SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
Download to read offline
~ 1 ~
ตารางวิเคราะห์แบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี
วิชา ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 1
ข้อ
มาตรฐานตัวชี้วัด
มฐ ศ1.1 มฐ ศ1.2 มฐ ศ2.1 มฐ ศ2.2 มฐ ศ3.1 มฐ ศ3.2
1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 1 2 3 4 5 1 2
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
11 
12 
13 
14 
15 
16 
17 
18 
19 
20 
21 
22 
23 
24 
25 
26 
27 
28 
29 
~ 2 ~
ข้อ
มาตรฐานตัวชี้วัด
มฐ ศ1.1 มฐ ศ1.2 มฐ ศ2.1 มฐ ศ2.2 มฐ ศ3.1 มฐ ศ3.2
1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 1 2 3 4 5 1 2
30 
31 
32 
33 
34 
35 
36 
37 
38 
39 
40 
41 
42 
43 
44 
45 
46 
47 
48 
49 
50 
51 
52 
53 
54 
55 
56 
57 
58 
59 
60 

~ 3 ~
ให้วง ⃝ ล้อมรอบตัวเลขหน้าคาตอบที่ถูกต้อง
1. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการจัดองค์ประกอบศิลป์ในงานทัศนศิลป์
1. แสดงให้เห็นถึงเทคนิคในการสร้างผลงานทัศนศิลป์ที่มีความหลากหลาย
2. ผลงานจะมีราคาสูงขึ้นถ้ามีการจัดองค์ประกอบศิลป์ที่ครบถ้วน
3. ต้องการสร้างสุนทรียภาพให้เกิดขึ้นภายในผลงาน
4. สะท้อนความคิดสร้างสรรค์ของศิลปิน
2. ข้อใดไม่จัดเป็นทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์
1. รูปร่าง รูปทรง 2. จุด บริเวณที่ว่าง
3. สี น้้าหนักอ่อน-แก่ 4. เอกภาพ ความสมดุล
3.
จากภาพศิลปินต้องการสื่อให้เห็นทัศนธาตุในข้อใดชัดเจนที่สุด
1. จุด 2. สี
3. รูปร่าง 4. แสงเงา
4. “ จุดเริ่มต้นของการออกแบบทางทัศนศิลป์ทุกชนิด ” จากข้อความนี้มีความหมายตรงกับทัศนธาตุ
ในข้อใด
1. สี 2. เส้น
3. ลักษณะพื้นผิว 4. น้้าหนักอ่อน-แก่
1ศิลปะ ชุดที่ 1
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 90
~ 4 ~
5. เส้นชนิดใดให้ความรู้สึกอันตราย
1. 2.
3. 4.
6. ข้อใดที่แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างรูปร่างกับรูปทรงได้ชัดเจนที่สุด
1. ความจุ 2. ขนาด
3. สีสัน 4. มิติ
7. ลักษณะเด่นในการวาดภาพของอาจารย์สวัสดิ์ ตันติสุข มีความสอดคล้องกับข้อใดมากที่สุด
1. เน้นใช้สีที่สดใสและเน้นการแรเงา 2. ใช้เส้นน้อยเป็นรูปร่างและบรรยากาศ
3. ใช้ฝีแปรงขนาดใหญ่ป้ายอย่างรวดเร็ว 4. เก็บรายละเอียดของภาพอย่างประณีต
8. อาจารย์กมล ทัศนาญชลี เป็นศิลปินที่มีการใช้เทคนิคและวัสดุอุปกรณ์แตกต่างจากศิลปินท่านอื่น
อย่างไร
1. เป็นงานสื่อผสม ทั้งเทคนิคภาพพิมพ์ จิตรกรรม และประติมากรรม
2. เป็นงานประติมากรรมสมัยใหม่ที่ใช้วัสดุสังเคราะห์หลากหลายชนิด
3. เป็นงานภาพพิมพ์แกะไม้ผสมผสานกับงานประติมากรรมที่ประสานกลมกลืนกันอย่างลงตัว
4. เป็นงานสื่อผสมทั้งเทคนิคภาพพิมพ์ จิตรกรรม และประติมากรรม โดยใช้วัสดุสังเคราะห์ตามแนวคิด
ใหม่
9. เพราะเหตุใดในการวาดภาพสื่อความหมายและเรื่องราวจึงต้องมีการกาหนดกรอบแนวคิด
1. ก้าหนดวัสดุ อุปกรณ์ที่จะน้ามาใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานได้
2. ศิลปินสามารถแสดงแนวคิดของตนได้อย่างหลากหลาย
3. ท้างานได้อย่างรวดเร็ว เพราะมีขอบเขตที่แน่นอน
4. ระบุราคาขายภาพผลงานได้อย่างเหมาะสม
10. ข้อใดเป็นคุณสมบัติเฉพาะของสีน้าที่นามาใช้ในการเขียนภาพ
1. โปร่งใส เนื้อสีเบาบาง มีสีสันสวยงาม
2. ทึบแสง เนื้อสีเข้มข้น ระบายเรียบสวยงาม
3. ในเนื้อสีจะผสมผสานกันระหว่างทึบแสง กับโปร่งแสง
4. เนื้อสีเหมือนกับสีชนิดอื่นๆ ขึ้นอยู่กับปริมาณที่น้ามาใช้
11. นักวิจารณ์ที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
1. มีหอศิลป์จัดแสดงผลงานทัศนศิลป์เป็นของตัวเอง 2. ต้องมีความเที่ยงธรรม และมีความเป็นกลาง
3. เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในวงการสังคม 4. จบการศึกษาขั้นสูงจากต่างประเทศ
~ 5 ~
12. เพราะเหตุใดนักวิจารณ์จึงต้องมีความรอบรู้ในหลายสาขาวิชา
1. ค้าวิจารณ์จะมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น
2. ได้รับการยอมรับจากผู้รู้ในสาขาทัศนศิลป์
3. จะใช้ภาษาในการวิจารณ์ที่ง่ายต่อการท้าความเข้าใจ
4. ท้าให้สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ผลงานทัศนศิลป์ได้อย่างลุ่มลึก
13. ข้อใดไม่จัดเป็นความสาคัญในการพัฒนาผลงานทัศนศิลป์
1. การสร้างนิสัยในการท้างานที่ดี
2. ความคิดสร้างสรรค์สิ่งแปลกใหม่
3. พัฒนาให้เกิดการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งใหม่ๆ
4. ยกระดับความคิดให้มีความทันสมัยตามทันเทคโนโลยี
14. ข้อใดกล่าวถึงความหมายของคาว่า “บุคลิกลักษณะ” ได้ถูกต้องที่สุด
1. ลักษณะจ้าเพาะตัวของบุคคลแต่ละคน 2. การก้าหนดโครงสร้างของรูปแบบ
3. การถ่ายทอดอารมณ์จากผู้วาด 4. ผู้แสดง หรือตัวละคร
15. หลักสาคัญของการออกแบบโฆษณาคือสิ่งใด
1. ออกแบบส้าหรับธุรกิจการค้า
2. ใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อสาร
3. เน้นที่ความแปลกใหม่ในด้านรูปแบบ
4. สื่อความเข้าใจที่ตรงกันระหว่างผู้ออกแบบและผู้พบเห็น
16. เพราะเหตุใดวัฒนธรรมกับงานทัศนศิลป์จึงไม่สามารถแยกออกจากกันได้
1. สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นชาติไทย
2. มีความเกี่ยวพันในลักษณะพึ่งพาต่อกัน
3. เป็นเครื่องมือวัดความสามารถของศิลปิน
4. แสดงให้เห็นความงามของผลงานทัศนศิลป์
17. ข้อใดจัดเป็นผลงานทัศนศิลป์ประเภทสถาปัตยกรรมที่เกิดขึ้นในสมัยทวารวดี
1. 2.
3. 4.
~ 6 ~
18. ประติมากรรมสมัยลพบุรีมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นอย่างไร
1. แสดงลักษณะที่อ่อนหวานและนุ่มนวล
2. ขนาดสูงใหญ่กว่าล้าตัวของมนุษย์ 3-5 เท่า
3. สวมเครื่องแต่งกายเลียนแบบเครื่องทรงของกษัตริย์
4. ให้ความรู้สึกหนักแน่นด้วยเส้นและปริมาตรที่แน่นอน
19.
จากภาพจัดเป็นปฏิมากรรมที่เกิดขึ้นในสมัยใด
1. สมัยเชียงแสน 2. สมัยทวารวดี
3. สมัยศรีวิชัย 4. สมัยลพบุรี
20. การออกแบบงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยมีความแตกต่างไปจากวัฒนธรรมอื่นๆ หรือไม่
เพราะเหตุใด
1. แตกต่างกัน เพราะมีต้นก้าเนิดที่แตกต่างกัน
2. แตกต่างกัน เพราะได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย
3. ไม่แตกต่างกัน เพราะเป็นงานทัศนศิลป์ที่มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง
4. ไม่แตกต่างกัน เพราะจัดเป็นงานทัศนศิลป์ที่มีรูปแบบเช่นเดียวกันทุกประเภท
21. เพราะเหตุใดในการเรียนวิชาดนตรีจึงต้องศึกษาในเรื่ององค์ประกอบของดนตรีควบคู่กันไปด้วย
1. ท้าให้สามารถสร้างท้านองได้หลากหลาย 2. จะท้าให้เข้าใจเรื่องราวของดนตรีชัดเจน
3. บทเพลงมีความเป็นสากลมากยิ่งขึ้น 4. จัดเป็นส่วนหนึ่งของบทเพลง
22. ดนตรีมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตมนุษย์อย่างไรมากที่สุด
1. เป็นสิ่งที่ช่วยสร้างความแข็งแรงให้แก่ร่างกาย
2. เป็นส่วนหนึ่งในกิจกรรมการด้าเนินชีวิตของมนุษย์
3. เป็นผลงานที่สามารถสร้างชื่อเสียงให้แก่ประเทศชาติ
4. เป็นสิ่งที่ช่วยกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาทางเทคโนโลยี
23. “ สิ่งที่ทาให้ดนตรีสามารถขับเคลื่อนได้อย่างเป็นระบบ ” จากข้อความนี้หมายถึงสิ่งใด
1. จังหวะ 2. ท้านอง
3. บันไดเสียง 4. มาตราเสียง
~ 7 ~
24. จังหวะหน้าทับมีลักษณะที่พิเศษอย่างไร
1. น้าฉิ่งมาใช้เป็นหลักในการสร้างจังหวะดนตรี
2. จังหวะที่ได้มีความหลากหลายทางท้านองเพลง
3. สร้างท้านองเพลงด้วยเครื่องดนตรีประเภทหนัง
4. เป็นจังหวะที่นักดนตรียึดเป็นหลักในการบรรเลงและขับร้อง
25. เครื่องหมายในข้อใดทาหน้าที่ในการแปลงเสียงของตัวโน้ตให้มีระดับเสียงสูงขึ้น ½ เสียง
1. 2.
3. 4.
26. เพราะเหตุใดในการประพันธ์เพลงจึงต้องมีการพิจารณาในเรื่องเสียงควบคู่กันไปด้วย
1. เพราะในหนึ่งบทเพลงจะได้ปรากฏรูปแบบของเสียงที่มีความหลากหลาย
2. เพราะต้องการสร้างเสียงดนตรีให้มีความแตกต่างกับเสียงของดนตรีในชาติอื่นๆ
3. เพราะเสียงแต่ละเสียงมีความเหมาะสมในการน้ามาใช้กับเครื่องดนตรีแต่ละประเภท
4. เพราะจะท้าให้เสียงที่น้ามาเรียบเรียงมีความสอดประสานกลมกลืนกันอย่างเหมาะสม
27. ธรรมชาติมีส่วนสาคัญต่อการสร้างสรรค์บทเพลงอย่างไรมากที่สุด
1. มีการสร้างท้านองเพลงที่มีความพลิ้วไหว
2. ใช้เป็นแรงบันดาลใจในการประพันธ์เพลง
3. สร้างเสียงดนตรีที่มีความหลายหลายไปตามวัฒนธรรม
4. เป็นต้นแบบในการสร้างเสียงดนตรีที่เหมือนจริงตามธรรมชาติ
28. เพราะเหตุใดการขับร้องเพลงไทยมีความแตกต่างจากการขับร้องเพลงสากล
1. มีลักษณะเด่นอยู่ที่การเอื้อนเสียง 2. ศิลปินจะมีเนื้อเสียงที่ไม่เหมือนกัน
3. ใช้จังหวะและท้านองดนตรีต่างกัน 4. เพลงที่น้ามาขับร้องเกิดขึ้นคนละยุคสมัย
29. เพราะเหตุใดการขับร้องเพลงไทยที่ดีจึงต้องออกเสียงให้เต็มเสียงตามจังหวะและทานองของเพลง
1. เสียงขับร้องจะได้ดังกลบทับเสียงเครื่องดนตรี 2. ผู้ฟังจะได้ยินเสียงที่ดังกังวาน และชัดเจน
3. บทเพลงจะมีความไพเราะมากยิ่งขึ้น 4. ลดการใช้อุปกรณ์ขยายเสียง
30. “ พวกเราเหล่ามาชุมนุม ต่างกุมใจรัก สมัครสมาน
ล้วนมิตร จิตชื่นบาน สราญเริงอยู่ ทุกผู้ทุกนาม ฯ ”
ในการขับร้องเพลงดังเนื้อร้องข้างต้นควรมีการแสดงอารมณ์อย่างไรจึงจะมีความเหมาะสมมากที่สุด
1. อารมณ์โกรธ 2. อารมณ์ฮึกเหิม
3. อารมณ์โศกเศร้า 4. อารมณ์เบิกบานใจ
~ 8 ~
31. ข้อใดตอบถูกต้องเกี่ยวกับคุณภาพของเสียง
1. ความสูง-ต่้าของเสียงเกิดจากจ้านวนความถี่ของการสั่นสะเทือน
2. ความหนัก-เบาของเสียงช่วยสนับสนุนเสียงให้มีจังหวะที่สมบูรณ์
3. ความยาว-สั้นของเสียงเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ในการก้าหนดจังหวะเพลง
4. คุณภาพของแหล่งก้าเนิดเสียงที่แตกต่างกันจะท้าให้ผู้ฟังสามารถแยกแยะสีสันของเสียงได้อย่าง
