SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
บทที่ 1
                                                        บทนา
                                                                                                อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์


วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม                 เพื่อให้นักศึกษาสามารถ
         1.   เข้าใจในความหมายของสารสนเทศและความรู้ซึ่งมีความสัมพันธ์กับระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
         2.   อธิบายความหมาย ความสาคัญ และขอบเขตของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศได้
         3.   เข้าใจในพัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ


         บทนี้เป็นการเกริ่นนาเพื่อปูความรู้พื้นฐานให้ผู้เรียนเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศในประเด็น
ความหมาย       ความสาคัญ ขอบเขต และพัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ                   แต่ก่อนอื่นมาทาความเข้าใจ
ความหมายของคาว่า “สารสนเทศ ( Information)” และ “ความรู้ (Knowledge)” ก่อน

         สารสนเทศ ( Information) คือ ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ประสบการณ์ จินตนาการที่ผ่านกระบวนการคัดเลือก รวบรวม
วิเคราะห์ เรียบเรียง บันทึก และเผยแพร่ลงในสื่อประเภทต่าง ๆ ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อนาไปใช้
ให้เกิดประโยชน์ต่อไป

        จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (2553) ได้ประเด็นรายละเอียดเกี่ยวกับ “สารสนเทศ” น่าสนใจ ดังนี้ คือ สิ่งที่ได้จากการ
นาข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้มาประมวลผล เพื่อนามาใช้ประโยชน์ตามจุดประสงค์            สารสนเทศ จึงหมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการเลือกสรร
ให้เหมาะสมกับการใช้งานให้ทันเวลา และอยู่ในรูปที่ใช้ได้ รวมถึง สารสนเทศที่ดีต้องมาจากข้อมูลที่ดี ด้วย

         สารสนเทศ ( Information) หมายถึง สิ่งที่ได้จากการประมวลผลข้อมูลและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการวางแผน การ
ตัดสินใจ และการคาดการณ์ในอนาคตได้ สารสนเทศอาจแสดงในรูปของข้อความ ตาราง แผนภูมิ หรือรูปภาพ

         ความรู้ (Knowledge) คือ สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิง
ปฏิบัติและทักษะ; ความเข้าใจหรือสารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ ; สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติ ;
องค์วิชาในแต่ละสาขา เช่น ความรู้เรื่องเมืองไทย ความรู้เรื่องสุขภาพ (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542, 2553)

         จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (2553) ได้มีนักวิชาการหลายท่านให้คาจากัดความ “ความรู้” ไว้ดังนี้

        ประภาเพ็ญ สุวรรณ (อ้างถึงในอักษร สวัสดี , 2542: 26) ได้ให้คาอธิบายว่า “ความรู้” เป็นพฤติกรรมขั้นต้นที่ผู้เรียนรู้เพียงแต่
เกิดความจาได้ โดยอาจจะเป็นการนึกได้หรือโดยการมองเห็น ได้ยิน จาได้ ความรู้ในชั้นนี้ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับคาจากัดความ
ความหมาย ข้อเท็จจริง กฎเกณฑ์ โครงสร้างและวิธีแก้ไขปัญหา ส่วนความเข้าใจอาจแสดงออกมาในรูปของทักษะด้าน “การแปล” ซึ่ง
หมายถึง ความสามารถในการเขียนบรรยายเกี่ยวกับข่าวสารนั้น ๆ โดยใช้คาพูดของตนเอง และ “การให้ความหมาย” ที่แสดงออกมาใน
รูปของความคิดเห็นและข้อสรุป รวมถึงความสามารถในการ “คาดคะเน” หรือการคาดหมายว่าจะเกิดอะไรขึ้น
2



        ความรู้คือ สิ่งที่มนุษย์สร้าง ผลิต ความคิด ความเชื่อ ความจริง ความหมาย โดยใช้ ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ตรรกะ แสดงผ่าน
ภาษา เครื่องหมาย และสื่อต่าง ๆ โดยมีเป้าหมายและวัตถุประสงค์เป็นไปตามผู้สร้าง ผู้ผลิตจะให้ความหมาย

              เบนจามิน บลูม (Benjamin S. Bloom อ้างถึงในอักษร สวัสดี , 2542: 26-28) ได้ให้ความหมายของ “ความรู้” ว่าหมายถึง
เรื่องที่เกี่ยวกับการระลึกถึงสิ่งเฉพาะ วิธีการและกระบวนการต่าง ๆ รวมถึงแบบกระสวนของโครงการวัตถุประสงค์ในด้านความรู้ โดย
เน้นในเรื่องของกระบวนการทางจิตวิทยาของความจา อันเป็นกระบวนการที่เชื่อมโยงเกี่ยวกับการจัดระเบียบ โดยก่อนหน้านั้นในปี ค.ศ.
1965 บลูมและคณะ ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการรับรู้หรือพุทธิพิสัย ( cognitive domain) ของคนว่าประกอบด้วยความรู้ตามระดับต่าง ๆ
รวม 6 ระดับ ซึ่งอาจพิจารณาจากระดับความรู้ในขั้นต่าไปสู่ระดับของความรู้ในระดับที่สูงขึ้นไป โดยบลูมและคณะ ได้แจกแจง
รายละเอียดของแต่ละระดับไว้ดังนี้

       1. ความรู้ (Knowledge) หมายถึง การเรียนรู้ที่เน้นถึงการจาและการระลึกได้ถึงความคิด วัตถุ และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ซึ่งเป็น
ความจาที่เริ่มจากสิ่งง่าย ๆ ที่เป็นอิสระแก่กัน ไปจนถึงความจาในสิ่งที่ยุ่งยากซับซ้อนและมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน

         2. ความเข้าใจหรือความคิดรวบยอด (Comprehension) เป็นความสามารถทางสติปัญญาในการขยายความรู้ ความจา ให้
กว้างออกไปจากเดิมอย่างสมเหตุสมผล การแสดงพฤติกรรมเมื่อเผชิญกับสื่อความหมาย และความสามารถในการแปลความหมาย การ
สรุปหรือการขยายความสิ่งใดสิ่งหนึ่ง

