวงโคจรรอบๆ อะตอม ื ่ี 3) อเิ ลคตรอนทเ่ี คลอนทดวยความเรง จะเหนี่ยวนําใหเกิดคลื่นแมเหล็กไฟฟาไดเชนกัน ่ื ่ี   4) อิเลคตรอนทีสนสะเทือน จะทําใหเกิด ่ ่ั คลื่นแมเหล็กไฟฟารอบแนวการสั่นทุก ทิศทาง ยกเวนแนวที่ตรงกับการสั่นสะ เทอน จะไมมีคลื่นแผออกมา ื 5) คลื่นแมเหล็กไฟฟาทุกชนิด จะเคลอนทดวยความเรวเทากน คือ 3x108 เมตร/วินาที ่ื ่ี  ็  ั 6) สนามแมเหล็ก และสนามไฟฟาทกสนามในคลนแมเ หลกไฟฟา ถือวาเกิดพรอมกันหมด  ุ ่ื ็  ! "!
  • 2. Math Online VI http://www.pec9.com บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา 2. ไฟฟากระแสตรงเหนี่ยวนําใหเกิดสนามแมเหล็กได แตไมเกิดคลื่นแมเหล็กไฟฟา เพราะ....................................................................................................................................... 3. ขอความตอไปนี้ขอใดกลาวถูกตองตามทฤษฎีเกี่ยวกับคลื่นแมเหล็กไฟฟา (ขอ ข.)  1. ขณะประจุเคลือนทีดวยความเรงหรือความหนวง จะแผคลื่นแมเหล็กไฟฟา ่ ่ 2. เมื่อสนามแมเหล็กเปลี่ยนแปลงจะเหนี่ยวนําใหเกิดสนามไฟฟาโดยรอบยกเวนบริเวณ นันเปนฉนวน ้ 3. บริเวณรอบตัวนําที่มีกระแสไฟฟาจะเกิดสนามแมเหล็ก ก. 1 , 2 และ 3 ข. 1 และ 3 ค. 3 เทานน  ้ั ง. ตอบเปนอยางอืน ่ ตอบ 4(มช 38) คลื่นแมเหล็กไฟฟาเกิดจาก 1. กระแสไฟฟาที่มีคาคงที่ไหลจากแบตเตอรี่ผานตัวนําไฟฟาวงจรไฟฟา 2. การเคลือนทีของนิวตรอนดวยความเรง ่ ่ 3. วัตถุที่มีอุณหภูมิสูง 4. การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟาดวยความเร็วคงที่ (ขอ 3.)  ตอบ 5(มช 31) ขอใด ไมใช แหลงกําเนิดของคลื่นแมเหล็กไฟฟา  (ขอ ง.) ก. วัตถุมีอุณหภูมิสูง ข. อะตอมปลดปลอยพลังงาน ค. อิเล็กตรอนปลดปลอยพลังงาน ง. อิเล็กตรอนในกระแสไฟฟาตรงปลดปลอยพลังงาน ตอบ 6(En 33) จงพิจารณาขอความตอไปนี้ ก. อเิ ลกตรอนเคลอนทดวยความเรวสง ่ื ่ี  ็ ู ข. กลุมอิเลกตรอนเคลือนทีในตัวนํา  ่ ่ ค. อเิ ลกตรอนเคลอนทดวยความหนวง ่ื ่ี   เหตุการณที่จะทําใหเกิดคลื่นแมเหล็กไฟฟาคือ 1. ก และ ข 2. ข และ ค 3. ข 4. ค (ขอ 4.)  ! #!