ชัดเจน
32. ถ้านักเรียนได้รับมอบหมายให้ประเมินคุณภาพด้านเสียงของผู้ขับร้อง นักเรียนจะประเมินในเรื่องใด
เป็นหลัก
1. ประสบการณ์ของผู้ขับร้อง 2. ความถูกต้องด้านอักขรวิธี
3. รูปร่างหน้าตาของผู้ขับร้อง 4. เนื้อเพลงที่น้ามาใช้ในการขับร้อง
33. ข้อใดไม่ใช่บทบาทของดนตรีที่มีต่อสังคมและวัฒนธรรมไทย
1. ช่วยในการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทย 2. ท้าให้เศรษฐกิจไทยเจริญก้าวหน้า
3. ท้าให้คนไทยใช้จ่ายเงินฟุ่มเฟือย 4. ช่วยให้ธุรกิจดนตรีขยายตัว
34. พรรัมภา เป็นผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในเรื่องการปฏิบัติต่อเครื่องดนตรีไทยและสากลตามหลัก
ทฤษฎีวิชาดนตรี และมีประสบการณ์ในการสอนดนตรี พรรัมภา ควรประกอบอาชีพใดจึงจะ
เหมาะสมมากที่สุด
1. นักวิชาการดนตรี 2. นักประพันธ์เพลง
3. นักอ้านวยเพลง 4. ครูดนตรี
35. ข้อใดแสดงให้เห็นถึงแนวคิดสาคัญในการสร้างสรรค์ผลงานทางดนตรีในวัฒนธรรมอินเดีย
1. เน้นในเรื่องท้านอง บันไดเสียง จังหวะและเสียงหนัก-เบา
2. ความพิถีพิถันในการเลือกวัสดุ อุปกรณ์มาสร้างเครื่องดนตรี
3. คัดเลือกนักดนตรีที่สามารถบรรเลงดนตรีได้อย่างหลากหลายเท่านั้น
4. ผู้ประพันธ์เพลงต้องมีชื่อเสียง และมีความสามารถทางดนตรีเป็นอย่างมาก
36. เพราะเหตุใดอินเดียจึงได้รับการขนานนามว่า “ เจ้าแห่งจังหวะ ”
1. สร้างจังหวะโดยไม่ต้องใช้เครื่องดนตรี
2. จังหวะดนตรีมีรูปแบบที่หลากหลาย
3. เป็นต้นแบบการสร้างจังหวะดนตรี
4. นิยมน้ากลองมาใช้ในการบรรเลง
37. เครื่องดนตรีชนิดใดที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับซอสามสายของประเทศไทย
1. Tro 2. Saung
3. Khene 4. Gambus
~ 9 ~
38. ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับที่มาของดนตรีในวัฒนธรรมเวียดนาม
1. ดนตรีมีความเกี่ยวพันกับความเชื่อในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
2. ดนตรีได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากประเทศอินเดีย
3. ดนตรีที่มีชื่อเสียงเป็นผลงานที่เกิดขึ้นในยุคส้าริด
4. ดนตรีมีความหลากหลายในรูปแบบของเสียง
39. ข้อใดเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีกับงานดนตรี
1. มีแนวคิดเกี่ยวกับเพลงเกียรติยศส้าหรับบุคคลส้าคัญของชาติมาจากชาวตะวันตก
2. โทมัส อัลวา เอดิสัน ประดิษฐ์เครื่องมือส้าหรับใช้บันทึกเสียงดนตรีขึ้น
3. ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตย
4. สภาพเหตุการณ์บ้านเมืองมีความแตกแยกทางความคิด
40. วิทยุได้เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงการปกครองอย่างไรมากที่สุด
1. ใช้สร้างความบันเทิงให้แก่ประชาชน
2. ใช้เป็นเกณฑ์วัดมาตรฐานเรื่องรายได้
3. ใช้เป็นเครื่องแสดงความมีอารยธรรมของประเทศ
4. ใช้กระจายเสียงเป็นสื่อในการเผยแพร่ความรู้เรื่องการปกครอง
41. แสงมีความสาคัญต่อการจัดการแสดงอย่างไรมากที่สุด
1. ช่วยให้บรรยากาศดูไม่น่ากลัว
2. ช่วยเน้นจุดเด่นของลีลาการแสดง
3. ช่วยให้เกิดสุนทรียภาพในการชมการแสดง
4. ช่วยให้การมองเห็นของผู้ชมมีประสิทธิภาพมากขึ้น
42. เพราะเหตุใดจึงมีการนาฉาก แสง สี เสียงมาใช้ประกอบการแสดงนาฏศิลป์
1. ดึงดูดความสนใจของผู้ชม
2. เพิ่มยอดจ้าน่ายบัตรเข้าชมการแสดง
3. ท้าให้การแสดงมีความสมจริงมากขึ้น
4. ผู้ที่ท้าหน้าที่ออกแบบฉาก แสง สี เสียงเป็นที่รู้จักมากขึ้น
43. ข้อใดไม่จัดเป็นประโยชน์ของการนาดนตรีมาใช้ประกอบการแสดง
1. พื้นที่ของเวทีจะไม่มีบริเวณว่าง
2. เสริมสร้างให้การแสดงสมบูรณ์
3. สื่อความหมายในการแสดงได้ชัดเจน
4. ช่วยเสริมสร้างบรรยากาศในการแสดง
~ 10 ~
44. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการวิเคราะห์ วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์
1. จะท้าให้ผู้ชมหันมาสนใจการแสดงมากขึ้น
2. จะได้น้าผลที่ได้รับไปพัฒนาผลงานให้ดียิ่งๆ ขึ้น
3. การแสดงจะได้มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของสังคม
4. จะท้าให้ยอดจ้าหน่าย CD หรือ DVD ทางนาฏศิลป์สูงขึ้น
45. นาฏศิลป์ไทยมีคุณค่าและประโยชน์แก่เยาวชนไทยหรือไม่ เพราะเหตุใด
1. ไม่มี เพราะเป็นการแสดงที่หาชมได้ยาก
2. ไม่มี เพราะเป็นสิ่งโบราณที่ไม่มีการพัฒนาให้ทันสมัย
3. มี เพราะเป็นการแสดงที่มีความสวยงามในเรื่องของการแต่งกาย
4. มี เพราะเป็นเครื่องหมายแสดงความเป็นชาติที่มีมรดกทางวัฒนธรรม
46. ข้อใดไม่มีความเกี่ยวข้องกับคาว่า “ ศิลปวิจารณ์ ”
1. การใช้ถ้อยค้าเพื่อสื่อความคิด 2. ใช้ในการแก้ไข และพัฒนาผลงาน
3. สร้างมูลค่าของผลงานให้สูงขึ้นกว่าปกติ 4. สามารถวิจารณ์ได้ด้วยการพูด และเขียน
47. เพราะเหตุใดผู้วิจารณ์จึงต้องมีความรู้เป็นอย่างดีในสาขาที่จะวิจารณ์
1. จะวิจารณ์ได้อย่างถูกต้องและมีเหตุผล 2. ค้าวิจารณ์จะเป็นที่ยอมรับในวงสังคม
3. สามารถสร้างความเชื่อให้แก่ผู้ชมได้ 4. สร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้เข้าชม
48. ข้อใดอธิบายเกี่ยวกับความหมายของราวงมาตรฐานไม่ถูกต้อง
1. จัดเป็นการละเล่นพื้นบ้านอย่างหนึ่งที่สนุกสนาน
2. ใช้ฉิ่งเป็นเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ
3. เป็นศิลปะแห่งการร้าวงที่งดงาม
4. พัฒนามาจากการเล่นร้าโทน
49. บทเพลงที่นามาใช้ในการขับร้องประกอบการราวงส่วนใหญ่จะมีลักษณะอย่างไร
1. มีการน้าค้าราชาศัพท์มาแทรกไว้ในบทเพลง
2. เน้นการใช้ค้าที่มีทั้งแบบสัมผัสนอก และสัมผัสใน
3. บทเพลงจะสะท้อนสภาพบ้านเมือง และสังคมปัจจุบัน
4. ใช้ภาษาที่เรียบง่าย ไม่พิถีพิถันในเรื่องถ้อยค้า และสัมผัส
50. ข้อใดอธิบายความสาคัญในการนาวิชาต่างๆ มาบูรณาการให้นักเรียนได้เรียนรู้มากที่สุด
1. นักเรียนสามารถเข้าใจเนื้อหาในบทเรียนง่ายขึ้น
2. นักเรียนสามารถแสดงแนวคิดอยู่ในกรอบที่ครูก้าหนดไว้ได้
3. นักเรียนสามารถถ่ายทอดเรื่องราวที่เรียนให้บุคคลภายนอกรับรู้ได้
4. นักเรียนสามารถน้าความรู้ที่ได้มาใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ้าวัน
~ 11 ~
51. บุคคลในข้อใดสามารถนาความรู้เกี่ยวกับละครมาใช้บูรณาการกับวิชาอื่นๆ ได้อย่างเหมาะสมที่สุด
1. ส้ม ใช้เวลาในวันหยุดออกไปขายหนังสือพิมพ์เป็นอาชีพเสริม
2. น้้าตาล น้ากระดาษที่ใช้แล้วมาพับเป็นถุง แล้วน้าไปจ้าหน่าย
3. ชมพู ฝึกเขียนบทละครโดยน้านิทานมาใช้เป็นโครงเรื่อง
4. แดง ชอบร้องเพลงที่ตู้คาราโอเกะในห้างสรรพสินค้า
52. การแสดงนาฏศิลป์ชนิดใดที่สามารถสะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนในสังคมได้
ชัดเจนที่สุด
1. นาฏศิลป์ชาวบ้าน 2. นาฏศิลป์พื้นเมือง
3. นาฏศิลป์เบ็ดเตล็ด 4. นาฏศิลป์มาตรฐาน
53. การแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองในแต่ละภาคจะมีลักษณะที่คล้ายคลึงกันในเรื่องใดมากที่สุด
1. สร้างความสนุกสนานในงานเทศกาลต่างๆ
2. แหล่งก้าเนิด หรือที่มาของการแสดง
3. จ้านวนนักแสดงที่ใช้ในแต่ละครั้ง
4. การออกแบบเครื่องแต่งกาย
54. ข้อใดไม่ใช่การแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองภาคเหนือ
1. ฟ้อนวี 2. ฟ้อนเจิง
3. ฟ้อนภูไท 4. ฟ้อนดาบ
55. ในการราหมู่ที่ดีนักแสดงควรยึดหลักปฏิบัติยกเว้นข้อใด
1. สมาธิมั่นคง 2. แม่นย้าในท่าร้า
3. แต่งหน้าด้วยสีสดใส 4. รักษากฎระเบียบในการตั้งแถว
56. การแสดงนาฏศิลป์ชุดใดจะเน้นความสามารถของนักแสดงเป็นหลัก
1. สีนวล 2. รองเง็ง
3. ตารีกีปัส 4. ฉุยฉายเบญกาย
57. การละครในสมัยใดที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของการแสดงละครไปจากเดิมมากนัก
1. สมัยสุโขทัย 2. สมัยอยุธยา
3. สมัยธนบุรี 4. สมัยรัตนโกสินทร์
58. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการศึกษาเกี่ยวกับที่มาของการแสดงละคร
1. ละครเป็นเครื่องราชูปโภคอย่างหนึ่งของพระมหากษัตริย์
2. ละครสามารถน้ามาใช้ในการบ้าบัดรักษาโรคทางจิตเวชได้เป็นอย่างดี
3. ละครเป็นสื่อกลางที่ใช้ในการถ่ายทอดความคิดจากรุ่นหนึ่งสู่รุ่นหนึ่ง
4. ละครสามารถสะท้อนให้เห็นภาพประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรมได้
~ 12 ~
59. เพราะเหตุใดจึงมีคากล่าวว่า “ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) เป็นสมัยที่
การละครได้เจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด ”
1. พระมหากษัตริย์ทรงให้การสนับสนุน
2. การละครไทยได้แพร่หลายไปยังต่างประเทศ
3. เกิดนักแสดงที่มีชื่อเสียงด้านการละครหลายท่าน
4. ประชาชนนิยมฝึกหัดการแสดงละครเพื่อใช้ประกอบอาชีพ
60. เพราะเหตุใดในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7) การละครจึงมีรูปแบบที่
เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเป็นอย่างมาก
1. ประชาชนลดความนิยมลง
2. เกิดภาวะสงครามโลกครั้งที่ 2
3. ศิลปินถูกย้ายโอนไปสังกัดท้างานในหน่วยอื่นๆ
4. ต้องการสร้างประเทศให้มีอารยธรรมทัดเทียมกับตะวันตก

~ 13 ~
ตารางวิเคราะห์แบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี
วิชา ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 2
ข้อ
มาตรฐานตัวชี้วัด
มฐ ศ1.1 มฐ ศ1.2 มฐ ศ2.1 มฐ ศ2.2 มฐ ศ3.1 มฐ ศ3.2
1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 1 2 3 4 5 1 2
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
11 
12 
13 
14 
15 
16 
17 
18 
19 
20 
21 
22 
23 
24 
25 
26 
27 
28 
29 
~ 14 ~
ข้อ
มาตรฐานตัวชี้วัด
มฐ ศ1.1 มฐ ศ1.2 มฐ ศ2.1 มฐ ศ2.2 มฐ ศ3.1 มฐ ศ3.2
1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 1 2 3 4 5 1 2
30 
31 
32 
33 
34 
35 
36 
37 
38 
39 
40 
41 
42 
43 
44 
45 
46 
47 
48 
49 
50 
51 
52 
53 
54 
55 
56 
57 
58 
59 
60 