       3. การนาไปปรับใช้ (Application) เป็นความสามารถในการนาความรู้ (knowledge) ความเข้าใจหรือความคิดรวบยอด
(comprehension) ในเรื่องใด ๆ ที่มีอยู่เดิม ไปแก้ไขปัญหาที่แปลกใหม่ของเรื่องนั้น โดยการใช้ความรู้ต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งวิธีการ
กับความคิดรวบยอดมาผสมผสานกับความสามารถในการแปลความหมาย การสรุปหรือการขยายความสิ่งนั้น

        4. การวิเคราะห์ (Analysis) เป็นความสามารถและทักษะที่สูงกว่าความเข้าใจ และการนาไปปรับใช้ โดยมีลักษณะเป็นการ
แยกแยะสิ่งที่จะพิจารณาออกเป็นส่วนย่อย ที่มีความสัมพันธ์กัน รวมทั้งการสืบค้นความสัมพันธ์ของส่วนต่าง ๆ เพื่อดูว่าส่วนประกอบ
ปลีกย่อยนั้นสามารถเข้ากันได้หรือไม่ อันจะช่วยให้เกิดความเข้าใจต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดอย่างแท้จริง

           5. การสังเคราะห์ (Synthesis) เป็นความสามารถในการรวบรวมส่วนประกอบย่อย ๆ หรือส่วนใหญ่ ๆ เข้าด้วยกันเพื่อให้เป็น
เรื่องราวอันหนึ่งอันเดียวกัน การสังเคราะห์จะมีลักษณะของการเป็นกระบวนการรวบรวมเนื้อหาสาระของเรื่องต่าง ๆ เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อ
สร้างรูปแบบหรือโครงสร้างที่ยังไม่ชัดเจนขึ้นมาก่อน อันเป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยความคิดสร้างสรรค์ภายในขอบเขตของสิ่งที่
กาหนดให้

           6. การประเมินผล (Evaluation) เป็นความสามารถในการตัดสินเกี่ยวกับความคิด ค่านิยม ผลงาน คาตอบ วิธีการและเนื้อหา
สาระเพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง โดยมีการกาหนดเกณฑ์ ( criteria) เป็นฐานในการพิจารณาตัดสิน การประเมินผล จัดได้ว่าเป็นขั้นตอน
ที่สูงสุดของพุทธิลักษณะ (characteristics of cognitive domain) ที่ต้องใช้ความรู้ความเข้าใจ การนาไปปรับใช้ การวิเคราะห์และการ
สังเคราะห์เข้ามาพิจารณาประกอบกันเพื่อทาการประเมินผลสิ่งหนึ่งสิ่งใด


ความหมาย “การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ”
การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศมาจากศัพท์ภาษาอังกฤษว่า                   Information Storage and Retrieval (ISAR หรือ ISR)

จากประมวลสาระชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ หน่วยที่ 1 เรื่องความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการจัดเก็บและการค้นคืน
3



สารสนเทศที่เขียนโดยมาลี ล้าสกุล (2545: 1: 7-8) ได้นาเสนอคาจากัดความ “การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ” ของนักวิชาการต่างๆ
ไว้ดังนี้

            Taube และ Lancaster และ Becker (2002 อ้างถึงใน มาลี ล้าสกุล , 2545: 1: 7) กล่าวว่า การจัดเก็บสารสนเทศหมายถึง
การจัดโครงสร้างและควบคุมทางบรรณานุกรมโดยใช้คอมพิวเตอร์ ด้วยวิธีการทารายการและข้อมูลบรรณานุกรมในลักษณะเก็บข้อมูล
เข้าแฟ้มข้อมูล จัดเตรียมแฟ้ม รวมถึงการจัดทาสื่อจัดเก็บข้อมูลลักษณะต่าง ๆ และฐานข้อมูลเพื่อการค้นคืนสารสนเทศ การจัดเก็บ
หมายรวมถึงการจัดหา/ได้รับสารสนเทศ หรือสามารถระบุสารสนเทศที่อยู่ในแหล่งจัดเก็บ โดยใช้ป้ายระบุข้อมูล หรือชื่อเขตข้อมูล หรือ
แท็ก (Tag) คาแทนสาระเพื่อการค้นคืนสารสนเทศ เพื่อสามารถระบุได้ว่ามีทรัพยากรสารสนเทศอะไร และจัดเก็บไว้ที่ไหน ส่วนการค้น
คืนในระบบค้นคืนสารสนเทศ เป็นทั้งการดึง หรือค้นเอกสารย้อนหลังที่จัดเก็บไว้ตามหัวข้อที่ต้องการ ( retrospective searching) และ
เอกสารใหม่ที่เข้ามาทุกครั้ง โดยมีใช้วิธีการค้นหา (searching) และการสารวจเลือกดู (browsing)

สรุป             การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ เป็นกระบวนการทั้งการคัดเลือก ควบคุมโครงสร้างสารสนเทศ การจัดหา การจัดเก็บ
สารสนเทศเพื่อการเข้าถึง และกระบวนการสาคัญใด ๆ ในการแสวงหาทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมการค้นหา การดึงสารสนเทศ
ที่เข้าเรื่อง เรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งแหล่งจัดเก็บภายใน และแหล่งภายนอก เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศ หรือ
รายการทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งบรรจุเนื้อหาตรงตามต้องการ และในการบริการจะนาส่งให้ผู้ใช้อย่างรวดเร็วทันการณ์ ทั้งนี้การจัดเก็บ
และค้นคืนสารสนเทศเป็นระบบที่จัดทาทั้งด้วยแรงงานคน และด้วยคอมพิวเตอร์

            นอกจากนั้น Reitz (2004-2010) ให้ความหมายของ       information storage and retrieval (ISAR)        ไว้ว่า

            “Operations performed by the hardware and software used in indexing and storing a file of machine-
            readable records whenever a user queries the system for information relevant to a specific topic. For
            records to be retrieved, the search statement must be expressed in syntax executable by the
            computer.”

