SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 20
นางสาวขวัญกมล 
ทองกลาง 
เลขที่ ๒๑ 
นางสาวมกุดา ตัน 
สกุล 
เลขที่ ๓๑ 
นางสาวยลดา 
ศรีบุญเรือง 
เลขที่ ๓๓
นางสาวศิริวิรุณ 
จงเทพ 
เลขที่ ๓๕ 
นางสาวอัจฉรา 
แก้วคำา 
เลขที่ ๔๐ 
นางสาวอารีรัตน์ 
สิงหามแห 
เลขที่ ๔๒
คำาว่า “ภาษา” เปน็ศัพท์ภาษา 
สันสกฤตมาจากรากศัพท์ว่า “ภาษฺ” มีความ 
หมายว่า “พูด กล่าว 
หรือบอก” ภาษาจึงมีความหมายตามรูป 
ศัพท์ว่า การพูด การกล่าว หรือการบอก 
เมื่อพจิารณาความหมายของคำาว่า ภาษา 
สามารถแบ่งได้เป็นความหมายอย่างกว้าง 
และความหมายอย่างแคบ ดังนี้
๑. ความหมายอย่างกว้าง ภาษา หมาย 
ถึง การแสดงออกเพื่อการสื่อความหมาย 
โดยมีกฎเกณฑ์ที่รับรู้ร่วมกันระหว่างผู้ส่งสาร 
กับผู้รับสาร ซึ่งอาจเป็นการสื่อสารระหว่าง 
มนุษย์กับมนุษย์ มนุษย์กับสตัว์ หรือมนุษย์ 
กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสก์็ได้ เช่น 
นักเรียนทำาแบบฝึกหัดผ่านทางโปรแกรม 
คอมพิวเตอร์มัลติมีเดียที่สามารถโต้ตอบกับ 
นักเรียนได้ เปน็ต้น การใช้ถ้อยคำาหรือวัจ 
นภาษา หรือการใช้ท่าทาง 
หรืออวัจนภาษา รวมถึงการใช้สญัลักษณ์ 
ต่างๆ เช่น ภาพ เสยีง เพอื่สื่อความหมาย
b. ความหมายอย่างแคบ ภาษา หมายถึง 
ถ้อยคำาทมี่นุษย์ใช้สื่อความหมาย ภาษา 
ตามนัยนี้จึงจำากัดลงมาเฉพาะวัจนภาษา 
อันเปน็ภาษาที่ใชเ้ฉพาะมนุษย์กับมนุษย์ 
และใช้สอื่ที่สำาคัญคอื “เสียงพูด” 
ในการสื่อสารระหว่างกันเท่านั้น มไิด้ 
หมายรวมถึง “ตัวอักษร” หรือภาษา 
เขียน เนื่องจากมนุษย์ทุกกลุ่มจะสร้าง 
ภาษาพดูขึ้นใช้ในกลุ่มของตนเองก่อน 
แต่การสร้างภาษาเขียนนั้นมีเฉพาะบาง 
ภาษาเท่านั้น 
ภาษาเป็นหัวใจของการสื่อสาร และมี
ได้รับการพัฒนามากขึ้นเพียงใด 
ภาษาก็จะยงิ่มคีวามซับซอ้นมากมากขนึ้ 
อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะมีภาษาอยู่เป็น 
จำานวนมาก ทุกภาษาย่อมมลีักษณะร่วม 
อันเปน็ธรรมชาติของภาษา ๔ ประการ 
ดังนี้ 
๑. ภาษาใช้สื่อความหมาย 
๒. ภาษาประกอบจากหน่วยในภาษาที่ 
ประกอบกันเป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้น 
๓. ภาษามีการเปลี่ยนแปลง 
๔. ภาษาต่างๆ มีลักษณะที่เหมือนกัน 
และต่างกัน
๑. ภาษาใช้เสียงสื่อความหมาย 
เสยีงเปน็สอื่ที่สำาคญัที่สุด ที่ทำาให้ 
มนุษย์สามารถสอื่สารกันได้ ความเขา้ใจใน 
ที่นี้เกิดจากการรับรู้ความหมายที่ตรงกัน 
ระหว่างผู้สอื่สารกับผรูั้บสาร แต่สิ่งที่ควร 
พิจารณาคือ การกำาหนดว่าเสยีงใดจะมีความ 
หมายใดนั้น ส่วนใหญ่เกิดจากการสมมุติ 
หรือกำาหนดขึ้นเองภายในกลุ่มชนที่ใช้ภาษา 