  • 3. Math Online VI http://www.pec9.com บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา 7(มช 32) หากมีประจุเคลื่อนกลับไปมาคูหนึ่งดังรูป ตามทฤษฎีแมกซเวลล ประจุคูนี้จะแผคลื่นแมเหล็ก ไฟฟาออกมา แตมีแนวหนึ่งที่ไมมีคลื่นแผออกมา เลยแนวนนคอ ้ั ื (ขอ ก.)  ก. A ข. B ค. C ง. D ตอบ 8(มช 33) สนามแมเหล็กที่มาพรอมกับการเคลื่อนที่ของแสงนั้นจะมีทิศทาง ก. ขนานกับทิศทางของการเคลื่อนที่ของแสง ข. ขนานกับสนามไฟฟา แตเฟสตางกัน 90 องศา ค. ตั้งฉากกับทั้งสนามไฟฟาและทิศทางการเคลื่อนที่ของแสง ง. ตั้งฉากกับสนามไฟฟา แตขนานกับทิศทางการ เคลอนทของแสง ่ื ่ี (ขอ ค.)  ตอบ 9(มช 33) จงพิจารณาขอความตอไปนี้ ขอใดไมถูกตอง ก. การเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟาทําใหเกิดสนามแมเหล็ก และ การเปลี่ยนแปลงสนาม แมเหล็กทําใหเกิดสนามไฟฟา ข. สนามไฟฟาและสนามแมเหล็กของคลื่นแมเหล็กไฟฟามีเฟสตางกัน 90o ค. สําหรับคลื่นแมเหล็กไฟฟา สนามไฟฟา และ สนามแมเหล็กมีทิศตั้งฉากซึ่งกัน และกัน และตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นดวย ง. ในตัวกลางเดียวกัน คลื่นแมเหล็กไฟฟาทุกความถี่มี ความเรวเทากันหมด ็  (ขอ ข.)  ตอบ !!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!! ! $!
  • 4. Math Online VI http://www.pec9.com บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา ! ตอนที่ 2 สเปกตรัมคลืนแมเหล็กไฟฟา! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ่ แหลงกําเนิดคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ใหญที่สุดในจักรวาลนี้ คือ ดวงอาทิตย คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ออกมาจากดวงอาทิตย จะแบงแยกได 8 ชนด ดงตารางตอไปน้ี ิ ั  การเรียง การเรียงลําดับ การเรียงลําดับ สเปกตรัม ลําดับความถี่ ความยาวคลื่น พลังงาน รังสีแกมมา มาก นอย มาก รังสีเอกซ รังสีอลตราไวโอเลต ั แสงขาว รังสีอนฟาเรด ิ คลนไมโครเวฟ ่ื คลื่นวิทยุ ไฟฟากระแสสลับ นอย มาก นอย อยาลืม คลื่นแมเหล็กไฟฟาทุกสเปกตรัม จะมความเรวเทากันหมด คือ 3x108 m/s ี ็  10(มช 32) คลื่นแมเหล็กไฟฟาทุกชนิดขณะเคลื่อนที่ในสูญญากาศจะมีสิ่งหนึ่งเทากันเสมอ คือ ก. ความยาวคลื่น ข. แอมปลิจูด ค. ความถี่ ง. ความเร็ว (ขอ ง.)  ตอบ ! 11(En 42/1) คลนวทยไมโครเวฟ และแสงเลเซอร มีความถี่ อยูในชวง 104 −109 เฮิรตซ ่ื ิ ุ 108 − 1012 เฮิรตซ และ 1014 เฮิรตซ ตามลําดับ ถาสงคลื่นเหลานี้จากโลกไปยัง ดาวเทยมดวงหนง ขอตอไปนี้ขอใดถูกตองมากที่สุด ี ่ึ 1. คลื่นวิทยุจะใชเวลาในการเคลื่อนที่ไปถึงดาวเทียมนอยที่สุด 2. แสงเลเซอรจะใชเวลาในการเคลื่อนที่ไปถึงดาวเทียมนอยที่สุด 3. คลื่นทั้งสามใชเวลาเดินทางไปถึงดาวเทียมเทากัน 4. หาคําตอบไมไดเพราะไมไดกําหนดคาความยาว คลื่นของคลื่นเหลานี้ (ขอ 3.)  ตอบ ! %!