            Daintith   (2004) ให้ความหมายของ   information storage and retrieval (ISR)        ไว้ว่า

            “The linked activities of storing and retrieving information, and the strategies and techniques for doing
            so. The activities are linked because the means of retrieving information are dependent on the means
            by which it was stored. The storage strategy must be designed for the most efficient retrieval,
            consistent with the characteristics of the information and the time and cost that can be tolerated.”



ความสาคัญของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
มาลี              ล้าสกุล (2545: 1: 14-15) ได้อธิบายความสาคัญของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศที่มีต่อหน่วยงานบริการ
สารสนเทศ และผู้ใช้ พอสรุปได้ดังนี้

            1.    ต่อหน่วยงานบริการสารสนเทศ การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศมีความสาคัญต่อหน่วยงานบริการสารสนเทศ ดังนี้

                 1.1 เป็นตัวกลางเชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิตสารสนเทศและแหล่งสารสนเทศกับผู้ต้องการใช้สารสนเทศ
4



              1.2 ทาให้การถ่ายโอนและไหลเวียนของสารสนเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

              1.3 เป็นงานหลักที่เชื่อมโยงกับงานบริการและเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้สารสนเทศให้เกิด

ประสิทธิภาพสูงสุด

              1.4 ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ถูกต้อง โดยสามารถค้นคืนสารสนเทศได้ตรงกับความต้องการและได้รับสารสนเทศทัน

ต่อเวลา ซึ่งเป็นไปตามนโยบายและวัตถุประสงค์ของหน่วยงานบริการสารสนเทศ

         2.   ต่อผู้ใช้

              2.1 เปิดโอกาสให้ผู้ใช้เข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภททั้งภายในหน่วยงานบริการสารสนเทศและแหล่งทรัพยากร

ทั่วโลกอย่างเสรี ภายใต้ข้อกาหนดของกฎหมายในเรื่องสิทธิของการใช้สารสนเทศ

              2.2 ให้ความสาคัญแก่ผู้ใช้กลุ่มต่าง ๆ โดยจัดทาเอกสารแนะนาการใช้ฐานข้อมูลต่าง ๆ จัดเครื่องมืออานวยความ

สะดวก เครื่องมือการค้นคืนที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้ใช้ค้นคืนสารสนเทศได้ด้วยตนเอง หรือผ่านบรรณารักษ์ตอบคาถาม

              2.3 มีการพัฒนารูปแบบการดาเนินงานจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ เพื่อให้เกิดความรวดเร็วทั้งวิธีการจัดหา จัดเก็บ

และการค้นคืนสารสนเทศ เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับประโยชน์สูงสุด

              2.4 ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ถูกต้องและตรงกับความต้องการเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ตามที่ต้องการและความสนใจ

              2.5 สนับสนุนผู้ใช้ให้สามารถประเมิน แยกแยะ ทาความเข้าใจ เชื่อมโยงความคิดของสารสนเทศ เพื่อการเลือกสรร

ศึกษา แสวงหา และติดตามสารสนเทศได้ด้วยตนเองเป็นผู้เรียนแบบพึ่งตนเองตลอดไป


ขอบเขตของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
มาลี           ล้าสกุล (2545: 1: 16-18) กล่าวว่า การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศมีขอบเขตการศึกษาเกี่ยวกับ

         1.   ทฤษฎีพื้นฐานและการประเมินระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ เป็นเรื่องเกี่ยวกับองค์ประกอบของการ

จัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ตัวแบบพื้นฐานในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ระบบค้นคืนสารสนเทศ (องค์ประกอบ หน้าที่ และ
ระบบย่อย) ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศและแนวคิดพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ                รวมถึงการประเมินระบบจัดเก็บและค้นคืน
สารสนเทศ (แนวคิด ขั้นตอน)

         2.   เทคโนโลยีและมาตรฐานในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ               เป็นเรื่องเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดเก็บและ
5



ค้นคืนสารสนเทศ (คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร) โดยจาแนกเป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึก จัดเก็บ และ
แสดงผล เทคโนโลยีในการค้นคืนสารสนเทศเกี่ยวข้องกับดรรชนีคาค้น เทคนิคการค้นคืน และการเลือกฐานข้อมูล เครือข่ายอินเทอร์ -
เน็ตและการค้นคืนสารสนเทศ การประยุกต์เทคโนโลยีไฮเปอร์มีเดียในการค้นคืนสารสนเทศ

        มาตรฐานสาคัญในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศซึ่งได้แก่        มาตรฐานการลงรหัสอักขระ        มาตรฐานสาหรับการ
พรรณนาสารสนเทศ และมาตรฐานในการค้นคืนสารสนเทศจากฐานข้อมูลต่างระบบ

        3.   การวิเคราะห์และตัวแทนสารสนเทศ เป็นเรื่องเกี่ยวกับการวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อกาหนดตัวแทนสาระ และจัดทา

โครงสร้างระบบจัดเก็บสารสนเทศเพื่อการค้นคืน เกี่ยวข้องกับแนวคิดการเปรียบเทียบระบบการจัดหมวดหมู่สารสนเทศที่สาคัญ และ
แนวคิดการทารายการสารสนเทศประเภทต่าง ๆ อาทิ ข้อความ มัลติมีเดีย สื่ออิเล็กทรอนิกส์

        ดรรชนีและการควบคุมคาศัพท์ ดรรชนีที่ใช้ในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (คือการนาคาในบริบทมาเป็นศัพท์ดรรชนี
และดรรชนีที่สร้างโดยกาหนดคาขึ้นแทนสาระของเอกสาร) การควบคุมคาศัพท์ครอบคลุมการควบคุมในเชิงภาษา ไวยากรณ์ และ
จานวน ศัพท์ควบคุมมี 2 ประเภท คือ หัวเรื่องและอรรถาภิธาน               นอกจากนั้นยังหมายรวมถึงการจัดทาสาระสังเขปเพื่อใช้
ประโยชน์ในการจัดเก็บเพื่อการค้นคืนสารสนเทศ