นั้นนับแต่แรกใช้ภาษา ด้วยเหตุนี้ เราจึงยัง 
ไม่สามารถหาเหตุผลได้ว่าเหตุใดจึงเรียกสิ่ง 
นั้นว่าสงิ่นั้น เช่น เหตุใดเราจึงเรียก 
สารประกอบระหว่างธาตุไฮโดรเจนและ
เมื่อพจิารณาถ้อยคำาเฉพาะในภาษาไทย 
อาจพบว่ามีคำาส่วนหนึ่งที่เสียงสัมพันธ์กับ 
ความหมาย ได้แก่ คำาที่เลียนเสยีง 
ธรรมชาติ เช่น ครืน! โครม! เพล้ง! 
เปรี้ยง! กริ๊ก! และคำาที่เปน็ชื่อสตัว์ เช่น 
กา แมว ตุ๊กแก เปน็ต้น และคำาที่มีเสยีง 
สระหรือพยัญชนะที่ใกล้เคียงกันแล้วมีความ 
หมายคล้ายกัน ได้แก่ คำาที่แสดงความ 
หมายเกี่ยวกับสภาพที่ไม่ตรง เช่น เก เข 
เฉ เซ เย้ เป้ เห หรือคำาที่แสดงความ 
หมายเกี่ยวกับสภาพที่แบนหรือแผ่ออกไป
๒. ภาษาประกอบจากหน่วยในภาษาที่ 
ประกอบกันเป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้น 
หน่วยในภาษา หมายถึง เสียงที่มี 
นัยสำาคัญและทำาให้เกิดความหมายที่ต่างกัน 
นักภาษาศาสตร์จะศึกษาหน่วยเสียงใน 
ภาษาจากการวิเคราะห์ “คเู่ทยีบเสียง” คอื 
การเปรียบเทียบคำาสองคำาที่มีองค์ประกอบ 
เหมือนกันทุกอย่าง ยกเว้นหน่วยเสยีงที่ 
ต้องการวิเคราะห์ เช่น เปรียบเทียบคำาว่า 
“rat” และ “cat” แสดงว่าหน่วยเสียง /r/ 
และ /c/ มีนัยสำาคญัที่ทำาให้เกิดความหมาย 
ที่ต่างกัน หน่วยเสยีงทั้งสองจึงมีคณุสมบตัิ
ทุกภาษาจะประกอบด้วยหน่วยเสียงที่มี 
ขนาดเล็กที่สดุ คือ หน่วยเสียงพยัญชนะ 
และหน่วยเสยีงสระ เช่น ภาษาไทยมี 
หน่วยเสยีงพยัญชนะ ๒๑ หน่วยเสียง 
และหน่วยเสยีงสระ ๒๑ หน่วยเสยีง 
เป็นต้น ภาษาเขมรมหีน่วยเสียงพยัญชนะ 
๑๘ หน่วยเสยีงและหน่วยเสยีงสระ ๓๒ 
หน่วยเสยีง เปน็ต้น หน่วยเสียงเหล่านี้ 
สามารถนำามาประกอบกันเป็นหน่วยคำาวลี 
ประโยค และข้อความขนาดยาวไม่รู้จบ 
จึงเปน็ที่น่าสังเกตว่า แม้ภาษาจะ 
ประกอบด้วยหน่วยเสียงซึ่งมีจำานวน
๓. ภาษามีการเปลี่ยนแปลง 
ภาษาทุกภาษาย่อมมีการ 
เปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงของภาษา 
นั้นเกิดจากการใชภ้าษาของมนุษย์นั่นเอง 
บางครั้งอาจเปลี่ยนเสยีง เปลี่ยนความ 
หมาย หรือเปลี่ยนคำาทใี่ช้ร่วมไปบา้ง หรือ 
อาจสูญไปจากภาษาเลยก็มี สาเหตุทที่ำาให้ 
ภาษาไทยมีการเปลี่ยนแปลงพอสันนิษฐาน 
ได้ดังนี้ 
๑. การออกเสียงพูดจากันในชีวิต 
ประจำาวัน 
ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้าน
๑. การกร่อนเสียง 
๒. การกลมกลืนเสียง 
๓. การเปลี่ยนแปลงด้านเสียงสระ 
๔. การเปลี่ยนแปลงด้านเสียงวรรณยุกต์ 
๒. ความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม 
สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปมี 
อิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงในภาษาหลาย 