  • 5. Math Online VI http://www.pec9.com บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา 12(มช 33) การแผรังสีคลื่นแมเหล็กไฟฟาตอไปนี้ขอใดมีความยาวคลื่นสั้นที่สุด ก. รังสีแกมมา ข. แสงทตามองเหน ่ี ็ ค. ไมโครเวฟ ง. รังสีอลตราไวโอเลต ั (ขอ ก.)  ตอบ 13. คลื่นแมเหล็กไฟฟาตอไปนี้คลื่นชนิดใดมีพลังงานมากที่สุด ก. ไมโครเวฟ ข. อินฟราเรด ค. แสง ง. รังสีเอ็กซ (ขอ ง.)  ตอบ พลังงานของคลื่นแมเหล็กไฟฟา เราสามารถหาคาพลังงานของคลื่นแมเหล็กไฟฟาไดจากสมการ E = hf และ E = hC λ เมือ ่ E = พลังงานของคลื่นแมเหล็กไฟฟา (จล) ู h = คานิจของพลังค = 6.62 x 10–34 J.s f = ความถี่ (s–1) λ = ความยาวคลื่น (m) C = ความเร็วคลื่นแมเหล็กไฟฟา = 3 x 108 m/s หรือ E = hef และ E = hC eλ เมือ ่ E = พลังงานของคลื่นแมเหล็กไฟฟา หนวยเปน อเิ ลคตรอนโวลต (eV)   e = 1.6 x 10–19 หมายเหตุ 1eV = 1.6 x 10–19 จูล 14. คลื่นแมเหล็กไฟฟาชนิดหนึ่ง มีความถี่ 1x1014 Hz คลื่นนี้จะมีพลังงานกี่จูล (6.62x10–20) วิธทา ี ํ 15. จงหาพลังงานของคลื่นแมเหล็กไฟฟาซึ่งมีความยาวคลื่น 600 nm ในหนวยจล (3.31x10–19)  ู วิธทา ี ํ ! &!
  • 6. Math Online VI http://www.pec9.com บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา 16. คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีพลังงาน 1.324 x 10–20 จล จะมีความถี่เทาใด ู (2x1013 Hz) วิธทา ี ํ 17(มช 36) จงหาความถี่ในหนวยเฮิรตซของแสงที่โฟตอนมีพลังงานเทากับ 1.5 ev (3.63x1014) วิธทา ี ํ !!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!! คลื่ น วิ ท ยุ คลื่ น โทรทั ศ น คลื่นวิทยุมีความถี่อยูในชวง 106–109 เฮิรตช คลื่นวิทยุมี 2 ระบบ ไดแก 1. คลื่นวิทยุระบบ AM มีความถี่ตั้งแต 530–1600 กโลเฮรตซ ที่สถานีวิทยุสงออกอากาศ ิ ิ ในระบบเอเอ็ม เปนการสื่อสารโดยการผสม (modulate) คลื่นเสียงเขากับคลื่นวิทยุ ซึ่งเรียกวา คลื่นพาหนะ และสัญญาณเสียงจะบังคับใหแอมพลิจูดของคลื่นพาหนะเปลี่ยนแปลงไป เมื่อคลื่นวิทยุที่ผสมสัญญาณเสียงกระจายออกจากสายอากาศไปยังเครื่องรับวิทยุเครื่องรับ วิทยุจะทําหนาที่แยกสัญญาณเสียงซึ่งอยูในรูปของสัญญาณไฟฟาออกจากสัญญาณคลื่นวิทยุ แลวขยายใหมีแอมพลิจูดสูงขึ้น เพื่อสงใหลําโพงแปลงสัญญาณออกมาเปนเสียงที่หูรับฟงได 2. คลื่นวิทยุระบบ FM เปนการผสมสัญญาณเสียงเขากับคลื่นพาหะโดยใหความถี่ของ คลื่นพาหะเปลี่ยนแปลงสัญญาณเสียง ! '!