~ 15 ~
ให้วง ⃝ ล้อมรอบตัวเลขหน้าคาตอบที่ถูกต้อง
1. การสร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ทั้งการจัดองค์ประกอบ และความงาม
โดยอาศัยหลักเกณฑ์ตรงกับข้อใด
1. ยึดวิธีการวาดโดยเน้นการใช้เส้น แสงเงา และสี
2. ยึดหลักเกณฑ์ความเป็นเอกภาพ ความสมดุล และความกลมกลืน
3. ยึดหลักธรรมชาติเป็นส้าคัญเพื่อให้ได้ความงดงาม และความเหมือนจริง
4. ยึดหลักการใช้เทคนิคที่มีความหลากหลาย เพื่อให้ได้ผลงานที่มีความแปลกใหม่
2. ในการเรียนวิชาทัศนศิลป์ สิ่งสาคัญอันดับแรกที่นักเรียนจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจมากที่สุด
คือเรื่องใด
1. นักเรียนจะต้องเข้าใจทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์อันเป็นส่วนประกอบของการมองเห็น
2. นักเรียนจะต้องมีความเข้าใจในเรื่องรูปร่าง รูปทรง แสงเงาที่ปรากฏอยู่ในธรรมชาติ
3. นักเรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการจะวาด และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการวาด
4. นักเรียนจะต้องมีความรู้ในเรื่องลักษณะของเส้นต่างๆ และวิธีการระบายสี
3. ภาพในข้อใดจัดเป็นรูปทรงอิสระ หรือดัดแปลง
1. 2.
3. 4.
1ศิลปะ ชุดที่ 2
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 90
~ 16 ~
4. เพราะเหตุใดการแบ่งที่ว่างจึงต้องให้มีความสมดุลกัน
1. ภาพมีความสวยงามมากขึ้น
2. ประหยัดเวลาในการระบายสี
3. แบ่งแยกภาพให้มีความชัดเจน
4. เมื่อมองแล้วเกิดความสบายตา
5.
จากภาพศิลปินต้องการสื่อให้เห็นทัศนธาตุใดมากที่สุด
1. น้้าหนักอ่อน-แก่ 2. ลักษณะพื้นผิว
3. บริเวณว่าง 4. รูปร่าง
6. “ เมื่อสัมผัสจะเกิดความรู้สึกที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริง ” จากข้อความนี้หมายถึงลักษณะที่พิเศษของ
ทัศนธาตุใด
1. น้้าหนักอ่อน-แก่ 2. ลักษณะพื้นผิว
3. รูปทรง 4. เส้น
7. “ การใช้ฝีแปรงป้ายปาดอย่างฉับไว แสดงรูปร่าง รูปทรงอย่างคร่าวๆ ไม่เน้นรายละเอียด แต่เน้นการสื่อ
ความหมาย และอารมณ์ ” เป็นเทคนิคการสร้างสรรค์ผลงานของศิลปินท่านใด
1. ถวัลย์ ดัชนี 2. สวัสดิ์ ตันติสุข
3. กมล ทัศนาญชลี 4. ช้าเรือง วิเชียรเขตต์
8. งานประติมากรรมของอาจารย์นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน ส่วนใหญ่มักเกี่ยวข้องกับเรื่องใด
1. วิถีชีวิต สภาพความเป็นอยู่ของคนไทย 2. การเสียดสี ล้อเลียนการเมือง
3. แนวคิดทางพระพุทธศาสนา 4. สภาพสังคมในปัจจุบัน
9. ข้อใดจัดเป็นคุณลักษณะเฉพาะของสีโปสเตอร์ที่นามาใช้ในการเขียนภาพ
1. ทึบแสง เนื้อสีข้น ระบายทับซ้อนกันได้
2. มีวิธีการใช้เช่นเดียวกันกับการใช้สีอะคริลิก
3. นิยมน้ามาระบายภาพจิตรกรรมฝาผนังเช่นเดียวกับสีฝุ่น
4. ไม่สามารถน้ามาใช้ระบายภาพที่ต้องการความละเอียดมาก
~ 17 ~
10. ข้อใดแสดงถึงการใช้เทคนิคการวาดภาพด้วยเทคนิคผสม
1. ไก่ วาดภาพทิวทัศน์ด้วยการใช้สีน้้าระบายลงบนกระดาษ และระบายทับซ้อนกันในหลายๆ แห่ง
2. แก่น วาดภาพหุ่นนิ่งเป็นรูปผลไม้นานาชนิดด้วยสีโปสเตอร์ พร้อมทั้งเลือกใช้สีที่สดใสท้าให้
ภาพสวยงามขึ้น
3. แก้ว วาดภาพประกอบนิทานใช้เทคนิคการวาดภาพที่หลากหลาย ทั้งใช้ลายเส้นของปากกา สีน้้าและ
สีโปสเตอร์
4. กิ่ง วาดภาพสิ่งก่อสร้างที่มีความเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา โดยใช้วิธีการร่างภาพด้วยปากกา แล้ว
ใช้สีน้้าระบาย
11. สิ่งใดคือปัญหาที่พบได้จากนักวิจารณ์งานทัศนศิลป์สมัครเล่น
1. ความคิดที่ทันสมัย 2. เวทีส้าหรับวิจารณ์
3. ผู้ให้การสนับสนุน 4. ความรู้เกี่ยวกับทัศนศิลป์
12. การวิจารณ์จะมีคุณค่าหรือไม่นั้นจะขึ้นอยู่กับบุคคลใดเป็นสาคัญ
1. ศิลปินผู้สร้างสรรค์ผลงาน
2. นักสะสมผลงานทัศนศิลป์
3. เจ้าของแกลเลอรี่ที่ใช้แสดงผลงาน
4. บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงานทัศนศิลป์
13. การจัดทาแฟ้มสะสมผลงานมีประโยชน์ต่อตัวนักเรียนยกเว้นในข้อใด
1. น้าไปใช้ในการพิจารณาเพิ่มผลคะแนนในการเรียน
2. ใช้เป็นเครื่องมือครูในการประเมินผลตามสภาพจริง
3. เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลที่ใช้เก็บผลงานที่มีความโดดเด่น
4. แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าและความส้าเร็จในการเรียน
14. ถ้านักเรียนต้องการวาดภาพการ์ตูนที่ดีควรคานึงถึงเรื่องใดเป็นหลัก
1. ภาพลายเส้นที่เรียบง่าย สื่อวิถีชีวิตในสังคมได้ดี
2. ภาพที่มีเส้นคมชัด ใช้สีที่เกินจริงไปจากธรรมชาติ
3. ภาพที่เรียบง่าย สื่อสารอารมณ์ ความรู้สึกได้ดี มีบุคลิกที่จ้าง่าย
4. ภาพสื่อให้เห็นถึงรูปแบบที่เรียบง่าย มีความสมจริงตามธรรมชาติ
15. การชี้แจงเกี่ยวกับแผนงาน หรือนโยบายของหน่วยงานทางราชการเป็นการโฆษณาเพื่อจุดประสงค์ใด
เป็นสาคัญ
1. เพื่อความเข้าใจร่วมกันในสังคม
2. เพื่อรณรงค์ หรือต่อต้าน
3. เพื่อสืบสานวัฒนธรรม
4. เพื่อผลทางธุรกิจ
~ 18 ~
16. ข้อใดอธิบายความหมายของคาว่าวัฒนธรรมได้ถูกต้องมากที่สุด
1. สิ่งที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา ไม่สามารถบอกได้ว่าสิ่งเหล่านั้นมีความเหมาะสมกับยุคสมัยหรือไม่
2. สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เพื่อความเจริญงอกงามในวิถีแห่งชีวิตของส่วนรวม สามารถถ่ายทอดได้
3. สิ่งที่ได้รับมาจากอารยธรรมตะวันตก มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงให้มีรูปแบบเป็นของไทย
4. สิ่งที่กลุ่มชนกลุ่มหนึ่งพึงประพฤติ ปฏิบัติ และช่วยกันด้ารงรักษาไว้อย่างเหนียวแน่น
17. เพราะเหตุใดพระพุทธรูปในสมัยสุโขทัยจึงเป็นต้นแบบในการสร้างพระพุทธรูปในสมัยอื่นๆ
1. แต่งกายเครื่องทรงแบบกษัตริย์ 2. ใช้วัสดุที่มีความแข็งแรง ทนทาน
3. ได้รับรูปแบบมาจากศิลปะอินเดีย 4. เป็นพุทธศิลป์ที่มีความสวยงามลงตัว
18. สิ่งใดคือความแตกต่างระหว่างพระพุทธรูปแบบทรงเครื่องใหญ่และพระพุทธรูปแบบทรงเครื่องน้อย
1. สี 2. ขนาด
3. พุทธลักษณะ 4. วัสดุที่น้ามาใช้
19. เพราะเหตุใดภาพจิตรกรรมในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นจึงมีลักษณะแบบจีนผสมผสานอยู่มาก
1. ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมมาจากประเทศจีน
2. ต้องการสร้างงานศิลปะที่มีความแตกต่างจากศิลปะแบบเดิมๆ
3. แสดงให้เห็นฝีมือของศิลปินในสมัยรัตนโกสินทร์ที่สามารถสร้างงานได้อย่างหลากหลาย
4. ไทยเคยตกเป็นเมืองขึ้นของจีน จึงได้น้าความรู้ด้านศิลปะของจีนมาปรับใช้ให้มีแบบอย่างเป็น
ของไทย
20. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับผลงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมสากลช่วงระยะแรก
1. เสนอแนวคิดที่สะท้อนสังคม หรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับการด้ารงชีวิต
2. ผลงานมีความทันสมัย และตอบสนองความต้องการทางเทคโนโลยี
3. มีการพัฒนาโดยจะเน้นเรื่องราวเกี่ยวกับศาสนาคริสต์
4. ได้รับอิทธิพลเกี่ยวกับความเชื่อ และจิตวิญญาณ
21. ข้อใดไม่จัดเป็นองค์ประกอบของดนตรี
1. เสียง
2. จังหวะ
3. ท้านองเพลง
4. อารมณ์เพลง
22. เพราะเหตุใดจึงมีคากล่าวว่า “ ดนตรีไทยเป็นสมบัติทางศิลปวัฒนธรรมร่วมกันของคนทั้งชาติ ”
1. ดนตรีสามารถน้าไปพัฒนาควบคู่กับเทคโนโลยีได้อย่างมากมาย
2. ดนตรีได้เข้ามามีบทบาทเกี่ยวข้องกับการด้าเนินชีวิตของมนุษย์
3. ดนตรีจะถ่ายทอดให้เห็นถึงพลังที่เข้มแข็งผ่านทางบทเพลง
4. ดนตรีเป็นสื่อเชื่อมโยงความสามัคคีระหว่างคนในชาติ
~ 19 ~
23. อัตราจังหวะถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทาหน้าที่ใด
1. สร้างสีสันของเสียงให้ไพเราะ 2. จัดแบ่งจังหวะเคาะออกเป็นกลุ่ม
3. ก้าหนดตัวโน้ตบนบรรทัด 5 เส้น 4. จ้าแนกเสียงสูง และเสียงต่้าออกจากกัน
24. ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ
ด ด ด ด ร ร ร ร ม ม ม ม ฟ ฟ ฟ ฟ
ข้อใดมีความสัมพันธ์กับข้อความด้านบนมากที่สุด
1. อัตราจังหวะผสมที่มีทั้งความสั้น ปานกลาง ไปจนถึงยาวที่สุด
2. อัตราที่มีจังหวะยาวมากที่สุด มีความยาวเท่ากับอัตราจังหวะ 2 ชั้น
3. อัตราจังหวะที่มีความยาวปานกลาง สั้นกว่าอัตราจังหวะ 3 ชั้น 1 เท่า
4. อัตราจังหวะที่สั้นที่สุด มีความยาวเท่ากับครึ่งหนึ่งของอัตราจังหวะ 2 ชั้น
25.
จากภาพมีความหมายตรงกับข้อใด
1. มีไว้ส้าหรับแปลงเสียงของตัวโน้ตที่มีระดับสูงขึ้น หรือต่้าลง ½ เสียง ให้กลับมาเป็นเสียงปกติ
2. มีไว้ส้าหรับแปลงเสียงของตัวโน้ตให้มีระดับเสียงสูงขึ้นสองครึ่งเสียง หรือ 1 เสียงเต็ม
3. มีไว้ส้าหรับแปลงเสียงของตัวโน้ตให้มีระดับเสียงต่้า หรือลดลง ½ เสียง
4. มีไว้ส้าหรับแปลงเสียงของตัวโน้ตให้มีระดับเสียงสูงขึ้น ½ เสียง
26. ข้อใดจัดเป็นบทเพลงที่ได้รับอิทธิพลมาจากการประกอบอาชีพ
1. เพลงลาวกระทบไม้ 2. เพลงลาวดวงเดือน
3. เพลงนางครวญ 4. เพลงทยอย
27. บุคคลใดเลือกใช้เทคนิคและการแสดงออกในการจินตนาการในการสร้างสรรค์บทเพลงได้ถูกต้อง
มาก ที่สุด
1. มะเฟือง น้าผลงานของผู้อื่นมาดัดแปลงเป็นผลงานของตนเอง
2. มะยม ยึดรูปแบบเพลงเก่า เพราะกลัวไม่ได้รับความนิยม
3. มะนาว เลือกแต่งเพลงเศร้าด้วยจังหวะที่กระชับ เร้าใจ
4. มะขาม ใช้เสียงในระดับปานกลางในการแต่งเพลง
28. การหายใจที่ถูกต้องมีความสาคัญต่อการขับร้องเพลงหรือไม่ เพราะเหตุใด
1. ส้าคัญ เพราะช่วยลดความตื่นเต้นขณะขับร้อง
2. ส้าคัญ เพราะการหายใจที่ดีจะมีส่วนช่วยท้าให้ร้องเพลงได้ดีขึ้น
3. ไม่ส้าคัญ เพราะในการขับร้องเพลงสามารถหายใจในรูปแบบใดก็ได้
4. ไม่ส้าคัญ เพราะไม่มีกฎข้อบังคับใช้ว่าในการขับร้องจะต้องหายใจอย่างไร
~ 20 ~
29. การวางท่าทางในการขับร้องที่ดีควรมีลักษณะยกเว้นข้อใด
1. นั่งพับเพียบให้เรียบร้อย 2. นั่งตัวตรง ไม่กระดุกกระดิก
3. นั่งขัดสมาธิ คอหลัง ห่อไหล่ 4. นั่งราบกับพื้นเวทีเช่นเดียวกับนักดนตรี
30. ข้อใดต่างจากพวก
1. เพลงสาธุการ เพลงมหาฤกษ์
2. เพลงแขกครวญ เพลงดาวทอง
3. เพลงพม่าแทงกบ เพลงค้างคาวกินกล้วย
4. เพลงแขกบรเทศสองชั้น เพลงขับไม้บัณเฑาะว์
31. ข้อใดไม่จัดเป็นประโยชน์ของการประเมินผลงานทางดนตรี
1. ตัดสินดนตรีว่ามีความไพเราะอย่างไร
2. ใช้เป็นแนวทางในการฝึกทักษะทางการฟัง
3. ประเมินเป็นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาตนเอง
4. ท้าให้ผลงานมีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับของผู้คนในสังคม
32. บุคคลใดทาหน้าที่ในการประเมินด้านเสียงของเครื่องดนตรีได้เหมาะสมมากที่สุด
1. เตย ประเมินจากการบรรเลงเสียงเพลงด้วยเสียงหนัก-เบา ยาว-สั้น
2. เอย ประเมินจากความกลมกลืนของเสียงเครื่องดนตรี
3. เกย ประเมินประเภทของเครื่องดนตรีที่น้ามาใช้
4. เนย ประเมินจากราคาของเครื่องดนตรี
33. เพราะเหตุใดจึงมีการนาเสียงดนตรีมาใช้ประกอบการรักษาทางการแพทย์
1. สร้างความสุนทรียะให้แก่ผู้เข้ารับบริการทางการแพทย์
2. ท้าให้เกิดสีสัน ลดความน่าเบื่อหน่ายให้แก่ผู้ป่วยขณะรอเข้ารับการรักษา
3. วางแผนในการใช้กิจกรรมทางดนตรีควบคุมผู้ป่วย เพื่อให้บรรลุในการรักษา
4. ลดความวิตกกังวลให้แก่ผู้ป่วย หากต้องเข้ารับการผ่าตัด หรือเข้ารับการรักษาอย่างเร่งด่วน
34. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพดนตรีที่ดี
1. มีความกล้าแสดงออก และมั่นใจในตัวเองสูง 2. มีมนุษยสัมพันธ์ดี คล่องแคล่ว และทันสมัย
3. มีจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ 4. มีความขยันหมั่นเพียร และอดทน
35. เพราะเหตุใดดนตรีของอินเดียจึงมีลักษณะที่แตกต่างไปจากดนตรีชาติอื่นๆ
1. นิยมบรรเลงด้วยเครื่องดนตรีโบราณ
2. มีการน้าเครื่องดนตรีสากลมาผสมผสาน
3. เครื่องดนตรีส่วนใหญ่จะให้เสียงที่หนักแน่น ดุดัน
4. จะมีการแบ่งประเภทของเครื่องดนตรีออกเป็น 2 ฝ่าย
~ 21 ~
36. เครื่องดนตรีในข้อใดที่ไม่จัดอยู่ในวัฒนธรรมเดียวกัน
1. ซากังรี กู่เจิง ปี่เสน 2. ผีผา โซนา หยางฉิน
3. ตานปุระ ซีตาร์ เชห์ไน 4. ปี่เนห์ มองซาย ซองเกาะ
37. เอกลักษณ์สาคัญที่แสดงให้เห็นถึงลักษณะเฉพาะของดนตรีกัมพูชาคือสิ่งใด
1. เสียงของเครื่องดนตรีจะมีความสดใส
2. นิยมน้ามาใช้ประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อ
3. เป็นต้นแบบของเครื่องดนตรีที่ใช้ในทุกชนชาติ
4. เครื่องดนตรีทุกชนิดถูกออกแบบมาอย่างสวยงาม
38. ประเทศอินโดนีเซียได้รับอิทธิพลเครื่องดนตรีสาริดมาจากวัฒนธรรมใด
1. อินเดีย 2. มาเลเซีย
3. กัมพูชา 4. เวียดนาม
39. ข้อใดเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงสมัย 14 ตุลาคม 2516
1. ขุนวิจิตรมาตราประพันธ์เนื้อเพลงชาติ
2. มีบทเพลงเพื่อชีวิตที่สะท้อนเรื่องราวในสังคมมากขึ้น
3. เกิดการด้าเนินงานเพื่อสร้างจิตส้านึกให้ประชาชนรักชาติ
4. มีการประพันธ์เพลงมหาชัยขึ้นเพื่อใช้ในโอกาสส้าคัญต่างๆ
40. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางดนตรีในประเทศไทย
1. ช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยได้มีการใช้เพลงชาติ
2. ช่วงเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 สถานการณ์บ้านเมืองมีความแตกแยกทางความคิด
3. ช่วงที่สภาพทางภูมิอากาศและภูมิประเทศเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่
4. ช่วงปฏิรูปการปกครองแผ่นดินในสมัยรัชกาลที่ 5
41. ข้อใดไม่จัดเป็นความสาคัญของเครื่องแต่งกายละครไทย
1. สวมใส่เพื่อความวิจิตรงดงาม 2. บ่งบอกถึงประเภทของการแสดง
3. แสดงให้เห็นบุคลิกลักษณะของตัวละคร 4. สะท้อนเอกลักษณ์เครื่องแต่งกายแบบยุโรป
42. การแสดงในข้อใดที่สีชุดของตัวละครมีส่วนสาคัญในการสื่อความหมาย
1. ละครเวที 2. ละครนอก
3. อุปรากรจีน 4. ละครโอเปรา
43. อุปกรณ์การแสดงจัดเป็นส่วนหนึ่งขององค์ประกอบทางนาฏศิลป์หรือไม่ เพราะเหตุใด
1. ไม่เป็น เพราะจะท้าให้การแสดงขาดความเป็นระเบียบเรียบร้อยได้
2. ไม่เป็น เพราะอุปกรณ์การแสดงจะท้าให้ผู้ชมเสียอรรถรสขณะชมการแสดงได้
3. เป็น เพราะในการแสดงนาฏศิลป์ตั้งแต่อดีตมีกฎบังคับให้น้าอุปกรณ์การแสดงมาใช้
4. เป็น เพราะการแสดงนาฏศิลป์บางชุด ต้องมีอุปกรณ์การแสดงเพื่อสร้างความสมจริง
~ 22 ~
44. การมีประสบการณ์เกี่ยวกับงานศิลป์ทุกแขนงมีประโยชน์แก่ผู้วิจารณ์อย่างไรมากที่สุด
1. มีชื่อเสียงอยู่ในวงการ 2. ท้าให้มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล
3. ได้รับเชิญเข้าร่วมการแสดงบ่อยๆ 4. สร้างสรรค์ผลงานที่มีความหลากหลาย
45. เพราะเหตุใดนักวิจารณ์ที่ดีจึงต้องมีความรู้เกี่ยวกับศิลปะในอดีต
1. เพื่อสร้างศักยภาพในการเข้าถึงปรัชญาทางศิลปะ
2. เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทางศิลปะ
3. เพื่อเป็นการต่อยอดความรู้ให้มีความหลากหลาย
4. เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถในการวิจารณ์
46. คาวิจารณ์จะมีประโยชน์ในด้านใดมากที่สุด
1. การสร้างความเชื่อแก่ผู้ชม 2. การผลิตผลงานที่หลากหลาย
3. การพัฒนาผลงานให้มีคุณภาพ 4. การสร้างรายได้ที่มั่นคงให้นักแสดง
47. ข้อใดไม่จัดเป็นหลักเกณฑ์ในการวิจารณ์ทางนาฏศิลป์
1. การบรรยาย 2. การวิเคราะห์
3. การประเมินผล 4. การก้าหนดขอบเขต
48. บุคคลใดที่มีส่วนสาคัญในการพัฒนาการแสดงราวงให้มีความเป็นมาตรฐานมากขึ้น
1. จอมพล ป.พิบูลสงคราม 2. นายมนตรี ตราโมท
3. หลวงวิจิตรวาทการ 4. พระยานัฏกานุรักษ์
49. “ ชาวไทยเจ้าเอ๋ย ขออย่าละเลยในการทาหน้าที่
การที่เราได้เล่นสนุก เปลื้องทุกข์สบายอย่างนี้ ”
จากเนื้อเพลงข้างต้นควรใช้ท่าราในข้อใดจึงจะมีความเหมาะสมมากที่สุด
1. ท่าร้ายั่ว 2. ท่าชักแป้งผัดหน้า
3. ท่าผาลาเพียงไหล่ 4. ท่าสอดสร้อยมาลาแปลง
50. เพราะเหตุใดสถาบันการศึกษาทุกแห่งจึงต้องมีการจัดการเรียนการสอนวิชาการละคร
1. เป็นวิชาที่มีผู้เรียนชื่นชอบเป็นจ้านวนมาก
2. เป็นวิชาที่นิยมน้าไปใช้ในการสอบแข่งขัน
3. เป็นวิชาที่สามารถพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนได้
4. เป็นวิชาที่สามารถสร้างชื่อเสียงให้กับโรงเรียนได้
51. การสร้างฉากที่มีความสวยงามตระการตา จัดเป็นการบูรณาการวิชาความรู้กับสาระใด
1. สาระการงานอาชีพ
2. สาระวิทยาศาสตร์
3. สาระสุขศึกษา
4. สาระศิลปะ
~ 23 ~
52. ลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองในภาคใต้คือสิ่งใด
1. เชื่องช้า โยกย้าย 2. กระชับ รวดเร็ว
3. ดุดัน แข็งกร้าว 4. อ่อนหวาน นุ่มนวล
53. เซิ้งแหย่ไข่มดแดงไม่ได้สื่อถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นข้อใด
1. ภาษาท้องถิ่นอีสาน 2. อาชีพของชาวอีสาน
3. วิถีชีวิตของชาวอีสาน 4. ลักษณะนิสัยของชาวอีสาน
54. ลักษณะวิธีการแสดงตารีกีปัสมีความคล้ายคลึงกับการแสดงชุดใด
1. กรีดยาง 2. ร่อนแร่
3. รองเง็ง 4. ซ้าเป็ง
55. ข้อใดคือจุดประสงค์สาคัญที่สุดของการแสดงนาฏศิลป์ไทย
1. การร้องร้าท้าเพลงเพื่อสร้างความบันเทิงเริงใจ
2. การเต้นร้าประกอบบทเพลงที่มีความหลากหลายในจังหวะ
3. การแสดงสีหน้า ท่าทางที่สอดคล้องไปกับบทละครที่แต่งขึ้น
4. การใช้สรีระต่างๆ ของร่างกายเคลื่อนไหว สื่อความหมายแทนค้าพูด
56. ข้อใดต่างจากพวก
1. ระบ้าเทพบันเทิง
2. ระบ้ามยุราภิรมย์
3. ระบ้าพรหมาสตร์
4. ระบ้ากฤดาภินิหาร
57. “ ดงบงคมกลองด้วยเสียงพาด เสียงพิณ เสียงเลื่อน เสียงขับ ใครจักมักเล่น เล่น ใครจักมักหัว หัว
ใครจักมักเลื้อน เลื้อน ” จากข้อความข้างต้น สะท้อนให้เห็นถึงการแสดงละครไทยอย่างไร
1. การแสดงละครไทยต้องมีเครื่องดนตรีประกอบ
2. ประชาชนทุกคนชอบดูการแสดงละคร
3. ประชาชนทุกคนต้องแสดงละครได้
4. การแสดงละครไทยมีมาช้านาน
58. เพราะเหตุใดในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) จึงถือเป็นยุคทองแห่ง
ศิลปะการแสดง
1. ได้อิทธิพลทางการแสดงมาจากชาติตะวันตก
2. พัฒนารูปแบบการแสดงละครจนเกิดละครใหม่ๆ ขึ้น มากมาย
3. มีบทละครเกิดขึ้นมากมาย เช่น อิเหนา ไกรทอง คาวี ไชยเชษฐ์ เป็นต้น
4. ได้รับการยอมรับว่ามีความสวยงามทัดเทียมละครของประเทศมหาอ้านาจ
~ 24 ~
59. การละครไทยในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) มีจุดเด่นที่แตกต่างไปจาก
ละครในสมัยอื่นๆอย่างไร
1. มีการเข้มงวดกวดขันกันในเรื่องฝีมือการร่ายร้า
2. ต้องการแสดงความงดงามของท่าร้าแข่งกับชาติอื่นๆ
3. มีชาวต่างชาติเข้ามาเป็นครูสอนการแสดงนาฏศิลป์ในวัง
4. ท่าร้ามีเอกลักษณ์เฉพาะที่ไม่สามารถลอกเลียนแบบอย่างได้
60. เพราะเหตุใดการแสดงละครในสมัยรัตนโกสินทร์เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงมากขึ้น
1. พบต้าราเกี่ยวกับการแสดงละคร
2. ได้รับอิทธิพลของละครตะวันตก
3. มีผู้ให้การสนับสนุนการละครมากขึ้น
4. นักแสดงส่วนใหญ่จบการศึกษามาจากต่างประเทศ