ด้าน ดังนี้ 
๑. การเปลี่ยนแปลงด้านคำา 
๒. การเปลี่ยนแปลงด้านประโยค 
๓. การเปลี่ยนแปลงด้านสำานวน
๓. อิทธิพลของภาษาอื่น 
การติดต่อกับชนชาติอื่น ทำาให้คน 
ไทยยืมภาษาอื่นมาใช้ ในการยืมคำาภาษา 
อื่นมาใช้ เราจะดัดแปลงให้เข้ากับลกัษณะ 
ภาษาไทย เช่น คำายืมจากภาษาบาลี 
ภาษาสนัสกฤต ซึ่งมีหลายพยางค์ เราจะ 
ดัดแปลงให้พยางค์น้อยลงโดยใช้ 
เครื่องหมายทัณฑฆาตกำากับอักษรที่ไม่ 
ต้องการออกเสยีง เชน่ กาญจน์ โพธิ์ 
กษัตริย์ หรือทำาให้พยางค์สดุท้ายออกเสยีง 
เปน็พยัญชนะสะกด เช่น พละ เปน็ พล 
คชะ เปน็ คช ในกรณีที่ดัดแปลงหรือนำา
๔. การเรียนภาษาของเด็ก 
เมื่อเด็กเริ่มเรียนภาษา อวัยวะในการ 
ออกเสยีงและสมองยังไม่เจริญเติบโตเต็มที่ 
จึงมีคำาที่เด็กจะออกเสยีงได้งา่ยๆ เปน็ภาษา 
ของเด็ก เช่น อั้ม หมำ่า แทนคำาว่า กิน 
และมีการผูกประโยคของเด็กที่ต่างจาก 
ผใู้หญ่ เช่น หนูเปล่าทำา แทนที่จะใชค้ำาว่า 
เปล่า หนูไมไ่ด้ทำา เมื่อเด็กโตขึ้น เด็กจะ 
แก้ไขให้ถูกต้องได้ แต่ในบางกรณีเมื่อเด็ก 
ไม่แก้ไข แล้วผู้ใหญ่ใช้ตามก็อาจจะเกิดการ 
เปลี่ยนแปลงในภาษาได้ เช่น โครงสร้าง 
ประโยค หนูเปล่าทำา นี้ มีผู้ใช้กันอยมู่าก
๔. ภาษาต่างๆ มีลักษณะที่เหมือนกัน 
และต่างกัน 
ภาษาต่างๆ ในโลกนี้ย่อม 
คล้ายคลึงกันในบาง 
ลักษณะ และแตกต่างกันในบางลักษณะ 
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการกำาหนดกฎเกณฑ์ของ 
ภาษานั้นๆ
ภาษาเป็นสัญลักษณ์ที่มนุษย์ใช้สื่อสาร 
เพอื่ให้เกิดความเข้าใจซงึ่กันและกัน 
นอกจากนี้ภาษายังมีส่วนสำาคัญต่อการคิด 
และการกระทำาของมนุษย์ เนื่องจากภาษา 
เป็นเครื่องมือหรือสื่อที่ใช้ถ่ายทอดสารไปยัง 
ผู้รับให้เกิดความคดิ ความรู้สึก รวมทงั้ 
การกระทำาได้ ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่าพลัง 
ของภาษา หมายถึง ผลกระทบที่เกิดจาก 
ภาษาไปสู่ผรูั้บสาร สิ่งที่เกิดตามมาอาจเปน็ 
ความคดิ ความรู้สกึ และการกระทำา ซึ่ง
เมื่อพิจารณาพลังของภาษาทมีี่ต่อความคดิ 
แมจ้ะไม่เห็นเปน็รูปธรรมชดัเจน แต่พอ 
สังเกตได้จากความคิดหรือทัศนคติของ 
บุคคลเมื่อได้พูดออกมาว่าเขามีความคิด 
เช่นใด ประโยคและข้อความจำานวนมากมี 
ผลต่อความคดิ โดยอาจเปน็การชี้แนะ สงั่ 
สอน หรือเป็นข้อเตือนใจผู้อ่านหรือผู้ฟงั 
หลายคนอาจปรับเปลี่ยนวิธีคิดของตนตาม 
ไปด้วย เช่น 
“ผไู้ม่ถูกนินทา ไม่มีในโลก” 
“การปฏิบตัิงาน คอืการปฏิบัติธรรม” 
“ความกลัวเป็นสิ่งที่ใจของเราสร้าง
สรุป 
พลงัของภาษามีผลต่อความคดิ 
ความรู้สกึ และการกระทำาของมนุษย์ ผู้ใช้ 
ภาษาจึงต้องไตร่ตรองและใช้อย่าง 
สร้างสรรค์