  • 7. Math Online VI http://www.pec9.com บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา การสงคลื่นในระบบ FM ใชชวงความถี่จาก 88–108 เมกะเฮิรตซ ระบบการสงคลื่น แบบเอเอ็มและเอฟเอ็มตางกันที่วิธีการผสมคลื่น ดังนันเครืองรับวิทยุระบบเอเอ็มกับเอฟเอ็มจึง ้ ่ ไมสามารถรับคลื่นวิทยุของอีกระบบหนึ่งได ในการสงกระจายเสียงดวยคลื่นวิทยุระบบเอเอ็ม คลื่นสามารถเดินทางถึงเครื่องรับวิทยุได สองทาง คือเคลื่อนที่ไปตรงๆในระดับสายตา ซึ่งเรียกวา คลื่นดิน สวนคลื่นที่สะทอนกลับลงมา จากชนไอโอโนสเฟยร ซึ่งเรียกวาคลื่นฟา สวนคลื่นวิทยุระบบเอฟเอ็ม ซึ่งมีความถี่สูงจะมีการ ้ั สะทอนทชนไอโอโนสเฟยรนอย ดังนั้นถาตองการสงกระจายเสียงดวยระบบเอฟเอ็มใหครอบ  ่ี ้ั    คลุมพื้นที่ไกลๆ จึงตองมีสถานีถายทอดเปนระยะๆ และผูรับตองตั้งสายอากาศใหสูง ในขณะที่ คลื่นวิทยุเคลื่อนที่ผานสิ่งกีดขวางที่มีขนาดใกลเคียงความยาวคลื่นจะมีการเลี้ยวเบนเกิดขึ้น ทํา ใหคลื่นวิทยุออมผานไปได แตถาสิ่งกีดขวางมีขนาดใหญมากเชน ภูเขา คลื่นวิทยุที่มีความยาว คลื่นสั้นจะไมสะทอนออนผานภูเขาไปได ทาใหดานตรงขามของภเู ขาเปนจดปลอดคลน ํ    ุ ่ื โลหะมีสมบัติสามารถสะทอนและดูดกลืนคลื่นแมเหล็กไฟฟาไดดี ดังนั้นคลื่นวิทยุจะ ทะลุผานเขาไปถึงภายในโลหะไดยาก อาจจะสังเกตไดงายเมื่อฟงวิทยุในรถยนต เมือรถยนต่ ผานใตสะพานที่มีโครงสรางเปนเหล็ก เสียงวิทยุจะเบาลง หรือเงียบหายไป ในการสงกระจายเสียง สถานีสงคลื่นวิทยุหนึ่งๆ จะใชคลื่นวิทยุที่มีความถี่คลื่นโดยเฉพาะ เพราะถาใชคลื่นที่มีความถี่เดียวกัน จะเขาไปในเครืองรับพรอมกัน เสียงจะรบกวนกัน แตถา ่ สถานีสงวิทยุอยูหางกันมากๆ จนคลื่นวิทยุของสถานีทั้งสองไมสามารถรบกวนกันได สถานีทั้ง สองอาจใชความถี่เดียวกันได คลื่นโทรทัศนมีความถี่ประมาณ 108 เฮิรตซ คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่สูงขนาดนี้จะ ไมสะทอนทชนไอโอโนสเฟยร แตจะทะลุผานชั้นบรรยากาศไปนอกโลก ดังนั้นการสงคลื่น   ่ี ้ั  โทรทัศนไปไกลๆ จะตองใชสถานีถายทอดคลื่นเปนระยะๆ เพื่อรับคลื่นโทรทัศนจากสถานีสง ซึงมาในแนวเสนตรง แลวขยายใหสัญญาณแรงขึ้นกอนที่จะสงไปยังสถานีที่อยูถัดไป เพราะ ่ สัญญาณเดินทางเปนเสนตรง ดังนั้นสัญญาณจะไปไดไกลสุดเพียงประมาณ 80 กิโลเมตร บนผว ิ โลกเทานั้น ทงนเ้ี พราะผวโลกโคง หรือาจใชคลื่นไมโครเวฟนําสัญญาณจากสถานีสงไปยังดาว ้ั ิ  เทยมซงโคจรอยในวงโคจรทตาแหนงหยดนงเมอเทยบกบตาแหนงหนง ๆบนผิวโลก นนคอ ี ่ึ ู ่ี ํ  ุ ่ิ ่ื ี ั ํ  ่ึ ่ั ื ดาวเทยมมความเรวเชงมมเดยวกบความเรวในการหมนรอบตวเองของโลกจากนนดาวเทยมกจะ ี ี ็ ิ ุ ี ั ็ ุ ั ้ั ี ็ สงคลื่นตอไปยังสถานีรับที่อยูไกลๆได ! (!