        4.    ผู้ใช้ระบบค้นคืนสารสนเทศและพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ เป็นเรื่องเกี่ยวกับความเกี่ยวข้องของผู้ใช้กับ

ระบบสารสนเทศ การศึกษาผู้ใช้       การศึกษาความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ การศึกษาพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และ
การศึกษาวิจัยพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเพื่อนาผลมาใช้ในการออกแบบระบบค้นคืนสารสนเทศ

        5.   การค้นคืนสารสนเทศ         เป็นเรื่องเกี่ยวกับกระบวนการ / ขั้นตอนการค้นคืนสารสนเทศ    กลยุทธ์ในการค้นคืน-

สารสนเทศ เทคนิคการค้นคืน การใช้ศัพท์บังคับ ศัพท์ไม่ควบคุมหรือภาษาธรรมชาติ และคาสั่งต่าง ๆ          การค้นคืนสารสนเทศ
จากฐานข้อมูลออนไลน์ / ฐานข้อมูลซีดีรอม / อินเทอร์เน็ต


พัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
มาลี          ล้าสกุล (2545: 1: 19-28) กล่าวถึงพัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ พอสรุปได้ ดังนี้

   ระยะที่ 1 พัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ก่อนทศวรรษ 1960 แบ่งเป็น 1) การจัดเก็บและค้นคืน
สารสนเทศระยะแรกเริ่มซึ่งเป็นการพัฒนาระบบและเครื่องมือจัดเก็บสื่อบันทึกความรู้และการค้นหาทรัพยากรสารสนเทศในลักษณะ
สิ่งพิมพ์ อาทิ ระบบจัดหมวดหมู่ การทารายการสารสนเทศ ดรรชนี และสาระสังเขป และ 2) การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศในยุค
เทคโนโลยีระยะแรก ซึ่งเกิดจากความคิดในการแก้ปัญหาการจัดการและการใช้สารสนเทศที่มีปริมาณมากโดยพยายามใช้เทคโนโลยีใน
การจัดทาเครื่องมือค้นสารสนเทศ

   ระยะที่ 2 พัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 เป็นต้นไป เนื่องจากอิทธิพลของเทคโนโลยี
ความต้องการใช้สารสนเทศ และสารสนเทศที่เพิ่มจานวนมากมายหลายรูปแบบ ส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนระบบการจัดเก็บและค้น
6



คืนสารสนเทศ และเกิดกลุ่มความร่วมมือระหว่างหน่วยงานบริการสารสนเทศ รวมถึงบริการค้นคืนสารสนเทศเชิงพาณิชย์ และการ
จัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต

                    (โปรดดูรายละเอียดพัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศในภาคผนวกต่อไป)
7




ภาคผนวก: พัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (มาลี ลาสกุล (2545: 1: 20-28)
8
9
10
11
12
13
14
15
16




                                                   บรรณานุกรม

เดชา นันทพิชัย. 2546. การค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval). พิมพ์ครั้งที่ 2. นครศรีธรรมราช :

หลักสูตรการจัดการสารสนเทศ สานักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน [ออนไลน์]. 15 พฤษภาคม 2553. เข้าถึงจาก:

        http://rirs3.royin.go.th/word3/word-3-a0.asp

มาลี ล้าสกุล. 2545. “ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ.” ใน ประมวลสาระชุดวิชาการจัดเก็บและการ

ค้นคืนสารสนเทศ (           Information Storage and Retrieval), หน่วยที่ 1-4, หน้า 1-29.   นนทบุรี: สาขาวิชาศิลปศาสตร์

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. 2553. สารสนเทศ [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก: th.wikipedia.org/wiki/สารสนเทศ

------------. 2553. ความรู้ [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก: th.wikipedia.org/wiki/ความรู้

Daintith, John. 2004. A Dictionary of Computing. Encyclopedia.com. 21 May 2010

        <http://www.encyclopedia.com>

Reitz, Joan M. 2004-2010. ODLIS — Online Dictionary for Library and Information Science [Online]. Available:

        http://lu.com/odlis/odlis_i.cfm#information




                                          **********************

More Related Content

What's hot

เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดChuleekorn Rakchart
 
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2Ploykarn Lamdual
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดพัน พัน
 
Unit5.ppt (read only)
Unit5.ppt (read only)Unit5.ppt (read only)
Unit5.ppt (read only)sirinyabh
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptxTinnakritWarisson
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้krupornpana55
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑bensee
 
โครงงานpowerpoint
โครงงานpowerpointโครงงานpowerpoint
โครงงานpowerpointtapatss
 
4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสารNitinop Tongwassanasong
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลNawanan Theera-Ampornpunt
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง0804900158
 

What's hot (20)

I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
 
Power Point
Power PointPower Point
Power Point
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
 
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2
น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2
น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
 
Unit5.ppt (read only)
Unit5.ppt (read only)Unit5.ppt (read only)
Unit5.ppt (read only)
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
โครงงานpowerpoint
โครงงานpowerpointโครงงานpowerpoint
โครงงานpowerpoint
 
4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 

Viewers also liked

การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856Nisachon Siwongssa
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลsa
 
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesWannipa Boonruan
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศการค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศแซ่บ' เว่อร์
 
การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตพัน พัน
 
ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูล
ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูล
ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลเลดี้ มาม่า
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3Nataya Younyee
 
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์Yok Sarinee
 
สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์gingphaietc
 
การต่อเซลล์ไฟฟ้า
การต่อเซลล์ไฟฟ้าการต่อเซลล์ไฟฟ้า
การต่อเซลล์ไฟฟ้าPrasert Boon
 
การจัดเอกสาร
การจัดเอกสารการจัดเอกสาร
การจัดเอกสารkoratswpark
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศการค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศออ' เอ ฟอ
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 