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
Ppor Elf'ish
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑
panjit
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
itnogkamix
 

Mais procurados (19)

คำ
คำคำ
คำ
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
 
ระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
thai Research
thai  Researchthai  Research
thai Research
 
นุกูล
นุกูลนุกูล
นุกูล
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
 

Destaque (7)

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคลบทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
บทความการศึกษาเป็นรายบุคคล
 
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทยการใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
 
การพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆการพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆ
 
อินทร๑๑
อินทร๑๑อินทร๑๑
อินทร๑๑
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
 

Semelhante a ธรรมชาติของภาษา

คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
พัน พัน
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
nootsaree
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
monnawan
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
Hansa Srikrachang
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
Hansa Srikrachang
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
phornphan1111
 

Semelhante a ธรรมชาติของภาษา (20)

Tha203 2
Tha203 2Tha203 2
Tha203 2
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืมใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
สิ่งพิมพ์แผ่นพับ2
สิ่งพิมพ์แผ่นพับ2สิ่งพิมพ์แผ่นพับ2
สิ่งพิมพ์แผ่นพับ2
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 
9789740329787
97897403297879789740329787
9789740329787
 
9789740333609
97897403336099789740333609
9789740333609
 
1276933222 morpheme
1276933222 morpheme1276933222 morpheme
1276933222 morpheme
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 

Mais de ณรงค์ศักดิ์ กาหลง

Mais de ณรงค์ศักดิ์ กาหลง (20)

คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
 
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
 
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
 
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทยการใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
 
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลงหน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
 
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการหน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
 
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบายหน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
 
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่านหน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
 
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปรายหน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
 
หน่วยที่ 3 การฟังและการดู
หน่วยที่ 3 การฟังและการดูหน่วยที่ 3 การฟังและการดู
หน่วยที่ 3 การฟังและการดู
 
หน่วยที่ 2 ใช้คำ
หน่วยที่ 2 ใช้คำหน่วยที่ 2 ใช้คำ
หน่วยที่ 2 ใช้คำ
 
IS1_สมุนไพรลูกประคบ
IS1_สมุนไพรลูกประคบIS1_สมุนไพรลูกประคบ
IS1_สมุนไพรลูกประคบ
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดก
 