  • 8. Math Online VI http://www.pec9.com บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา คลื่นไมโครเวฟ คลื่นไมโครเวฟมีความถี่ตั้งแต 1x109 เฮิรตซ ถึง 3x1011 เฮิรตซ ปจจุบันเราใชคลื่น ไมโครเวฟที่มีความถี่ 2400 เมกะเฮิรตซ ในการทําอาหาร เปดปดประตโรงรถ ถายภาพพื้นผิว   ู ดาวเคราะห ศึกษากําเนิดของจักรวาล เนื่องจากคลื่นไมโครเวฟสะทอนจากผิวโลหะไดดี ดังนัน ้ จึงมีการนําสมบัตินี้ไปใชประโยชน ในการตรวจหาตาแหนงของอากาศยาน ตรวจจบอตราเรว ํ  ั ั ็ ของรถยนต ซึ่งอุปกรณดังกลาวเรียกวา เรดาร รงสอนฟราเรด ั ีิ เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่ในชวง 1011–1014 เฮิรตซ สามารถแบงเปน 3 ชวง  1. อินฟราเรดใกล (0.7–1.5 ไมโครเมตร) 2. อินฟราเรดปานกลาง (1.5–4.0 ไมโครเมตร) 3. อินฟราเรดไกล (4.0–1000 ไมโครเมตร) วตถรอนจะแผรงสอนฟราเรดทมความยาวคลนสนกวา 100 ไมโครเมตร ประสาทสัมผัสทาง ั ุ ั ีิ ่ี ี ่ื ้ั  ผิวหนังของมนุษยรับรังสีอินฟราเรดที่มีความยาวคลื่นบางชวงได ฟลมถายรูปบางชนิดสามารถ ตรวจจับรังสีอนฟราเรดได ตามปกตแลวสงมชวตทกชนดจะแผรงสอนฟราเรดตลอดเวลา และ ิ ิ  ่ิ ี ี ิ ุ ิ ั ีิ รังสีอินฟราเรดสามารถทะลุผานเมฆหมอกที่หนาทึบเกินกวาที่แสงธรรมดาจะผานได นักเทค โนโลยีจึงอาศัยสมบัตินี้ในการถายภาพพื้นโลกจากดาวเทียม เพื่อศึกษาการแปรสภาพของปาไม หรอการอพยพเคลอนทยายของฝงสตวเ ปนตน รงสอนฟราเรดมใชในระบบควบคมทเ่ี รยกวา ื ่ื ่ี  ู ั   ั ีิ ี  ุ ี  รโทคอนโทรล (remote control) หรือการควบคุมระยะไกล ซึ่งเปนระบบควบคุมการทํางานของ ี เครองรบโทรทศนจากระยะไกล เชนทําการปดเปดเครือง การเปลี่ยนชอง ฯลฯ ในกรณีนี้รังสี ่ื ั ั  ่ อินฟราเรดจะเปนตัวนําคําสังจากอุปกรณควบคุมไปยังเครืองรับ นอกจากนี้ในทางการทหารก็มี ่ ่ การนํารังสีอินฟราเรดมาใชควบคุมอาวุธนําวิถีใหเคลื่อนไปยังเปาหมายไดอยางแมนยํา เทคโนโลยีปจจุบันใชการสงสัญญาณดวยเสนใยนําแสง (optical fiber) และคลื่นที่เปน พาหะนาสญญาณคอ รงสอนฟราเรด เพราะการใชแสงธรรมดานาสญญาณอาจถูกรบกวนโดย ํ ั ื ั ีิ  ํ ั แสงภายนอกไดงาย! ! ! ! ! ! )!