Viewers also liked (20)

การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ2856
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศการค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
 
การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต
 
ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูล
ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูล
ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูล
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
 
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
 
Presentation r4i
Presentation r4i Presentation r4i
Presentation r4i
 
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
โครงงานCai เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
 
สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์
 
การต่อเซลล์ไฟฟ้า
การต่อเซลล์ไฟฟ้าการต่อเซลล์ไฟฟ้า
การต่อเซลล์ไฟฟ้า
 
National Research Award_2559
National Research Award_2559National Research Award_2559
National Research Award_2559
 
Research r4i
Research r4iResearch r4i
Research r4i
 
การจัดเอกสาร
การจัดเอกสารการจัดเอกสาร
การจัดเอกสาร
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศการค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 

Similar to บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)

บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์keatsunee.b
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศsupimon1956
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศsupimon1956
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องBenny BC
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศTay Chaloeykrai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1dechathon
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศPa'rig Prig
 
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning EnvironmentsCognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning EnvironmentsSuthakorn Chatsena
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
Video on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical ApplicationsVideo on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical ApplicationsRachabodin Suwannakanthi
 

Similar to บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ) (20)

บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
collection development
collection developmentcollection development
collection development
 
Collection Development
Collection DevelopmentCollection Development
Collection Development
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning EnvironmentsCognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
Video on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical ApplicationsVideo on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical Applications
 
201704 open ended-research
201704 open ended-research201704 open ended-research
201704 open ended-research
 
Information service and dissemination
Information service and disseminationInformation service and dissemination
Information service and dissemination
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 

More from Srion Janeprapapong

ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...Srion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)Srion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference ResourcesSrion Janeprapapong
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมSrion Janeprapapong
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesSrion Janeprapapong
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตSrion Janeprapapong
 

More from Srion Janeprapapong (20)

ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
 

บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)