~ 25 ~
เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี มัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 2
1. 2 2. 1 3. 3 4. 4 5. 1
6. 2 7. 1 8. 3 9. 1 10. 3
11. 2 12. 4 13. 1 14. 3 15. 1
16. 2 17. 4 18. 3 19. 1 20. 2
21. 4 22. 2 23. 2 24. 3 25. 3
26. 1 27. 4 28. 2 29. 3 30. 1
31. 4 32. 2 33. 3 34. 1 35. 4
36. 1 37. 2 38. 4 39. 2 40. 3
41. 4 42. 3 43. 4 44. 2 45. 1
46. 3 47. 4 48. 1 49. 2 50. 3
51. 4 52. 2 53. 1 54. 3 55. 4
56. 2 57. 4 58. 3 59. 1 60. 2
เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี มัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 1
1. 3 2. 4 3. 1 4. 2 5. 2
6. 4 7. 2 8. 4 9. 3 10. 1
11. 2 12. 4 13. 4 14. 1 15. 4
16. 2 17. 3 18. 4 19. 1 20. 3
21. 4 22. 2 23. 1 24. 3 25. 2
26. 4 27. 2 28. 1 29. 3 30. 2
31. 4 32. 2 33. 3 34. 4 35. 1
36. 4 37. 1 38. 3 39. 2 40. 4
41. 2 42. 3 43. 1 44. 2 45. 4
46. 3 47. 1 48. 2 49. 4 50. 4
51. 3 52. 2 53. 1 54. 3 55. 3
56. 4 57. 3 58. 4 59. 1 60. 2

~ 26 ~
เฉลยแบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 1
เฉลยอย่างละเอียด
1. ตอบ ข้อ 3. เพราะองค์ประกอบศิลป์ จะว่าด้วยการจัดรูปร่าง รูปทรง เส้น สี แสง เงา ลักษณะพื้นผิว
และบริเวณที่ว่าง ให้มีความสัมพันธ์กลมกลืนกัน หรือขัดแย้งกันในส่วนที่เหมาะสมลงตัว
สวยงาม อันเป็นที่มาของสุนทรียภาพ หรือความงามให้ผู้พบเห็นเกิดอารมณ์และความรู้สึก
คล้อยตามไปกับผลงานชิ้นนั้นๆ ดังนั้น องค์ประกอบศิลป์ก็คือ ความพอดี ลงตัว อันเป็น
รากฐานเนื้อหาของงานทัศนศิลป์ อีกทั้งองค์ประกอบศิลป์ยังเป็นเสมือนเครื่องมือที่ส้าคัญ
ทางทัศนศิลป์ให้ผู้สร้างสรรค์ได้สื่อสารความคิดของตนไปสู่บุคคลอื่นๆ ซึ่งไม่เฉพาะ
ทัศนศิลป์ จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และภาพพิมพ์เท่านั้น แต่ยังสามารถ
น้าไปใช้ในงานศิลปะประยุกต์ต่างๆ อีกมากมายหลายแขนง
2. ตอบ ข้อ 4. เพราะผลงานทางทัศนศิลป์ที่สามารถท้าให้ผู้สัมผัสเกิดอารมณ์ประทับใจได้นั้น แสดงถึง
การสร้างสรรค์อย่างถูกต้องตามเกณฑ์ของการจัด อันเป็นพื้นฐานของความงามทางด้าน
ทัศนศิลป์ ซึ่งจะเกิดขึ้นได้ต้องประกอบด้วยองค์ประกอบย่อยๆ หรือที่นิยมเรียกว่า
“ ทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์” ทัศนธาตุที่เป็นพื้นฐานในการน้าไปใช้ เพื่อการสร้างสรรค์
ผลงานทัศนศิลป์จะประกอบไปด้วยจุด เส้น รูปร่าง รูปทรง ลักษณะพื้นผิว พื้นที่ว่าง
น้้าหนักอ่อน-แก่ แสงเงา และสี ส่วนค้าตอบในข้อ 4. เอกภาพ ความสมดุล จัดเป็นการจัด
องค์ประกอบทางทัศนศิลป์
3. ตอบ ข้อ 1. ภาพบ่ายวันอาทิตย์บนเกาะลากร็องด์ฌัต (A Sunday Afternoon on the Island of La Grande
Jatte) ภาพเขียนสีน้้ามันที่มีชื่อเสียงผลงานของฌอร์ฌ ปีแยร์ เซอรา (Georges Pierre Seurat)
จิตรกรชาวฝรั่งเศสผู้มีชื่อเสียงในด้านการวาดภาพ โดยใช้เทคนิคการผสานจุดสี
4. ตอบ ข้อ 2. เพราะเส้น เป็นทัศนธาตุที่ส้าคัญในทางศิลปะ กล่าวได้ว่า เส้นเป็นจุดเริ่มต้นของ
การออกแบบทางทัศนศิลป์ทุกชนิด
5. ตอบ ข้อ 2. เพราะเส้นประ หรือเส้นขาด (Jagged Lines) เป็นเส้นที่ให้ความรู้สึกถึงความไม่เป็น
ระเบียบ สับสน วุ่นวาย ไม่มั่นคง เสื่อมโทรม อันตราย เช่น สิ่งที่ปรักหักพังก้าลังจะ
แตกสลาย รอยร้าวของวัตถุ ลายเส้นที่แสดงความไม่แน่นอน เป็นต้น
6. ตอบ ข้อ 4. เพราะรูปร่าง เกิดจากเส้น และทิศทางของรูปวัตถุที่ถ่ายทอดเป็น 2 มิติ คือ มีความกว้าง
และความยาว อันจะท้าให้ภาพที่ปรากฏนั้นมีลักษณะแบน ส่วนรูปทรง จะเป็นการถ่ายทอด
ออกมาให้เห็นเป็น 3 มิติ คือ มีความกว้าง ความยาว และความหนา อันจะท้าให้ภาพที่
ปรากฏนั้นมีลักษณะเป็นรูปทรงที่มีความลึก หรือความหนา เพราะฉะนั้น รูปร่าง และ
รูปทรงจึงมีความแตกต่างกันที่มิติของผลงาน
~ 27 ~
7. ตอบ ข้อ 2. เพราะอาจารย์สวัสดิ์ ตันติสุข นิยมสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ประเภทจิตรกรรม โดยจะใช้
สีน้้า และสีน้้ามันเป็นหลัก ภาพวาดส่วนใหญ่เป็นภาพเกี่ยวกับทิวทัศน์ มีรายละเอียดของ
ภาพไม่มาก หลายภาพใช้เส้นน้อย ใช้สีไม่มาก โดยสื่อให้เห็นถึงความเคลื่อนไหวเหมือน
จริงตามธรรมชาติ
8. ตอบ ข้อ 4. เพราะอาจารย์กมล ทัศนาญชลี เป็นศิลปินที่มีทักษะความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการสร้างสรรค์
ผลงานทัศนศิลป์ในรูปแบบใหม่ ที่โดดเด่นมากที่สุดจะเป็นผลงานศิลปะสื่อผสม มีทั้งงาน
จิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ประกอบอยู่ในชิ้นงานเดียวกัน ผลงานของอาจารย์
กมล ทัศนาญชลี จะมีลักษณะเฉพาะตัวสูง ท้าให้ผู้ชมที่สัมผัสกับผลงานของท่านไม่กี่ครั้ง
ก็จะสามารถระบุชื่อศิลปินที่สร้างสรรค์ผลงานได้
9. ตอบ ข้อ 3. เพราะการก้าหนดกรอบแนวคิดในการท้างานอย่างคร่าวๆ จะช่วยให้การท้างานกระชับ
ขอบเขตของการท้างานไม่กว้างมากจนเกินไป ไม่ต้องเสียเวลาพิจารณาในหลายๆ เรื่อง
ซึ่งประเด็นที่ควรจะอยู่ในกรอบแนวคิด คือ วาดภาพอะไร เพื่อสื่อความหมาย และเรื่องราว
ใด น่าจะใช้เทคนิคการวาดภาพแบบใด เมื่อได้ก้าหนดกรอบแนวคิดของตนเองแล้ว โดย
ต้องพยายามจินตนาการภาพที่สื่อออกมาให้อยู่ในความคิดของตน การสร้างสรรค์ผลงาน
จะได้แล้วเสร็จออกมาอย่างมีคุณภาพ
10. ตอบ ข้อ 1. เพราะลักษณะเฉพาะที่เด่นของสีน้้า คือ ความโปร่งใส เนื้อสีเบาบาง มีสีสันสวยงาม
ในขณะที่ระบาย ควรใช้พู่กันแตะสีละลายกับน้้า โดยพยายามระบายเพียงครั้งเดียว ไม่ควร
ระบายสีต่างๆ ซ้้า หรือทับกันหลายๆ ครั้ง เพราะจะท้าให้สีหม่น ขาดคุณสมบัติที่โปร่งใส
11. ตอบ ข้อ 2. เพราะการวิจารณ์ และการตัดสินผลงานทางทัศนศิลป์ เนื่องจากไม่มีเครื่องมือในการวัด
และประเมินอย่างทางวิทยาศาสตร์ จ้าเป็นต้องใช้คน (นักวิจารณ์) เป็นผู้วัด หรือตัดสินโดย
อาศัยประสบการณ์ ความสามารถของผู้นั้นเป็นหลัก การตัดสินบางครั้งย่อมมีความ
ผิดพลาด หรือขาดความยุติธรรมได้ ดังนั้น นักวิจารณ์จะต้องมีจรรยาบรรณในการวิจารณ์
มีความเป็นกลาง และเที่ยงธรรมต่อผลงานทัศนศิลป์ทุกรูปแบบ และทุกคน เพื่อสร้างความ
เชื่อมั่นให้กับศิลปินผู้สร้างสรรค์ผลงาน
12. ตอบ ข้อ 4. เพราะนักวิจารณ์จะต้องไม่สนใจเฉพาะทัศนศิลป์ในสาขาที่ตนถนัดเท่านั้น จะต้องสนใจใน
วิทยาการแขนงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับทัศนศิลป์ด้วย เช่น ประวัติศาสตร์ศิลป์ สุนทรียศาสตร์
องค์ประกอบศิลป์ เป็นต้น เพื่อให้รับรู้ถึงความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างศาสตร์สาขาต่างๆ
กับทัศนศิลป์ ท้าให้สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ได้อย่างลุ่มลึกขึ้น ทั้งนี้ เพราะการวิจารณ์โดย
กล่าวอ้างถึงความรู้สึกส่วนตัวแต่เพียงอย่างเดียวจะมีความเลื่อนลอย และไร้เหตุผล ไม่ช่วย
ให้ผลงานทัศนศิลป์มีความน่าสนใจ หรือมีความหมายในแง่มุมที่แตกต่างกันออกไป
~ 28 ~
13. ตอบ ข้อ 4. เพราะการพัฒนาผลงานทัศนศิลป์จะมีประโยชน์ในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. มีความส้าคัญที่จะช่วยให้เกิดความคิดสร้างสรรค์สิ่งแปลกใหม่ทาง
ด้านทัศนศิลป์ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
2. มีความส้าคัญในการพัฒนาตนเองให้เกิดการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งใหม่ๆ
โดยเน้นเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านรูปแบบ เนื้อหา และเทคนิควิธีในการ
สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์
3. มีความส้าคัญต่อการสร้างนิสัยในการท้างานที่ดี โดยไม่ยึดติดกับแบบอย่างที่
ซ้้าซาก หรือตายตัวมากจนเกินไป
4. มีความส้าคัญในการรู้จักประเมินตนเอง เพื่อให้เห็นถึงศักยภาพในการท้างาน
อย่างรอบด้าน จนน้าไปสู่การพัฒนาสร้างสรรค์ผลงานให้เกิดความก้าวหน้า
และสมบูรณ์มากยิ่งๆ ขึ้น
14. ตอบ ข้อ 1. เพราะบุคลิกลักษณะ เป็นลักษณะเฉพาะตัวของแต่ละบุคคล ซึ่งแต่ละบุคคลก็จะมีลักษณะ
ประจ้าตัวแบบใดแบบหนึ่งที่มีความแตกต่างจากบุคคลอื่นๆ ทั้งนี้ บุคลิกลักษณะไม่ได้
หมายความแค่ลักษณะทางด้านรูปร่าง หน้าตาเพียงประการเดียวเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึง
พฤติกรรม อุปนิสัย กิริยาท่าทาง ตลอดจนอารมณ์ของตัวละครนั้นๆ ด้วย
15. ตอบ ข้อ 4. เพราะการโฆษณา เป็นวิธีการสื่อสารที่มุ่งหวังให้เกิดความต้องการของผู้โฆษณา ซึ่ง
รูปแบบของการโฆษณาจะมีอยู่ด้วยกันหลากหลายรูปแบบ แต่ละรูปแบบก็จะมีเป้าหมาย
และหลักการที่แตกต่างกัน เช่น การโฆษณาเชิญชวนเพื่อผลทางธุรกิจ จะเน้นเป็นพิเศษใน
เรื่องการสร้างความน่าสนใจ และโน้มน้าวใจลูกค้าให้ตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า หรือเลือกใช้
บริการของผู้โฆษณา เป็นต้น ซึ่งหลักส้าคัญของงานออกแบบโฆษณาจะอยู่ที่การสื่อความ
เข้าใจให้ตรงกันระหว่างผู้ออกแบบ และผู้พบเห็น
16. ตอบ ข้อ 2. เพราะวัฒนธรรมกับการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ จัดเป็นการเชื่อมโยงระหว่างวิธีการ
ด้าเนินชีวิตกับการสร้างสรรค์ผลงานที่มองเห็นได้ ซึ่งการที่จะท้าความเข้าใจเรื่องดังกล่าว
ได้มากน้อยเพียงใดนั้น ผู้ชมจะต้องอ่านภาษาภาพให้ออก และแปลความหมาย เรื่องราวที่
สะท้อนผ่านภาพในงานทัศนศิลป์ ว่ามีรูปแบบ เนื้อเรื่อง หรือรายละเอียดต่างๆ อย่างไรบ้าง
วัฒนธรรมไทยในงานทัศนศิลป์ปัจจุบัน มีความเกี่ยวพันในลักษณะพึ่งพาต่อกัน โดย
งานทัศนศิลป์จะช่วยส่งเสริมให้วัฒนธรรมยังด้ารงอยู่ และพัฒนาต่อไปได้ ท้าให้ผู้ชมเห็น
ความงาม และเกิดความประทับใจ
17. ตอบ ข้อ 3. เพราะผลงานทัศนศิลป์ประเภทสถาปัตยกรรมที่เกิดขึ้นในสมัยทวารวดีนั้น มักใช้การก่ออิฐ
ถือปูน ไม่นิยมก่อด้วยศิลาแลง รูปสัณฐานของเจดีย์จะท้าเป็นรูปสี่เหลี่ยม องค์สถูปท้าเป็น
รูประฆังคว่้า มียอดเตี้ย เช่น พระปฐมเจดีย์องค์เดิม หรือเจดีย์วัดจุลประโทน จังหวัด
นครปฐม เป็นต้น
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2