ธรรมชาติของภาษา

  • 1.
  • 2. นางสาวขวัญกมล ทองกลาง เลขที่ ๒๑ นางสาวมกุดา ตัน สกุล เลขที่ ๓๑ นางสาวยลดา ศรีบุญเรือง เลขที่ ๓๓
  • 3. นางสาวศิริวิรุณ จงเทพ เลขที่ ๓๕ นางสาวอัจฉรา แก้วคำา เลขที่ ๔๐ นางสาวอารีรัตน์ สิงหามแห เลขที่ ๔๒
  • 4.
  • 5. คำาว่า “ภาษา” เปน็ศัพท์ภาษา สันสกฤตมาจากรากศัพท์ว่า “ภาษฺ” มีความ หมายว่า “พูด กล่าว หรือบอก” ภาษาจึงมีความหมายตามรูป ศัพท์ว่า การพูด การกล่าว หรือการบอก เมื่อพจิารณาความหมายของคำาว่า ภาษา สามารถแบ่งได้เป็นความหมายอย่างกว้าง และความหมายอย่างแคบ ดังนี้
  • 6. ๑. ความหมายอย่างกว้าง ภาษา หมาย ถึง การแสดงออกเพื่อการสื่อความหมาย โดยมีกฎเกณฑ์ที่รับรู้ร่วมกันระหว่างผู้ส่งสาร กับผู้รับสาร ซึ่งอาจเป็นการสื่อสารระหว่าง มนุษย์กับมนุษย์ มนุษย์กับสตัว์ หรือมนุษย์ กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสก์็ได้ เช่น นักเรียนทำาแบบฝึกหัดผ่านทางโปรแกรม คอมพิวเตอร์มัลติมีเดียที่สามารถโต้ตอบกับ นักเรียนได้ เปน็ต้น การใช้ถ้อยคำาหรือวัจ นภาษา หรือการใช้ท่าทาง หรืออวัจนภาษา รวมถึงการใช้สญัลักษณ์ ต่างๆ เช่น ภาพ เสยีง เพอื่สื่อความหมาย
  • 7. b. ความหมายอย่างแคบ ภาษา หมายถึง ถ้อยคำาทมี่นุษย์ใช้สื่อความหมาย ภาษา ตามนัยนี้จึงจำากัดลงมาเฉพาะวัจนภาษา อันเปน็ภาษาที่ใชเ้ฉพาะมนุษย์กับมนุษย์ และใช้สอื่ที่สำาคัญคอื “เสียงพูด” ในการสื่อสารระหว่างกันเท่านั้น มไิด้ หมายรวมถึง “ตัวอักษร” หรือภาษา เขียน เนื่องจากมนุษย์ทุกกลุ่มจะสร้าง ภาษาพดูขึ้นใช้ในกลุ่มของตนเองก่อน แต่การสร้างภาษาเขียนนั้นมีเฉพาะบาง ภาษาเท่านั้น ภาษาเป็นหัวใจของการสื่อสาร และมี
  • 8. ได้รับการพัฒนามากขึ้นเพียงใด ภาษาก็จะยงิ่มคีวามซับซอ้นมากมากขนึ้ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะมีภาษาอยู่เป็น จำานวนมาก ทุกภาษาย่อมมลีักษณะร่วม อันเปน็ธรรมชาติของภาษา ๔ ประการ ดังนี้ ๑. ภาษาใช้สื่อความหมาย ๒. ภาษาประกอบจากหน่วยในภาษาที่ ประกอบกันเป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้น ๓. ภาษามีการเปลี่ยนแปลง ๔. ภาษาต่างๆ มีลักษณะที่เหมือนกัน และต่างกัน
  • 9. ๑. ภาษาใช้เสียงสื่อความหมาย เสยีงเปน็สอื่ที่สำาคญัที่สุด ที่ทำาให้ มนุษย์สามารถสอื่สารกันได้ ความเขา้ใจใน ที่นี้เกิดจากการรับรู้ความหมายที่ตรงกัน ระหว่างผู้สอื่สารกับผรูั้บสาร แต่สิ่งที่ควร พิจารณาคือ การกำาหนดว่าเสยีงใดจะมีความ หมายใดนั้น ส่วนใหญ่เกิดจากการสมมุติ หรือกำาหนดขึ้นเองภายในกลุ่มชนที่ใช้ภาษา นั้นนับแต่แรกใช้ภาษา ด้วยเหตุนี้ เราจึงยัง ไม่สามารถหาเหตุผลได้ว่าเหตุใดจึงเรียกสิ่ง นั้นว่าสงิ่นั้น เช่น เหตุใดเราจึงเรียก สารประกอบระหว่างธาตุไฮโดรเจนและ