  • 9. Math Online VI http://www.pec9.com บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา แสง! แสงมีความถี่โดยประมาณตั้งแต 4x1014 เฮิรตซ ถึง 8x1014 เฮิรตซ ประสาทตาของมนุษย ไวตอคลื่นแมเหล็กไฟฟาชวงนี้มาก วัตถุที่มีอุณหภูมิสูงมากๆ เชน ไสหลอดไฟฟาที่มีอุณหภูมิ  สูงประมาณ 2500 องศาเซลเซียส หรือผิวดวงอาทิตยทมอณหภูมประมาณ 6000 องศาเซลเซียส ่ี ี ุ ิ จะเปลงแสงได สําหรับแสงที่มีความยาวคลื่นประมาณ 700 นาโนเมตร ประสาทตาจะรบรเู ปน ั  แสงสีแดง สวนแสงที่มีความยาวคลื่นนอยกวาประสาทตาจะรับรูเปนแสงสีสม เหลือง เขียว น้าเงิน ตามลําดับ จนถึงแสงสีมวง ซึ่งมีความยาวคลื่นประมาณ 400 นาโนเมตร แสงสีตางๆ ที่ ํ กลาวมานี้เมื่อรวมกันดวยปริมาณที่เหมาะสม จะเปนแสงสีขาว แสงเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาเชนเดียวกับคลื่นวิทยุ ดังนั้นอาจใชแสงเปนคลื่นพาหนะนํา ขาวสารในการสื่อสารไดเชนเดียวกับการใชคลื่นวิทยุและคลื่นโทรทัศนเปนพาหะนําเสียงและ ภาพดังกลาวแลว เหตุที่ไมสามารถใชแสงที่เกิดจากวัตถุรอนเปนคลื่นพาหะเพราะวาแสงเหลานี้ มีหลายความถี่และเฟสที่ไมแนนอน ปจจบนเรามเี ครองกาเนดเลเซอร ซึ่งเปนแหลงกําเนิดแสง  ุ ั ่ื ํ ิ อาพันธที่ใหแสงได ไดมีผูทดลองผสมสัญญาณเสียงและภาพกับเลเซอรไดสําเร็จ นอกจากใชสื่อ สารแลว เลเซอรยังใชในวงการตางๆไดอยางกวางขวาง เชน วงการแพทย ใชในการผาตัดนัยน  ตาเปนตน  เลเซอรเขียนภาษาอังกฤษวา LASER ซึ่งยอมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation ที่แปลเปนภาษาไทยไดวา “การขยายสัญญาณแสงโดยการปลอยรังสี แบบเรงเรา” เพราะแสงเลเซอรเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ไดจากกระบสนการปลอยรังสีแบบเรง   เรา และสญญาณแสงถูกขยาย  ั รงสอลตราไวโอเลต ั ีั ! เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่อยูในชวง 1015 ถึง 1018 เฮิรตซ รังสีอลตราไวโอเลต ั ทมในธรรมชาติ สวนใหญมาจากดวงอาทิตย และรังสีนี้ทําใหบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟยรมี ่ี ี ประจอสระ และไอออน เพราะรังสีอลตราไวโอเลต มีพลังงานสูงพอที่จะทําใหอิเล็กตรอนหลุด ุิ ั จากโมเลกุลของอากาศพบวา ในไอโอโนสเฟยรมีโมเลกุลหลายชนิด เชน โอโซน ซึ่งสามารถ  กนรงสอลตราไวโอเลตไดดี ตามปกติรังสีอัลตราไวโอเลตไมสามารถทะลุผานสิ่งกีดขวางที่หนา ้ั ั ี ั  ได รงสนสามารถฆาเชอโรคบางชนดได ในวงการแพทยจึงใชรังสีอัลตราไวโอเลตในปริมาณ ั ี ้ี  ้ื ิ พอเหมาะรกษาโรคผวหนงบางชนด แตถารังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยสงลงมาถึงพื้น ั ิ ั ิ ! *!