More Related Content

What's hot

เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)peter dontoom
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยKhunnawang Khunnawang
 
ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2peter dontoom
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557peter dontoom
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3teerachon
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0Nattarika Wonkumdang
 
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2rojanasak tipnek
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)peter dontoom
 
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6teerachon
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศนข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศนpeter dontoom
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 

What's hot (20)

เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
 
ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
 
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
 
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
 
The criticism of art
The criticism of artThe criticism of art
The criticism of art
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศนข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
 
1 อิศรญาณภาษิต ok
1 อิศรญาณภาษิต  ok1 อิศรญาณภาษิต  ok
1 อิศรญาณภาษิต ok
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 

Viewers also liked

เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2Panomporn Chinchana
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)WoraWat Somwongsaa
 
รายวิชา นาฏศิลป์ 2 รหัส ศ22104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
รายวิชา นาฏศิลป์ 2 รหัส ศ22104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2รายวิชา นาฏศิลป์ 2 รหัส ศ22104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
รายวิชา นาฏศิลป์ 2 รหัส ศ22104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2Prankthip Dao
 
นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2Kruanchalee
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าChakkrawut Mueangkhon
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์Suriyawaranya Asatthasonthi
 

Viewers also liked (7)

เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
 
รายวิชา นาฏศิลป์ 2 รหัส ศ22104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
รายวิชา นาฏศิลป์ 2 รหัส ศ22104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2รายวิชา นาฏศิลป์ 2 รหัส ศ22104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
รายวิชา นาฏศิลป์ 2 รหัส ศ22104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
 
นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
 

Similar to แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2

แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.1
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.1แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.1
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.1teerachon
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
รวมข้อสอบ Onet การงานอาชีพ ม.3
รวมข้อสอบ Onet การงานอาชีพ ม.3รวมข้อสอบ Onet การงานอาชีพ ม.3
รวมข้อสอบ Onet การงานอาชีพ ม.3Tanaporn Nawayo
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
โครงสร้างข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗
โครงสร้างข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗โครงสร้างข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗
โครงสร้างข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗Khunnawang Khunnawang
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบkrutitirut
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 2
รายงานผลจุดเน้นที่ 2รายงานผลจุดเน้นที่ 2
รายงานผลจุดเน้นที่ 2kruchaily
 
Work การงาน
Work การงานWork การงาน
Work การงานthitinan38
 
จุดเน้น 1
จุดเน้น  1จุดเน้น  1
จุดเน้น 1kruchaily
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1kruchaily
 
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1kruchaily
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1kruchaily
 
Report54 1-edit
Report54 1-editReport54 1-edit
Report54 1-editkruchaily
 
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.1แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.1teerachon
 
คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57Suriya Phongsiang
 
คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57Suriya Phongsiang
 
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2teerachon
 

Similar to แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2 (20)

แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.1
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.1แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.1
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.1
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
รวมข้อสอบ Onet การงานอาชีพ ม.3
รวมข้อสอบ Onet การงานอาชีพ ม.3รวมข้อสอบ Onet การงานอาชีพ ม.3
รวมข้อสอบ Onet การงานอาชีพ ม.3
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
โครงสร้างข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗
โครงสร้างข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗โครงสร้างข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗
โครงสร้างข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมสร้างสรรค์ 5 ขวบ
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 2
รายงานผลจุดเน้นที่ 2รายงานผลจุดเน้นที่ 2
รายงานผลจุดเน้นที่ 2
 
Sar arom
Sar aromSar arom
Sar arom
 
Work การงาน
Work การงานWork การงาน
Work การงาน
 
จุดเน้น 1
จุดเน้น  1จุดเน้น  1
จุดเน้น 1
 
Ppp+มิ้น+..
Ppp+มิ้น+..Ppp+มิ้น+..
Ppp+มิ้น+..
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
 
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
 
Report54 1-edit
Report54 1-editReport54 1-edit
Report54 1-edit
 
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.1แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.1
 
Sar2555 1
Sar2555 1Sar2555 1
Sar2555 1
 
คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57
 
คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57
 
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
 

More from teerachon

แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6teerachon
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2teerachon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1teerachon
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1teerachon
 

More from teerachon (20)

แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
 
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
 
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
 

แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2

  • 1. ~ 1 ~ ตารางวิเคราะห์แบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี วิชา ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 1 ข้อ มาตรฐานตัวชี้วัด มฐ ศ1.1 มฐ ศ1.2 มฐ ศ2.1 มฐ ศ2.2 มฐ ศ3.1 มฐ ศ3.2 1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 1 2 3 4 5 1 2 1  2  3  4  5  6  7  8  9  10  11  12  13  14  15  16  17  18  19  20  21  22  23  24  25  26  27  28  29 
  • 2. ~ 2 ~ ข้อ มาตรฐานตัวชี้วัด มฐ ศ1.1 มฐ ศ1.2 มฐ ศ2.1 มฐ ศ2.2 มฐ ศ3.1 มฐ ศ3.2 1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 1 2 3 4 5 1 2 30  31  32  33  34  35  36  37  38  39  40  41  42  43  44  45  46  47  48  49  50  51  52  53  54  55  56  57  58  59  60  
  • 3. ~ 3 ~ ให้วง ⃝ ล้อมรอบตัวเลขหน้าคาตอบที่ถูกต้อง 1. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการจัดองค์ประกอบศิลป์ในงานทัศนศิลป์ 1. แสดงให้เห็นถึงเทคนิคในการสร้างผลงานทัศนศิลป์ที่มีความหลากหลาย 2. ผลงานจะมีราคาสูงขึ้นถ้ามีการจัดองค์ประกอบศิลป์ที่ครบถ้วน 3. ต้องการสร้างสุนทรียภาพให้เกิดขึ้นภายในผลงาน 4. สะท้อนความคิดสร้างสรรค์ของศิลปิน 2. ข้อใดไม่จัดเป็นทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ 1. รูปร่าง รูปทรง 2. จุด บริเวณที่ว่าง 3. สี น้้าหนักอ่อน-แก่ 4. เอกภาพ ความสมดุล 3. จากภาพศิลปินต้องการสื่อให้เห็นทัศนธาตุในข้อใดชัดเจนที่สุด 1. จุด 2. สี 3. รูปร่าง 4. แสงเงา 4. “ จุดเริ่มต้นของการออกแบบทางทัศนศิลป์ทุกชนิด ” จากข้อความนี้มีความหมายตรงกับทัศนธาตุ ในข้อใด 1. สี 2. เส้น 3. ลักษณะพื้นผิว 4. น้้าหนักอ่อน-แก่ 1ศิลปะ ชุดที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 90
  • 4. ~ 4 ~ 5. เส้นชนิดใดให้ความรู้สึกอันตราย 1. 2. 3. 4. 6. ข้อใดที่แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างรูปร่างกับรูปทรงได้ชัดเจนที่สุด 1. ความจุ 2. ขนาด 3. สีสัน 4. มิติ 7. ลักษณะเด่นในการวาดภาพของอาจารย์สวัสดิ์ ตันติสุข มีความสอดคล้องกับข้อใดมากที่สุด 1. เน้นใช้สีที่สดใสและเน้นการแรเงา 2. ใช้เส้นน้อยเป็นรูปร่างและบรรยากาศ 3. ใช้ฝีแปรงขนาดใหญ่ป้ายอย่างรวดเร็ว 4. เก็บรายละเอียดของภาพอย่างประณีต 8. อาจารย์กมล ทัศนาญชลี เป็นศิลปินที่มีการใช้เทคนิคและวัสดุอุปกรณ์แตกต่างจากศิลปินท่านอื่น อย่างไร 1. เป็นงานสื่อผสม ทั้งเทคนิคภาพพิมพ์ จิตรกรรม และประติมากรรม 2. เป็นงานประติมากรรมสมัยใหม่ที่ใช้วัสดุสังเคราะห์หลากหลายชนิด 3. เป็นงานภาพพิมพ์แกะไม้ผสมผสานกับงานประติมากรรมที่ประสานกลมกลืนกันอย่างลงตัว 4. เป็นงานสื่อผสมทั้งเทคนิคภาพพิมพ์ จิตรกรรม และประติมากรรม โดยใช้วัสดุสังเคราะห์ตามแนวคิด ใหม่ 9. เพราะเหตุใดในการวาดภาพสื่อความหมายและเรื่องราวจึงต้องมีการกาหนดกรอบแนวคิด 1. ก้าหนดวัสดุ อุปกรณ์ที่จะน้ามาใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานได้ 2. ศิลปินสามารถแสดงแนวคิดของตนได้อย่างหลากหลาย 3. ท้างานได้อย่างรวดเร็ว เพราะมีขอบเขตที่แน่นอน 4. ระบุราคาขายภาพผลงานได้อย่างเหมาะสม 10. ข้อใดเป็นคุณสมบัติเฉพาะของสีน้าที่นามาใช้ในการเขียนภาพ 1. โปร่งใส เนื้อสีเบาบาง มีสีสันสวยงาม 2. ทึบแสง เนื้อสีเข้มข้น ระบายเรียบสวยงาม 3. ในเนื้อสีจะผสมผสานกันระหว่างทึบแสง กับโปร่งแสง 4. เนื้อสีเหมือนกับสีชนิดอื่นๆ ขึ้นอยู่กับปริมาณที่น้ามาใช้ 11. นักวิจารณ์ที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร 1. มีหอศิลป์จัดแสดงผลงานทัศนศิลป์เป็นของตัวเอง 2. ต้องมีความเที่ยงธรรม และมีความเป็นกลาง 3. เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในวงการสังคม 4. จบการศึกษาขั้นสูงจากต่างประเทศ
  • 5. ~ 5 ~ 12. เพราะเหตุใดนักวิจารณ์จึงต้องมีความรอบรู้ในหลายสาขาวิชา 1. ค้าวิจารณ์จะมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น 2. ได้รับการยอมรับจากผู้รู้ในสาขาทัศนศิลป์ 3. จะใช้ภาษาในการวิจารณ์ที่ง่ายต่อการท้าความเข้าใจ 4. ท้าให้สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ผลงานทัศนศิลป์ได้อย่างลุ่มลึก 13. ข้อใดไม่จัดเป็นความสาคัญในการพัฒนาผลงานทัศนศิลป์ 1. การสร้างนิสัยในการท้างานที่ดี 2. ความคิดสร้างสรรค์สิ่งแปลกใหม่ 3. พัฒนาให้เกิดการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งใหม่ๆ 4. ยกระดับความคิดให้มีความทันสมัยตามทันเทคโนโลยี 14. ข้อใดกล่าวถึงความหมายของคาว่า “บุคลิกลักษณะ” ได้ถูกต้องที่สุด 1. ลักษณะจ้าเพาะตัวของบุคคลแต่ละคน 2. การก้าหนดโครงสร้างของรูปแบบ 3. การถ่ายทอดอารมณ์จากผู้วาด 4. ผู้แสดง หรือตัวละคร 15. หลักสาคัญของการออกแบบโฆษณาคือสิ่งใด 1. ออกแบบส้าหรับธุรกิจการค้า 2. ใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อสาร 3. เน้นที่ความแปลกใหม่ในด้านรูปแบบ 4. สื่อความเข้าใจที่ตรงกันระหว่างผู้ออกแบบและผู้พบเห็น 16. เพราะเหตุใดวัฒนธรรมกับงานทัศนศิลป์จึงไม่สามารถแยกออกจากกันได้ 1. สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นชาติไทย 2. มีความเกี่ยวพันในลักษณะพึ่งพาต่อกัน 3. เป็นเครื่องมือวัดความสามารถของศิลปิน 4. แสดงให้เห็นความงามของผลงานทัศนศิลป์ 17. ข้อใดจัดเป็นผลงานทัศนศิลป์ประเภทสถาปัตยกรรมที่เกิดขึ้นในสมัยทวารวดี 1. 2. 3. 4.
  • 6. ~ 6 ~ 18. ประติมากรรมสมัยลพบุรีมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นอย่างไร 1. แสดงลักษณะที่อ่อนหวานและนุ่มนวล 2. ขนาดสูงใหญ่กว่าล้าตัวของมนุษย์ 3-5 เท่า 3. สวมเครื่องแต่งกายเลียนแบบเครื่องทรงของกษัตริย์ 4. ให้ความรู้สึกหนักแน่นด้วยเส้นและปริมาตรที่แน่นอน 19. จากภาพจัดเป็นปฏิมากรรมที่เกิดขึ้นในสมัยใด 1. สมัยเชียงแสน 2. สมัยทวารวดี 3. สมัยศรีวิชัย 4. สมัยลพบุรี 20. การออกแบบงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยมีความแตกต่างไปจากวัฒนธรรมอื่นๆ หรือไม่ เพราะเหตุใด 1. แตกต่างกัน เพราะมีต้นก้าเนิดที่แตกต่างกัน 2. แตกต่างกัน เพราะได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย 3. ไม่แตกต่างกัน เพราะเป็นงานทัศนศิลป์ที่มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง 4. ไม่แตกต่างกัน เพราะจัดเป็นงานทัศนศิลป์ที่มีรูปแบบเช่นเดียวกันทุกประเภท 21. เพราะเหตุใดในการเรียนวิชาดนตรีจึงต้องศึกษาในเรื่ององค์ประกอบของดนตรีควบคู่กันไปด้วย 1. ท้าให้สามารถสร้างท้านองได้หลากหลาย 2. จะท้าให้เข้าใจเรื่องราวของดนตรีชัดเจน 3. บทเพลงมีความเป็นสากลมากยิ่งขึ้น 4. จัดเป็นส่วนหนึ่งของบทเพลง 22. ดนตรีมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตมนุษย์อย่างไรมากที่สุด 1. เป็นสิ่งที่ช่วยสร้างความแข็งแรงให้แก่ร่างกาย 2. เป็นส่วนหนึ่งในกิจกรรมการด้าเนินชีวิตของมนุษย์ 3. เป็นผลงานที่สามารถสร้างชื่อเสียงให้แก่ประเทศชาติ 4. เป็นสิ่งที่ช่วยกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาทางเทคโนโลยี 23. “ สิ่งที่ทาให้ดนตรีสามารถขับเคลื่อนได้อย่างเป็นระบบ ” จากข้อความนี้หมายถึงสิ่งใด 1. จังหวะ 2. ท้านอง 3. บันไดเสียง 4. มาตราเสียง
  • 7. ~ 7 ~ 24. จังหวะหน้าทับมีลักษณะที่พิเศษอย่างไร 1. น้าฉิ่งมาใช้เป็นหลักในการสร้างจังหวะดนตรี 2. จังหวะที่ได้มีความหลากหลายทางท้านองเพลง 3. สร้างท้านองเพลงด้วยเครื่องดนตรีประเภทหนัง 4. เป็นจังหวะที่นักดนตรียึดเป็นหลักในการบรรเลงและขับร้อง 25. เครื่องหมายในข้อใดทาหน้าที่ในการแปลงเสียงของตัวโน้ตให้มีระดับเสียงสูงขึ้น ½ เสียง 1. 2. 3. 4. 26. เพราะเหตุใดในการประพันธ์เพลงจึงต้องมีการพิจารณาในเรื่องเสียงควบคู่กันไปด้วย 1. เพราะในหนึ่งบทเพลงจะได้ปรากฏรูปแบบของเสียงที่มีความหลากหลาย 2. เพราะต้องการสร้างเสียงดนตรีให้มีความแตกต่างกับเสียงของดนตรีในชาติอื่นๆ 3. เพราะเสียงแต่ละเสียงมีความเหมาะสมในการน้ามาใช้กับเครื่องดนตรีแต่ละประเภท 4. เพราะจะท้าให้เสียงที่น้ามาเรียบเรียงมีความสอดประสานกลมกลืนกันอย่างเหมาะสม 27. ธรรมชาติมีส่วนสาคัญต่อการสร้างสรรค์บทเพลงอย่างไรมากที่สุด 1. มีการสร้างท้านองเพลงที่มีความพลิ้วไหว 2. ใช้เป็นแรงบันดาลใจในการประพันธ์เพลง 3. สร้างเสียงดนตรีที่มีความหลายหลายไปตามวัฒนธรรม 4. เป็นต้นแบบในการสร้างเสียงดนตรีที่เหมือนจริงตามธรรมชาติ 28. เพราะเหตุใดการขับร้องเพลงไทยมีความแตกต่างจากการขับร้องเพลงสากล 1. มีลักษณะเด่นอยู่ที่การเอื้อนเสียง 2. ศิลปินจะมีเนื้อเสียงที่ไม่เหมือนกัน 3. ใช้จังหวะและท้านองดนตรีต่างกัน 4. เพลงที่น้ามาขับร้องเกิดขึ้นคนละยุคสมัย 29. เพราะเหตุใดการขับร้องเพลงไทยที่ดีจึงต้องออกเสียงให้เต็มเสียงตามจังหวะและทานองของเพลง 1. เสียงขับร้องจะได้ดังกลบทับเสียงเครื่องดนตรี 2. ผู้ฟังจะได้ยินเสียงที่ดังกังวาน และชัดเจน 3. บทเพลงจะมีความไพเราะมากยิ่งขึ้น 4. ลดการใช้อุปกรณ์ขยายเสียง 30. “ พวกเราเหล่ามาชุมนุม ต่างกุมใจรัก สมัครสมาน ล้วนมิตร จิตชื่นบาน สราญเริงอยู่ ทุกผู้ทุกนาม ฯ ” ในการขับร้องเพลงดังเนื้อร้องข้างต้นควรมีการแสดงอารมณ์อย่างไรจึงจะมีความเหมาะสมมากที่สุด 1. อารมณ์โกรธ 2. อารมณ์ฮึกเหิม 3. อารมณ์โศกเศร้า 4. อารมณ์เบิกบานใจ
  • 8. ~ 8 ~ 31. ข้อใดตอบถูกต้องเกี่ยวกับคุณภาพของเสียง 1. ความสูง-ต่้าของเสียงเกิดจากจ้านวนความถี่ของการสั่นสะเทือน 2. ความหนัก-เบาของเสียงช่วยสนับสนุนเสียงให้มีจังหวะที่สมบูรณ์ 3. ความยาว-สั้นของเสียงเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ในการก้าหนดจังหวะเพลง 4. คุณภาพของแหล่งก้าเนิดเสียงที่แตกต่างกันจะท้าให้ผู้ฟังสามารถแยกแยะสีสันของเสียงได้อย่าง ชัดเจน 32. ถ้านักเรียนได้รับมอบหมายให้ประเมินคุณภาพด้านเสียงของผู้ขับร้อง นักเรียนจะประเมินในเรื่องใด เป็นหลัก 1. ประสบการณ์ของผู้ขับร้อง 2. ความถูกต้องด้านอักขรวิธี 3. รูปร่างหน้าตาของผู้ขับร้อง 4. เนื้อเพลงที่น้ามาใช้ในการขับร้อง 33. ข้อใดไม่ใช่บทบาทของดนตรีที่มีต่อสังคมและวัฒนธรรมไทย 1. ช่วยในการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทย 2. ท้าให้เศรษฐกิจไทยเจริญก้าวหน้า 3. ท้าให้คนไทยใช้จ่ายเงินฟุ่มเฟือย 4. ช่วยให้ธุรกิจดนตรีขยายตัว 34. พรรัมภา เป็นผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในเรื่องการปฏิบัติต่อเครื่องดนตรีไทยและสากลตามหลัก ทฤษฎีวิชาดนตรี และมีประสบการณ์ในการสอนดนตรี พรรัมภา ควรประกอบอาชีพใดจึงจะ เหมาะสมมากที่สุด 1. นักวิชาการดนตรี 2. นักประพันธ์เพลง 3. นักอ้านวยเพลง 4. ครูดนตรี 35. ข้อใดแสดงให้เห็นถึงแนวคิดสาคัญในการสร้างสรรค์ผลงานทางดนตรีในวัฒนธรรมอินเดีย 1. เน้นในเรื่องท้านอง บันไดเสียง จังหวะและเสียงหนัก-เบา 2. ความพิถีพิถันในการเลือกวัสดุ อุปกรณ์มาสร้างเครื่องดนตรี 3. คัดเลือกนักดนตรีที่สามารถบรรเลงดนตรีได้อย่างหลากหลายเท่านั้น 4. ผู้ประพันธ์เพลงต้องมีชื่อเสียง และมีความสามารถทางดนตรีเป็นอย่างมาก 36. เพราะเหตุใดอินเดียจึงได้รับการขนานนามว่า “ เจ้าแห่งจังหวะ ” 1. สร้างจังหวะโดยไม่ต้องใช้เครื่องดนตรี 2. จังหวะดนตรีมีรูปแบบที่หลากหลาย 3. เป็นต้นแบบการสร้างจังหวะดนตรี 4. นิยมน้ากลองมาใช้ในการบรรเลง 37. เครื่องดนตรีชนิดใดที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับซอสามสายของประเทศไทย 1. Tro 2. Saung 3. Khene 4. Gambus
  • 9. ~ 9 ~ 38. ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับที่มาของดนตรีในวัฒนธรรมเวียดนาม 1. ดนตรีมีความเกี่ยวพันกับความเชื่อในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู 2. ดนตรีได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากประเทศอินเดีย 3. ดนตรีที่มีชื่อเสียงเป็นผลงานที่เกิดขึ้นในยุคส้าริด 4. ดนตรีมีความหลากหลายในรูปแบบของเสียง 39. ข้อใดเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีกับงานดนตรี 1. มีแนวคิดเกี่ยวกับเพลงเกียรติยศส้าหรับบุคคลส้าคัญของชาติมาจากชาวตะวันตก 2. โทมัส อัลวา เอดิสัน ประดิษฐ์เครื่องมือส้าหรับใช้บันทึกเสียงดนตรีขึ้น 3. ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตย 4. สภาพเหตุการณ์บ้านเมืองมีความแตกแยกทางความคิด 40. วิทยุได้เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงการปกครองอย่างไรมากที่สุด 1. ใช้สร้างความบันเทิงให้แก่ประชาชน 2. ใช้เป็นเกณฑ์วัดมาตรฐานเรื่องรายได้ 3. ใช้เป็นเครื่องแสดงความมีอารยธรรมของประเทศ 4. ใช้กระจายเสียงเป็นสื่อในการเผยแพร่ความรู้เรื่องการปกครอง 41. แสงมีความสาคัญต่อการจัดการแสดงอย่างไรมากที่สุด 1. ช่วยให้บรรยากาศดูไม่น่ากลัว 2. ช่วยเน้นจุดเด่นของลีลาการแสดง 3. ช่วยให้เกิดสุนทรียภาพในการชมการแสดง 4. ช่วยให้การมองเห็นของผู้ชมมีประสิทธิภาพมากขึ้น 42. เพราะเหตุใดจึงมีการนาฉาก แสง สี เสียงมาใช้ประกอบการแสดงนาฏศิลป์ 1. ดึงดูดความสนใจของผู้ชม 2. เพิ่มยอดจ้าน่ายบัตรเข้าชมการแสดง 3. ท้าให้การแสดงมีความสมจริงมากขึ้น 4. ผู้ที่ท้าหน้าที่ออกแบบฉาก แสง สี เสียงเป็นที่รู้จักมากขึ้น 43. ข้อใดไม่จัดเป็นประโยชน์ของการนาดนตรีมาใช้ประกอบการแสดง 1. พื้นที่ของเวทีจะไม่มีบริเวณว่าง 2. เสริมสร้างให้การแสดงสมบูรณ์ 3. สื่อความหมายในการแสดงได้ชัดเจน 4. ช่วยเสริมสร้างบรรยากาศในการแสดง