  • 10. เมื่อพจิารณาถ้อยคำาเฉพาะในภาษาไทย อาจพบว่ามีคำาส่วนหนึ่งที่เสียงสัมพันธ์กับ ความหมาย ได้แก่ คำาที่เลียนเสยีง ธรรมชาติ เช่น ครืน! โครม! เพล้ง! เปรี้ยง! กริ๊ก! และคำาที่เปน็ชื่อสตัว์ เช่น กา แมว ตุ๊กแก เปน็ต้น และคำาที่มีเสยีง สระหรือพยัญชนะที่ใกล้เคียงกันแล้วมีความ หมายคล้ายกัน ได้แก่ คำาที่แสดงความ หมายเกี่ยวกับสภาพที่ไม่ตรง เช่น เก เข เฉ เซ เย้ เป้ เห หรือคำาที่แสดงความ หมายเกี่ยวกับสภาพที่แบนหรือแผ่ออกไป
  • 11. ๒. ภาษาประกอบจากหน่วยในภาษาที่ ประกอบกันเป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้น หน่วยในภาษา หมายถึง เสียงที่มี นัยสำาคัญและทำาให้เกิดความหมายที่ต่างกัน นักภาษาศาสตร์จะศึกษาหน่วยเสียงใน ภาษาจากการวิเคราะห์ “คเู่ทยีบเสียง” คอื การเปรียบเทียบคำาสองคำาที่มีองค์ประกอบ เหมือนกันทุกอย่าง ยกเว้นหน่วยเสยีงที่ ต้องการวิเคราะห์ เช่น เปรียบเทียบคำาว่า “rat” และ “cat” แสดงว่าหน่วยเสียง /r/ และ /c/ มีนัยสำาคญัที่ทำาให้เกิดความหมาย ที่ต่างกัน หน่วยเสยีงทั้งสองจึงมีคณุสมบตัิ
  • 12. ทุกภาษาจะประกอบด้วยหน่วยเสียงที่มี ขนาดเล็กที่สดุ คือ หน่วยเสียงพยัญชนะ และหน่วยเสยีงสระ เช่น ภาษาไทยมี หน่วยเสยีงพยัญชนะ ๒๑ หน่วยเสียง และหน่วยเสยีงสระ ๒๑ หน่วยเสยีง เป็นต้น ภาษาเขมรมหีน่วยเสียงพยัญชนะ ๑๘ หน่วยเสยีงและหน่วยเสยีงสระ ๓๒ หน่วยเสยีง เปน็ต้น หน่วยเสียงเหล่านี้ สามารถนำามาประกอบกันเป็นหน่วยคำาวลี ประโยค และข้อความขนาดยาวไม่รู้จบ จึงเปน็ที่น่าสังเกตว่า แม้ภาษาจะ ประกอบด้วยหน่วยเสียงซึ่งมีจำานวน
  • 13. ๓. ภาษามีการเปลี่ยนแปลง ภาษาทุกภาษาย่อมมีการ เปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงของภาษา นั้นเกิดจากการใชภ้าษาของมนุษย์นั่นเอง บางครั้งอาจเปลี่ยนเสยีง เปลี่ยนความ หมาย หรือเปลี่ยนคำาทใี่ช้ร่วมไปบา้ง หรือ อาจสูญไปจากภาษาเลยก็มี สาเหตุทที่ำาให้ ภาษาไทยมีการเปลี่ยนแปลงพอสันนิษฐาน ได้ดังนี้ ๑. การออกเสียงพูดจากันในชีวิต ประจำาวัน ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้าน
  • 14. ๑. การกร่อนเสียง ๒. การกลมกลืนเสียง ๓. การเปลี่ยนแปลงด้านเสียงสระ ๔. การเปลี่ยนแปลงด้านเสียงวรรณยุกต์ ๒. ความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปมี อิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงในภาษาหลาย ด้าน ดังนี้ ๑. การเปลี่ยนแปลงด้านคำา ๒. การเปลี่ยนแปลงด้านประโยค ๓. การเปลี่ยนแปลงด้านสำานวน