  • 10. Math Online VI http://www.pec9.com บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา โลกในประเทศใดมากเกินไปประชากรจํานวนมากในประเทศนั้นอาจเปนมะเร็งผิวหนังได เพราะไดรับรังสีนี้ในปริมาณมากเกินควร รังสีเอกซ เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่อยูในชวง 1017–1021 เฮิรตซ รังสีเอกซ สามารถทะลุ ผานสิ่งกีดขวางหนาๆ ได ดังนันวงการอุตสาหกรรม จงใชรงสเี อกซตรวจหารอยราวภายในชน ้ ึ ั ็   ้ิ สวนโลหะขนาดใหญ เจาหนาทีดานตรวจก็ใชรงสีเอ็กซตรวจหาอาวุธปนหรือวัตถุระเบิดใน ่ ั กระเปาเดนทางโดยไมตองเปดกระเปา โดยอาศัยหลักการวา รังสีเอกซจะถูกขวางกั้นโดย  ิ     อะตอมของธาตุหนักไดดีกวาธาตุเบา แพทยจึงใชวิธีฉายรังสีเอกซผานรางกายคน ไปตกบน ฟลมเพื่อตรวจดูลักษณะผิดปกติของอวัยวะภายในและกระดูก เมื่อฉายรังสีเอกซที่มีความยาวคลื่นประมาณ 10 นาโนเมตร ซึ่งเปนความยาวคลื่นที่ใกลเคียง กนกบขนาดของอะตอม และระยะหางระหวางอะตอมของผลึกผานผลึกของโลหะที่จัดเรียงตัว ั ั กันอยางมีระเบียบ จะเกิดปรากฏการณเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ เชนเดยวกบเมอแสงผานเกรตตง  ี ั ่ื  ิ ทําใหสามารถคํานวณหาระยะหางระหวางอะตอมและลักษณะการจัดเรียงตัวของอะตอม จึงทํา ใหทราบโครงสรางของผลึกแตละชนิดได รังสีแกมมา รังสีแกมมาเปนคลี่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่สูงกวารังสีเอกซ แตเ ดมรงสแกมมาเปนชอ ิ ั ี  ่ื เรียกคลื่นแมเหล็กไฟฟาความถี่สูงที่เกิดจากการสลายของนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี แตใน ปจจุบันคลื่นแมเหล็กไฟฟาใด ๆที่มีความถี่สูงกวารังสีเอกซ โดยทั่วไปจะเรียก รังสีแกมมา ทั้ง นัน ปฏิกิริยานิวเคลียรบางปฏิกิริยาปลดปลอยรังสีแกมมา การระเบิดของลูกระเบิดนิวเคลียรก็ ้ ใหรังสีแกมมาปริมาณมาก การมีความถี่สูงทําใหรังสีนี้เปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตทุกชนิด นอก จากนี้ยังมีรังสีแกมมาที่ไมไดเกิดจากการสลายของธาตุกัมมันตรังสี เชน รังสีแกมมาที่มาจาก  อวกาศและรังสีคอสมิกนอกโลก อนภาคประจไฟฟาทถกเรงในเครองเรงอนภาคกสามารถให ุ ุ  ่ี ู  ่ื  ุ ็ กําเนิดรังสีแกมมาไดเชนกัน ! ! "+!