  • 1. บทที่ 1 บทนา อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เพื่อให้นักศึกษาสามารถ 1. เข้าใจในความหมายของสารสนเทศและความรู้ซึ่งมีความสัมพันธ์กับระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ 2. อธิบายความหมาย ความสาคัญ และขอบเขตของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศได้ 3. เข้าใจในพัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ บทนี้เป็นการเกริ่นนาเพื่อปูความรู้พื้นฐานให้ผู้เรียนเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศในประเด็น ความหมาย ความสาคัญ ขอบเขต และพัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ แต่ก่อนอื่นมาทาความเข้าใจ ความหมายของคาว่า “สารสนเทศ ( Information)” และ “ความรู้ (Knowledge)” ก่อน สารสนเทศ ( Information) คือ ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ประสบการณ์ จินตนาการที่ผ่านกระบวนการคัดเลือก รวบรวม วิเคราะห์ เรียบเรียง บันทึก และเผยแพร่ลงในสื่อประเภทต่าง ๆ ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อนาไปใช้ ให้เกิดประโยชน์ต่อไป จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (2553) ได้ประเด็นรายละเอียดเกี่ยวกับ “สารสนเทศ” น่าสนใจ ดังนี้ คือ สิ่งที่ได้จากการ นาข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้มาประมวลผล เพื่อนามาใช้ประโยชน์ตามจุดประสงค์ สารสนเทศ จึงหมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการเลือกสรร ให้เหมาะสมกับการใช้งานให้ทันเวลา และอยู่ในรูปที่ใช้ได้ รวมถึง สารสนเทศที่ดีต้องมาจากข้อมูลที่ดี ด้วย สารสนเทศ ( Information) หมายถึง สิ่งที่ได้จากการประมวลผลข้อมูลและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการวางแผน การ ตัดสินใจ และการคาดการณ์ในอนาคตได้ สารสนเทศอาจแสดงในรูปของข้อความ ตาราง แผนภูมิ หรือรูปภาพ ความรู้ (Knowledge) คือ สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิง ปฏิบัติและทักษะ; ความเข้าใจหรือสารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ ; สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติ ; องค์วิชาในแต่ละสาขา เช่น ความรู้เรื่องเมืองไทย ความรู้เรื่องสุขภาพ (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542, 2553) จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (2553) ได้มีนักวิชาการหลายท่านให้คาจากัดความ “ความรู้” ไว้ดังนี้ ประภาเพ็ญ สุวรรณ (อ้างถึงในอักษร สวัสดี , 2542: 26) ได้ให้คาอธิบายว่า “ความรู้” เป็นพฤติกรรมขั้นต้นที่ผู้เรียนรู้เพียงแต่ เกิดความจาได้ โดยอาจจะเป็นการนึกได้หรือโดยการมองเห็น ได้ยิน จาได้ ความรู้ในชั้นนี้ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับคาจากัดความ ความหมาย ข้อเท็จจริง กฎเกณฑ์ โครงสร้างและวิธีแก้ไขปัญหา ส่วนความเข้าใจอาจแสดงออกมาในรูปของทักษะด้าน “การแปล” ซึ่ง หมายถึง ความสามารถในการเขียนบรรยายเกี่ยวกับข่าวสารนั้น ๆ โดยใช้คาพูดของตนเอง และ “การให้ความหมาย” ที่แสดงออกมาใน รูปของความคิดเห็นและข้อสรุป รวมถึงความสามารถในการ “คาดคะเน” หรือการคาดหมายว่าจะเกิดอะไรขึ้น
  • 2. 2 ความรู้คือ สิ่งที่มนุษย์สร้าง ผลิต ความคิด ความเชื่อ ความจริง ความหมาย โดยใช้ ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ตรรกะ แสดงผ่าน ภาษา เครื่องหมาย และสื่อต่าง ๆ โดยมีเป้าหมายและวัตถุประสงค์เป็นไปตามผู้สร้าง ผู้ผลิตจะให้ความหมาย เบนจามิน บลูม (Benjamin S. Bloom อ้างถึงในอักษร สวัสดี , 2542: 26-28) ได้ให้ความหมายของ “ความรู้” ว่าหมายถึง เรื่องที่เกี่ยวกับการระลึกถึงสิ่งเฉพาะ วิธีการและกระบวนการต่าง ๆ รวมถึงแบบกระสวนของโครงการวัตถุประสงค์ในด้านความรู้ โดย เน้นในเรื่องของกระบวนการทางจิตวิทยาของความจา อันเป็นกระบวนการที่เชื่อมโยงเกี่ยวกับการจัดระเบียบ โดยก่อนหน้านั้นในปี ค.ศ. 1965 บลูมและคณะ ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการรับรู้หรือพุทธิพิสัย ( cognitive domain) ของคนว่าประกอบด้วยความรู้ตามระดับต่าง ๆ รวม 6 ระดับ ซึ่งอาจพิจารณาจากระดับความรู้ในขั้นต่าไปสู่ระดับของความรู้ในระดับที่สูงขึ้นไป โดยบลูมและคณะ ได้แจกแจง รายละเอียดของแต่ละระดับไว้ดังนี้ 1. ความรู้ (Knowledge) หมายถึง การเรียนรู้ที่เน้นถึงการจาและการระลึกได้ถึงความคิด วัตถุ และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ซึ่งเป็น ความจาที่เริ่มจากสิ่งง่าย ๆ ที่เป็นอิสระแก่กัน ไปจนถึงความจาในสิ่งที่ยุ่งยากซับซ้อนและมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน 2. ความเข้าใจหรือความคิดรวบยอด (Comprehension) เป็นความสามารถทางสติปัญญาในการขยายความรู้ ความจา ให้ กว้างออกไปจากเดิมอย่างสมเหตุสมผล การแสดงพฤติกรรมเมื่อเผชิญกับสื่อความหมาย และความสามารถในการแปลความหมาย การ สรุปหรือการขยายความสิ่งใดสิ่งหนึ่ง 3. การนาไปปรับใช้ (Application) เป็นความสามารถในการนาความรู้ (knowledge) ความเข้าใจหรือความคิดรวบยอด (comprehension) ในเรื่องใด ๆ ที่มีอยู่เดิม ไปแก้ไขปัญหาที่แปลกใหม่ของเรื่องนั้น โดยการใช้ความรู้ต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งวิธีการ กับความคิดรวบยอดมาผสมผสานกับความสามารถในการแปลความหมาย การสรุปหรือการขยายความสิ่งนั้น 4. การวิเคราะห์ (Analysis) เป็นความสามารถและทักษะที่สูงกว่าความเข้าใจ และการนาไปปรับใช้ โดยมีลักษณะเป็นการ แยกแยะสิ่งที่จะพิจารณาออกเป็นส่วนย่อย ที่มีความสัมพันธ์กัน รวมทั้งการสืบค้นความสัมพันธ์ของส่วนต่าง ๆ เพื่อดูว่าส่วนประกอบ ปลีกย่อยนั้นสามารถเข้ากันได้หรือไม่ อันจะช่วยให้เกิดความเข้าใจต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดอย่างแท้จริง 5. การสังเคราะห์ (Synthesis) เป็นความสามารถในการรวบรวมส่วนประกอบย่อย ๆ หรือส่วนใหญ่ ๆ เข้าด้วยกันเพื่อให้เป็น เรื่องราวอันหนึ่งอันเดียวกัน การสังเคราะห์จะมีลักษณะของการเป็นกระบวนการรวบรวมเนื้อหาสาระของเรื่องต่าง ๆ เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อ สร้างรูปแบบหรือโครงสร้างที่ยังไม่ชัดเจนขึ้นมาก่อน อันเป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยความคิดสร้างสรรค์ภายในขอบเขตของสิ่งที่ กาหนดให้ 6. การประเมินผล (Evaluation) เป็นความสามารถในการตัดสินเกี่ยวกับความคิด ค่านิยม ผลงาน คาตอบ วิธีการและเนื้อหา สาระเพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง โดยมีการกาหนดเกณฑ์ ( criteria) เป็นฐานในการพิจารณาตัดสิน การประเมินผล จัดได้ว่าเป็นขั้นตอน ที่สูงสุดของพุทธิลักษณะ (characteristics of cognitive domain) ที่ต้องใช้ความรู้ความเข้าใจ การนาไปปรับใช้ การวิเคราะห์และการ สังเคราะห์เข้ามาพิจารณาประกอบกันเพื่อทาการประเมินผลสิ่งหนึ่งสิ่งใด ความหมาย “การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ” การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศมาจากศัพท์ภาษาอังกฤษว่า Information Storage and Retrieval (ISAR หรือ ISR) จากประมวลสาระชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ หน่วยที่ 1 เรื่องความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการจัดเก็บและการค้นคืน
  • 3. 3 สารสนเทศที่เขียนโดยมาลี ล้าสกุล (2545: 1: 7-8) ได้นาเสนอคาจากัดความ “การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ” ของนักวิชาการต่างๆ ไว้ดังนี้ Taube และ Lancaster และ Becker (2002 อ้างถึงใน มาลี ล้าสกุล , 2545: 1: 7) กล่าวว่า การจัดเก็บสารสนเทศหมายถึง การจัดโครงสร้างและควบคุมทางบรรณานุกรมโดยใช้คอมพิวเตอร์ ด้วยวิธีการทารายการและข้อมูลบรรณานุกรมในลักษณะเก็บข้อมูล เข้าแฟ้มข้อมูล จัดเตรียมแฟ้ม รวมถึงการจัดทาสื่อจัดเก็บข้อมูลลักษณะต่าง ๆ และฐานข้อมูลเพื่อการค้นคืนสารสนเทศ การจัดเก็บ หมายรวมถึงการจัดหา/ได้รับสารสนเทศ หรือสามารถระบุสารสนเทศที่อยู่ในแหล่งจัดเก็บ โดยใช้ป้ายระบุข้อมูล หรือชื่อเขตข้อมูล หรือ แท็ก (Tag) คาแทนสาระเพื่อการค้นคืนสารสนเทศ เพื่อสามารถระบุได้ว่ามีทรัพยากรสารสนเทศอะไร และจัดเก็บไว้ที่ไหน ส่วนการค้น คืนในระบบค้นคืนสารสนเทศ เป็นทั้งการดึง หรือค้นเอกสารย้อนหลังที่จัดเก็บไว้ตามหัวข้อที่ต้องการ ( retrospective searching) และ เอกสารใหม่ที่เข้ามาทุกครั้ง โดยมีใช้วิธีการค้นหา (searching) และการสารวจเลือกดู (browsing) สรุป การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ เป็นกระบวนการทั้งการคัดเลือก ควบคุมโครงสร้างสารสนเทศ การจัดหา การจัดเก็บ สารสนเทศเพื่อการเข้าถึง และกระบวนการสาคัญใด ๆ ในการแสวงหาทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมการค้นหา การดึงสารสนเทศ ที่เข้าเรื่อง เรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งแหล่งจัดเก็บภายใน และแหล่งภายนอก เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศ หรือ รายการทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งบรรจุเนื้อหาตรงตามต้องการ และในการบริการจะนาส่งให้ผู้ใช้อย่างรวดเร็วทันการณ์ ทั้งนี้การจัดเก็บ และค้นคืนสารสนเทศเป็นระบบที่จัดทาทั้งด้วยแรงงานคน และด้วยคอมพิวเตอร์ นอกจากนั้น Reitz (2004-2010) ให้ความหมายของ information storage and retrieval (ISAR) ไว้ว่า “Operations performed by the hardware and software used in indexing and storing a file of machine- readable records whenever a user queries the system for information relevant to a specific topic. For records to be retrieved, the search statement must be expressed in syntax executable by the computer.” Daintith (2004) ให้ความหมายของ information storage and retrieval (ISR) ไว้ว่า “The linked activities of storing and retrieving information, and the strategies and techniques for doing so. The activities are linked because the means of retrieving information are dependent on the means by which it was stored. The storage strategy must be designed for the most efficient retrieval, consistent with the characteristics of the information and the time and cost that can be tolerated.” ความสาคัญของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ มาลี ล้าสกุล (2545: 1: 14-15) ได้อธิบายความสาคัญของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศที่มีต่อหน่วยงานบริการ สารสนเทศ และผู้ใช้ พอสรุปได้ดังนี้ 1. ต่อหน่วยงานบริการสารสนเทศ การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศมีความสาคัญต่อหน่วยงานบริการสารสนเทศ ดังนี้ 1.1 เป็นตัวกลางเชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิตสารสนเทศและแหล่งสารสนเทศกับผู้ต้องการใช้สารสนเทศ
  • 4. 4 1.2 ทาให้การถ่ายโอนและไหลเวียนของสารสนเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 1.3 เป็นงานหลักที่เชื่อมโยงกับงานบริการและเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้สารสนเทศให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด 1.4 ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ถูกต้อง โดยสามารถค้นคืนสารสนเทศได้ตรงกับความต้องการและได้รับสารสนเทศทัน ต่อเวลา ซึ่งเป็นไปตามนโยบายและวัตถุประสงค์ของหน่วยงานบริการสารสนเทศ 2. ต่อผู้ใช้ 2.1 เปิดโอกาสให้ผู้ใช้เข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภททั้งภายในหน่วยงานบริการสารสนเทศและแหล่งทรัพยากร ทั่วโลกอย่างเสรี ภายใต้ข้อกาหนดของกฎหมายในเรื่องสิทธิของการใช้สารสนเทศ 2.2 ให้ความสาคัญแก่ผู้ใช้กลุ่มต่าง ๆ โดยจัดทาเอกสารแนะนาการใช้ฐานข้อมูลต่าง ๆ จัดเครื่องมืออานวยความ สะดวก เครื่องมือการค้นคืนที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้ใช้ค้นคืนสารสนเทศได้ด้วยตนเอง หรือผ่านบรรณารักษ์ตอบคาถาม 2.3 มีการพัฒนารูปแบบการดาเนินงานจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ เพื่อให้เกิดความรวดเร็วทั้งวิธีการจัดหา จัดเก็บ และการค้นคืนสารสนเทศ เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับประโยชน์สูงสุด 2.4 ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ถูกต้องและตรงกับความต้องการเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ตามที่ต้องการและความสนใจ 2.5 สนับสนุนผู้ใช้ให้สามารถประเมิน แยกแยะ ทาความเข้าใจ เชื่อมโยงความคิดของสารสนเทศ เพื่อการเลือกสรร ศึกษา แสวงหา และติดตามสารสนเทศได้ด้วยตนเองเป็นผู้เรียนแบบพึ่งตนเองตลอดไป ขอบเขตของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ มาลี ล้าสกุล (2545: 1: 16-18) กล่าวว่า การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศมีขอบเขตการศึกษาเกี่ยวกับ 1. ทฤษฎีพื้นฐานและการประเมินระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ เป็นเรื่องเกี่ยวกับองค์ประกอบของการ จัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ตัวแบบพื้นฐานในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ระบบค้นคืนสารสนเทศ (องค์ประกอบ หน้าที่ และ ระบบย่อย) ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศและแนวคิดพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ รวมถึงการประเมินระบบจัดเก็บและค้นคืน สารสนเทศ (แนวคิด ขั้นตอน) 2. เทคโนโลยีและมาตรฐานในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ เป็นเรื่องเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดเก็บและ
  • 5. 5 ค้นคืนสารสนเทศ (คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร) โดยจาแนกเป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึก จัดเก็บ และ แสดงผล เทคโนโลยีในการค้นคืนสารสนเทศเกี่ยวข้องกับดรรชนีคาค้น เทคนิคการค้นคืน และการเลือกฐานข้อมูล เครือข่ายอินเทอร์ - เน็ตและการค้นคืนสารสนเทศ การประยุกต์เทคโนโลยีไฮเปอร์มีเดียในการค้นคืนสารสนเทศ มาตรฐานสาคัญในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศซึ่งได้แก่ มาตรฐานการลงรหัสอักขระ มาตรฐานสาหรับการ พรรณนาสารสนเทศ และมาตรฐานในการค้นคืนสารสนเทศจากฐานข้อมูลต่างระบบ 3. การวิเคราะห์และตัวแทนสารสนเทศ เป็นเรื่องเกี่ยวกับการวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อกาหนดตัวแทนสาระ และจัดทา โครงสร้างระบบจัดเก็บสารสนเทศเพื่อการค้นคืน เกี่ยวข้องกับแนวคิดการเปรียบเทียบระบบการจัดหมวดหมู่สารสนเทศที่สาคัญ และ แนวคิดการทารายการสารสนเทศประเภทต่าง ๆ อาทิ ข้อความ มัลติมีเดีย สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ดรรชนีและการควบคุมคาศัพท์ ดรรชนีที่ใช้ในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (คือการนาคาในบริบทมาเป็นศัพท์ดรรชนี และดรรชนีที่สร้างโดยกาหนดคาขึ้นแทนสาระของเอกสาร) การควบคุมคาศัพท์ครอบคลุมการควบคุมในเชิงภาษา ไวยากรณ์ และ จานวน ศัพท์ควบคุมมี 2 ประเภท คือ หัวเรื่องและอรรถาภิธาน นอกจากนั้นยังหมายรวมถึงการจัดทาสาระสังเขปเพื่อใช้ ประโยชน์ในการจัดเก็บเพื่อการค้นคืนสารสนเทศ 4. ผู้ใช้ระบบค้นคืนสารสนเทศและพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ เป็นเรื่องเกี่ยวกับความเกี่ยวข้องของผู้ใช้กับ ระบบสารสนเทศ การศึกษาผู้ใช้ การศึกษาความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ การศึกษาพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ และ การศึกษาวิจัยพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเพื่อนาผลมาใช้ในการออกแบบระบบค้นคืนสารสนเทศ 5. การค้นคืนสารสนเทศ เป็นเรื่องเกี่ยวกับกระบวนการ / ขั้นตอนการค้นคืนสารสนเทศ กลยุทธ์ในการค้นคืน- สารสนเทศ เทคนิคการค้นคืน การใช้ศัพท์บังคับ ศัพท์ไม่ควบคุมหรือภาษาธรรมชาติ และคาสั่งต่าง ๆ การค้นคืนสารสนเทศ จากฐานข้อมูลออนไลน์ / ฐานข้อมูลซีดีรอม / อินเทอร์เน็ต พัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ มาลี ล้าสกุล (2545: 1: 19-28) กล่าวถึงพัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ พอสรุปได้ ดังนี้ ระยะที่ 1 พัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ก่อนทศวรรษ 1960 แบ่งเป็น 1) การจัดเก็บและค้นคืน สารสนเทศระยะแรกเริ่มซึ่งเป็นการพัฒนาระบบและเครื่องมือจัดเก็บสื่อบันทึกความรู้และการค้นหาทรัพยากรสารสนเทศในลักษณะ สิ่งพิมพ์ อาทิ ระบบจัดหมวดหมู่ การทารายการสารสนเทศ ดรรชนี และสาระสังเขป และ 2) การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศในยุค เทคโนโลยีระยะแรก ซึ่งเกิดจากความคิดในการแก้ปัญหาการจัดการและการใช้สารสนเทศที่มีปริมาณมากโดยพยายามใช้เทคโนโลยีใน การจัดทาเครื่องมือค้นสารสนเทศ ระยะที่ 2 พัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 เป็นต้นไป เนื่องจากอิทธิพลของเทคโนโลยี ความต้องการใช้สารสนเทศ และสารสนเทศที่เพิ่มจานวนมากมายหลายรูปแบบ ส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนระบบการจัดเก็บและค้น
  • 6. 6 คืนสารสนเทศ และเกิดกลุ่มความร่วมมือระหว่างหน่วยงานบริการสารสนเทศ รวมถึงบริการค้นคืนสารสนเทศเชิงพาณิชย์ และการ จัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต (โปรดดูรายละเอียดพัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศในภาคผนวกต่อไป)
  • 8. 8
  • 9. 9
  • 10. 10
  • 11. 11
  • 12. 12
  • 13. 13
  • 14. 14
  • 15. 15
  • 16. 16 บรรณานุกรม เดชา นันทพิชัย. 2546. การค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval). พิมพ์ครั้งที่ 2. นครศรีธรรมราช : หลักสูตรการจัดการสารสนเทศ สานักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน [ออนไลน์]. 15 พฤษภาคม 2553. เข้าถึงจาก: http://rirs3.royin.go.th/word3/word-3-a0.asp มาลี ล้าสกุล. 2545. “ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ.” ใน ประมวลสาระชุดวิชาการจัดเก็บและการ ค้นคืนสารสนเทศ ( Information Storage and Retrieval), หน่วยที่ 1-4, หน้า 1-29. นนทบุรี: สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. 2553. สารสนเทศ [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก: th.wikipedia.org/wiki/สารสนเทศ ------------. 2553. ความรู้ [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก: th.wikipedia.org/wiki/ความรู้ Daintith, John. 2004. A Dictionary of Computing. Encyclopedia.com. 21 May 2010 <http://www.encyclopedia.com> Reitz, Joan M. 2004-2010. ODLIS — Online Dictionary for Library and Information Science [Online]. Available: http://lu.com/odlis/odlis_i.cfm#information **********************