  • 15. ๓. อิทธิพลของภาษาอื่น การติดต่อกับชนชาติอื่น ทำาให้คน ไทยยืมภาษาอื่นมาใช้ ในการยืมคำาภาษา อื่นมาใช้ เราจะดัดแปลงให้เข้ากับลกัษณะ ภาษาไทย เช่น คำายืมจากภาษาบาลี ภาษาสนัสกฤต ซึ่งมีหลายพยางค์ เราจะ ดัดแปลงให้พยางค์น้อยลงโดยใช้ เครื่องหมายทัณฑฆาตกำากับอักษรที่ไม่ ต้องการออกเสยีง เชน่ กาญจน์ โพธิ์ กษัตริย์ หรือทำาให้พยางค์สดุท้ายออกเสยีง เปน็พยัญชนะสะกด เช่น พละ เปน็ พล คชะ เปน็ คช ในกรณีที่ดัดแปลงหรือนำา
  • 16. ๔. การเรียนภาษาของเด็ก เมื่อเด็กเริ่มเรียนภาษา อวัยวะในการ ออกเสยีงและสมองยังไม่เจริญเติบโตเต็มที่ จึงมีคำาที่เด็กจะออกเสยีงได้งา่ยๆ เปน็ภาษา ของเด็ก เช่น อั้ม หมำ่า แทนคำาว่า กิน และมีการผูกประโยคของเด็กที่ต่างจาก ผใู้หญ่ เช่น หนูเปล่าทำา แทนที่จะใชค้ำาว่า เปล่า หนูไมไ่ด้ทำา เมื่อเด็กโตขึ้น เด็กจะ แก้ไขให้ถูกต้องได้ แต่ในบางกรณีเมื่อเด็ก ไม่แก้ไข แล้วผู้ใหญ่ใช้ตามก็อาจจะเกิดการ เปลี่ยนแปลงในภาษาได้ เช่น โครงสร้าง ประโยค หนูเปล่าทำา นี้ มีผู้ใช้กันอยมู่าก
  • 17. ๔. ภาษาต่างๆ มีลักษณะที่เหมือนกัน และต่างกัน ภาษาต่างๆ ในโลกนี้ย่อม คล้ายคลึงกันในบาง ลักษณะ และแตกต่างกันในบางลักษณะ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการกำาหนดกฎเกณฑ์ของ ภาษานั้นๆ
  • 18. ภาษาเป็นสัญลักษณ์ที่มนุษย์ใช้สื่อสาร เพอื่ให้เกิดความเข้าใจซงึ่กันและกัน นอกจากนี้ภาษายังมีส่วนสำาคัญต่อการคิด และการกระทำาของมนุษย์ เนื่องจากภาษา เป็นเครื่องมือหรือสื่อที่ใช้ถ่ายทอดสารไปยัง ผู้รับให้เกิดความคดิ ความรู้สึก รวมทงั้ การกระทำาได้ ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่าพลัง ของภาษา หมายถึง ผลกระทบที่เกิดจาก ภาษาไปสู่ผรูั้บสาร สิ่งที่เกิดตามมาอาจเปน็ ความคดิ ความรู้สกึ และการกระทำา ซึ่ง
  • 19. เมื่อพิจารณาพลังของภาษาทมีี่ต่อความคดิ แมจ้ะไม่เห็นเปน็รูปธรรมชดัเจน แต่พอ สังเกตได้จากความคิดหรือทัศนคติของ บุคคลเมื่อได้พูดออกมาว่าเขามีความคิด เช่นใด ประโยคและข้อความจำานวนมากมี ผลต่อความคดิ โดยอาจเปน็การชี้แนะ สงั่ สอน หรือเป็นข้อเตือนใจผู้อ่านหรือผู้ฟงั หลายคนอาจปรับเปลี่ยนวิธีคิดของตนตาม ไปด้วย เช่น “ผไู้ม่ถูกนินทา ไม่มีในโลก” “การปฏิบตัิงาน คอืการปฏิบัติธรรม” “ความกลัวเป็นสิ่งที่ใจของเราสร้าง
  • 20. สรุป พลงัของภาษามีผลต่อความคดิ ความรู้สกึ และการกระทำาของมนุษย์ ผู้ใช้ ภาษาจึงต้องไตร่ตรองและใช้อย่าง สร้างสรรค์