  • 11. Math Online VI http://www.pec9.com บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา ! ตอนที่ 3 โพลาไรเซชันของคลืนแมเหล็กไฟฟา! ่ ปกติแลวคลื่นแมเหล็กไฟฟาของแสงทั่วไป จะมีระนาบการเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟา (E ) ประกอบกันอยูหลายระนาบ ถาเราสามารถทําใหระนาบของสนามไฟฟา( E) ในคลื่นแมเหล็ก ไฟฟา เหลือเพียงระนาบเดียวได คลื่นแมเหล็กไฟฟานั้นจะเรียกเปน คลื่นโพลาไรส สําหรับแสงที่ไมโพลาไรส เราสามารถทําใหโพลาไรสได ซึ่งอาจทําไดหลายวิธีเชน 1. ฉายแสงผานแผนโพลารอยด   แผนโพลารอยดเปนแผนพลาสติกที่มีโมเลกุลของพอลิไวนิลแอลกอฮอล (polyvinyl alcohol) ฝงอยูในเนื้อพลาสติก และแผนพลาสติกถูกยึดใหโมเลกุลยาวเรียงตัวในแนวขนานกับ เมือแสงผานแผนโพลารอยด สนามไฟฟาที่มีทิศตั้งฉากกับแนวการเรียงตัวของโมเลกุลจะผาน ่ แผนโพลารอยดออกไปได สวนสนามไฟฟาที่มีทิศขนานกับแนวการเรียงตัวของโมเลกุลจะถูก   โมเลกุลดูดกลืน ตอไปจะเรยกแนวทตงฉากกบแนวการเรยงตวของโมเลกลนวา ทิศของโพลา  ี ่ี ้ั ั ี ั ุ ้ี  ไรส 2. ใชการสะทอนแสง เมื่อใหแสงไมโพลาไรสตกกระทบผิววัตถุ เชน แกว น้า หรือ  ํ กระเบือง หากใชมุมตกกระทบที่เหมาะสม แสงที่สะทอนออกมาจะเปนแสงโพลาไรส ้ มุมที่ทําใหแสงสะทอนเปนแสงโพลาไรส สามารถหาคาไดจากสมการ tanθB = n ( สมการนีเ้ รียกวา กฏของบรูสเตอร ) เมือ n คือ คาดัชนีหักเหของสสารที่แสงตกกระทบ ่ 18. แสงไมโพลาไรสตกกระทบผิววัตถุ โดยทํามุมตกกระทบเทากับ 48 องศา พบวาแสง สะทอนจากผิววัตถุเปนแสงโพลาไรส ดรรชนหกเหของวตถนเ้ี ปนเทาใด ี ั ั ุ   วธทา ิี ํ 19. นิลในอากาศ จงคานวณหามมบรสเตอรของนล ถามุมวิกฤตของนิลเทากับ 34.4 องศา ํ ุ ู  ิ วธทา ิี ํ 3. โพลาไรเซชันโดยการกระเจิงของแสง เมื่อแสงอาทิตยผานเขามาในบรรยากาศของโลก แสงจะกระทบโมเลกุลของอากาศหรือ อนภาคในบรรยากาศ อิเล็กตรอนในโมเลกุลจะดูดกลืนแสงที่ตกกระทบนั้น และจะปลดปลอย ุ แสงนั้นออกมาอีกครั้งหนึ่งในทุกทิศทาง ปรากฏการณนี้เรียกวา การกระเจิงของแสง แสงที่ กระเจิงออกมาจะเนแสงโพลาไรส !!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!! ! ! ""!