  • 10. ~ 10 ~ 44. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการวิเคราะห์ วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์ 1. จะท้าให้ผู้ชมหันมาสนใจการแสดงมากขึ้น 2. จะได้น้าผลที่ได้รับไปพัฒนาผลงานให้ดียิ่งๆ ขึ้น 3. การแสดงจะได้มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของสังคม 4. จะท้าให้ยอดจ้าหน่าย CD หรือ DVD ทางนาฏศิลป์สูงขึ้น 45. นาฏศิลป์ไทยมีคุณค่าและประโยชน์แก่เยาวชนไทยหรือไม่ เพราะเหตุใด 1. ไม่มี เพราะเป็นการแสดงที่หาชมได้ยาก 2. ไม่มี เพราะเป็นสิ่งโบราณที่ไม่มีการพัฒนาให้ทันสมัย 3. มี เพราะเป็นการแสดงที่มีความสวยงามในเรื่องของการแต่งกาย 4. มี เพราะเป็นเครื่องหมายแสดงความเป็นชาติที่มีมรดกทางวัฒนธรรม 46. ข้อใดไม่มีความเกี่ยวข้องกับคาว่า “ ศิลปวิจารณ์ ” 1. การใช้ถ้อยค้าเพื่อสื่อความคิด 2. ใช้ในการแก้ไข และพัฒนาผลงาน 3. สร้างมูลค่าของผลงานให้สูงขึ้นกว่าปกติ 4. สามารถวิจารณ์ได้ด้วยการพูด และเขียน 47. เพราะเหตุใดผู้วิจารณ์จึงต้องมีความรู้เป็นอย่างดีในสาขาที่จะวิจารณ์ 1. จะวิจารณ์ได้อย่างถูกต้องและมีเหตุผล 2. ค้าวิจารณ์จะเป็นที่ยอมรับในวงสังคม 3. สามารถสร้างความเชื่อให้แก่ผู้ชมได้ 4. สร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้เข้าชม 48. ข้อใดอธิบายเกี่ยวกับความหมายของราวงมาตรฐานไม่ถูกต้อง 1. จัดเป็นการละเล่นพื้นบ้านอย่างหนึ่งที่สนุกสนาน 2. ใช้ฉิ่งเป็นเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ 3. เป็นศิลปะแห่งการร้าวงที่งดงาม 4. พัฒนามาจากการเล่นร้าโทน 49. บทเพลงที่นามาใช้ในการขับร้องประกอบการราวงส่วนใหญ่จะมีลักษณะอย่างไร 1. มีการน้าค้าราชาศัพท์มาแทรกไว้ในบทเพลง 2. เน้นการใช้ค้าที่มีทั้งแบบสัมผัสนอก และสัมผัสใน 3. บทเพลงจะสะท้อนสภาพบ้านเมือง และสังคมปัจจุบัน 4. ใช้ภาษาที่เรียบง่าย ไม่พิถีพิถันในเรื่องถ้อยค้า และสัมผัส 50. ข้อใดอธิบายความสาคัญในการนาวิชาต่างๆ มาบูรณาการให้นักเรียนได้เรียนรู้มากที่สุด 1. นักเรียนสามารถเข้าใจเนื้อหาในบทเรียนง่ายขึ้น 2. นักเรียนสามารถแสดงแนวคิดอยู่ในกรอบที่ครูก้าหนดไว้ได้ 3. นักเรียนสามารถถ่ายทอดเรื่องราวที่เรียนให้บุคคลภายนอกรับรู้ได้ 4. นักเรียนสามารถน้าความรู้ที่ได้มาใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ้าวัน
  • 11. ~ 11 ~ 51. บุคคลในข้อใดสามารถนาความรู้เกี่ยวกับละครมาใช้บูรณาการกับวิชาอื่นๆ ได้อย่างเหมาะสมที่สุด 1. ส้ม ใช้เวลาในวันหยุดออกไปขายหนังสือพิมพ์เป็นอาชีพเสริม 2. น้้าตาล น้ากระดาษที่ใช้แล้วมาพับเป็นถุง แล้วน้าไปจ้าหน่าย 3. ชมพู ฝึกเขียนบทละครโดยน้านิทานมาใช้เป็นโครงเรื่อง 4. แดง ชอบร้องเพลงที่ตู้คาราโอเกะในห้างสรรพสินค้า 52. การแสดงนาฏศิลป์ชนิดใดที่สามารถสะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนในสังคมได้ ชัดเจนที่สุด 1. นาฏศิลป์ชาวบ้าน 2. นาฏศิลป์พื้นเมือง 3. นาฏศิลป์เบ็ดเตล็ด 4. นาฏศิลป์มาตรฐาน 53. การแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองในแต่ละภาคจะมีลักษณะที่คล้ายคลึงกันในเรื่องใดมากที่สุด 1. สร้างความสนุกสนานในงานเทศกาลต่างๆ 2. แหล่งก้าเนิด หรือที่มาของการแสดง 3. จ้านวนนักแสดงที่ใช้ในแต่ละครั้ง 4. การออกแบบเครื่องแต่งกาย 54. ข้อใดไม่ใช่การแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองภาคเหนือ 1. ฟ้อนวี 2. ฟ้อนเจิง 3. ฟ้อนภูไท 4. ฟ้อนดาบ 55. ในการราหมู่ที่ดีนักแสดงควรยึดหลักปฏิบัติยกเว้นข้อใด 1. สมาธิมั่นคง 2. แม่นย้าในท่าร้า 3. แต่งหน้าด้วยสีสดใส 4. รักษากฎระเบียบในการตั้งแถว 56. การแสดงนาฏศิลป์ชุดใดจะเน้นความสามารถของนักแสดงเป็นหลัก 1. สีนวล 2. รองเง็ง 3. ตารีกีปัส 4. ฉุยฉายเบญกาย 57. การละครในสมัยใดที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของการแสดงละครไปจากเดิมมากนัก 1. สมัยสุโขทัย 2. สมัยอยุธยา 3. สมัยธนบุรี 4. สมัยรัตนโกสินทร์ 58. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการศึกษาเกี่ยวกับที่มาของการแสดงละคร 1. ละครเป็นเครื่องราชูปโภคอย่างหนึ่งของพระมหากษัตริย์ 2. ละครสามารถน้ามาใช้ในการบ้าบัดรักษาโรคทางจิตเวชได้เป็นอย่างดี 3. ละครเป็นสื่อกลางที่ใช้ในการถ่ายทอดความคิดจากรุ่นหนึ่งสู่รุ่นหนึ่ง 4. ละครสามารถสะท้อนให้เห็นภาพประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรมได้
  • 12. ~ 12 ~ 59. เพราะเหตุใดจึงมีคากล่าวว่า “ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) เป็นสมัยที่ การละครได้เจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด ” 1. พระมหากษัตริย์ทรงให้การสนับสนุน 2. การละครไทยได้แพร่หลายไปยังต่างประเทศ 3. เกิดนักแสดงที่มีชื่อเสียงด้านการละครหลายท่าน 4. ประชาชนนิยมฝึกหัดการแสดงละครเพื่อใช้ประกอบอาชีพ 60. เพราะเหตุใดในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7) การละครจึงมีรูปแบบที่ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเป็นอย่างมาก 1. ประชาชนลดความนิยมลง 2. เกิดภาวะสงครามโลกครั้งที่ 2 3. ศิลปินถูกย้ายโอนไปสังกัดท้างานในหน่วยอื่นๆ 4. ต้องการสร้างประเทศให้มีอารยธรรมทัดเทียมกับตะวันตก 
  • 13. ~ 13 ~ ตารางวิเคราะห์แบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี วิชา ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 2 ข้อ มาตรฐานตัวชี้วัด มฐ ศ1.1 มฐ ศ1.2 มฐ ศ2.1 มฐ ศ2.2 มฐ ศ3.1 มฐ ศ3.2 1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 1 2 3 4 5 1 2 1  2  3  4  5  6  7  8  9  10  11  12  13  14  15  16  17  18  19  20  21  22  23  24  25  26  27  28  29 
  • 14. ~ 14 ~ ข้อ มาตรฐานตัวชี้วัด มฐ ศ1.1 มฐ ศ1.2 มฐ ศ2.1 มฐ ศ2.2 มฐ ศ3.1 มฐ ศ3.2 1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 1 2 3 4 5 1 2 30  31  32  33  34  35  36  37  38  39  40  41  42  43  44  45  46  47  48  49  50  51  52  53  54  55  56  57  58  59  60  
  • 15. ~ 15 ~ ให้วง ⃝ ล้อมรอบตัวเลขหน้าคาตอบที่ถูกต้อง 1. การสร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ทั้งการจัดองค์ประกอบ และความงาม โดยอาศัยหลักเกณฑ์ตรงกับข้อใด 1. ยึดวิธีการวาดโดยเน้นการใช้เส้น แสงเงา และสี 2. ยึดหลักเกณฑ์ความเป็นเอกภาพ ความสมดุล และความกลมกลืน 3. ยึดหลักธรรมชาติเป็นส้าคัญเพื่อให้ได้ความงดงาม และความเหมือนจริง 4. ยึดหลักการใช้เทคนิคที่มีความหลากหลาย เพื่อให้ได้ผลงานที่มีความแปลกใหม่ 2. ในการเรียนวิชาทัศนศิลป์ สิ่งสาคัญอันดับแรกที่นักเรียนจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจมากที่สุด คือเรื่องใด 1. นักเรียนจะต้องเข้าใจทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์อันเป็นส่วนประกอบของการมองเห็น 2. นักเรียนจะต้องมีความเข้าใจในเรื่องรูปร่าง รูปทรง แสงเงาที่ปรากฏอยู่ในธรรมชาติ 3. นักเรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการจะวาด และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการวาด 4. นักเรียนจะต้องมีความรู้ในเรื่องลักษณะของเส้นต่างๆ และวิธีการระบายสี 3. ภาพในข้อใดจัดเป็นรูปทรงอิสระ หรือดัดแปลง 1. 2. 3. 4. 1ศิลปะ ชุดที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 90
  • 16. ~ 16 ~ 4. เพราะเหตุใดการแบ่งที่ว่างจึงต้องให้มีความสมดุลกัน 1. ภาพมีความสวยงามมากขึ้น 2. ประหยัดเวลาในการระบายสี 3. แบ่งแยกภาพให้มีความชัดเจน 4. เมื่อมองแล้วเกิดความสบายตา 5. จากภาพศิลปินต้องการสื่อให้เห็นทัศนธาตุใดมากที่สุด 1. น้้าหนักอ่อน-แก่ 2. ลักษณะพื้นผิว 3. บริเวณว่าง 4. รูปร่าง 6. “ เมื่อสัมผัสจะเกิดความรู้สึกที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริง ” จากข้อความนี้หมายถึงลักษณะที่พิเศษของ ทัศนธาตุใด 1. น้้าหนักอ่อน-แก่ 2. ลักษณะพื้นผิว 3. รูปทรง 4. เส้น 7. “ การใช้ฝีแปรงป้ายปาดอย่างฉับไว แสดงรูปร่าง รูปทรงอย่างคร่าวๆ ไม่เน้นรายละเอียด แต่เน้นการสื่อ ความหมาย และอารมณ์ ” เป็นเทคนิคการสร้างสรรค์ผลงานของศิลปินท่านใด 1. ถวัลย์ ดัชนี 2. สวัสดิ์ ตันติสุข 3. กมล ทัศนาญชลี 4. ช้าเรือง วิเชียรเขตต์ 8. งานประติมากรรมของอาจารย์นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน ส่วนใหญ่มักเกี่ยวข้องกับเรื่องใด 1. วิถีชีวิต สภาพความเป็นอยู่ของคนไทย 2. การเสียดสี ล้อเลียนการเมือง 3. แนวคิดทางพระพุทธศาสนา 4. สภาพสังคมในปัจจุบัน 9. ข้อใดจัดเป็นคุณลักษณะเฉพาะของสีโปสเตอร์ที่นามาใช้ในการเขียนภาพ 1. ทึบแสง เนื้อสีข้น ระบายทับซ้อนกันได้ 2. มีวิธีการใช้เช่นเดียวกันกับการใช้สีอะคริลิก 3. นิยมน้ามาระบายภาพจิตรกรรมฝาผนังเช่นเดียวกับสีฝุ่น 4. ไม่สามารถน้ามาใช้ระบายภาพที่ต้องการความละเอียดมาก
  • 17. ~ 17 ~ 10. ข้อใดแสดงถึงการใช้เทคนิคการวาดภาพด้วยเทคนิคผสม 1. ไก่ วาดภาพทิวทัศน์ด้วยการใช้สีน้้าระบายลงบนกระดาษ และระบายทับซ้อนกันในหลายๆ แห่ง 2. แก่น วาดภาพหุ่นนิ่งเป็นรูปผลไม้นานาชนิดด้วยสีโปสเตอร์ พร้อมทั้งเลือกใช้สีที่สดใสท้าให้ ภาพสวยงามขึ้น 3. แก้ว วาดภาพประกอบนิทานใช้เทคนิคการวาดภาพที่หลากหลาย ทั้งใช้ลายเส้นของปากกา สีน้้าและ สีโปสเตอร์ 4. กิ่ง วาดภาพสิ่งก่อสร้างที่มีความเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา โดยใช้วิธีการร่างภาพด้วยปากกา แล้ว ใช้สีน้้าระบาย 11. สิ่งใดคือปัญหาที่พบได้จากนักวิจารณ์งานทัศนศิลป์สมัครเล่น 1. ความคิดที่ทันสมัย 2. เวทีส้าหรับวิจารณ์ 3. ผู้ให้การสนับสนุน 4. ความรู้เกี่ยวกับทัศนศิลป์ 12. การวิจารณ์จะมีคุณค่าหรือไม่นั้นจะขึ้นอยู่กับบุคคลใดเป็นสาคัญ 1. ศิลปินผู้สร้างสรรค์ผลงาน 2. นักสะสมผลงานทัศนศิลป์ 3. เจ้าของแกลเลอรี่ที่ใช้แสดงผลงาน 4. บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงานทัศนศิลป์ 13. การจัดทาแฟ้มสะสมผลงานมีประโยชน์ต่อตัวนักเรียนยกเว้นในข้อใด 1. น้าไปใช้ในการพิจารณาเพิ่มผลคะแนนในการเรียน 2. ใช้เป็นเครื่องมือครูในการประเมินผลตามสภาพจริง 3. เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลที่ใช้เก็บผลงานที่มีความโดดเด่น 4. แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าและความส้าเร็จในการเรียน 14. ถ้านักเรียนต้องการวาดภาพการ์ตูนที่ดีควรคานึงถึงเรื่องใดเป็นหลัก 1. ภาพลายเส้นที่เรียบง่าย สื่อวิถีชีวิตในสังคมได้ดี 2. ภาพที่มีเส้นคมชัด ใช้สีที่เกินจริงไปจากธรรมชาติ 3. ภาพที่เรียบง่าย สื่อสารอารมณ์ ความรู้สึกได้ดี มีบุคลิกที่จ้าง่าย 4. ภาพสื่อให้เห็นถึงรูปแบบที่เรียบง่าย มีความสมจริงตามธรรมชาติ 15. การชี้แจงเกี่ยวกับแผนงาน หรือนโยบายของหน่วยงานทางราชการเป็นการโฆษณาเพื่อจุดประสงค์ใด เป็นสาคัญ 1. เพื่อความเข้าใจร่วมกันในสังคม 2. เพื่อรณรงค์ หรือต่อต้าน 3. เพื่อสืบสานวัฒนธรรม 4. เพื่อผลทางธุรกิจ
  • 18. ~ 18 ~ 16. ข้อใดอธิบายความหมายของคาว่าวัฒนธรรมได้ถูกต้องมากที่สุด 1. สิ่งที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา ไม่สามารถบอกได้ว่าสิ่งเหล่านั้นมีความเหมาะสมกับยุคสมัยหรือไม่ 2. สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เพื่อความเจริญงอกงามในวิถีแห่งชีวิตของส่วนรวม สามารถถ่ายทอดได้ 3. สิ่งที่ได้รับมาจากอารยธรรมตะวันตก มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงให้มีรูปแบบเป็นของไทย 4. สิ่งที่กลุ่มชนกลุ่มหนึ่งพึงประพฤติ ปฏิบัติ และช่วยกันด้ารงรักษาไว้อย่างเหนียวแน่น 17. เพราะเหตุใดพระพุทธรูปในสมัยสุโขทัยจึงเป็นต้นแบบในการสร้างพระพุทธรูปในสมัยอื่นๆ 1. แต่งกายเครื่องทรงแบบกษัตริย์ 2. ใช้วัสดุที่มีความแข็งแรง ทนทาน 3. ได้รับรูปแบบมาจากศิลปะอินเดีย 4. เป็นพุทธศิลป์ที่มีความสวยงามลงตัว 18. สิ่งใดคือความแตกต่างระหว่างพระพุทธรูปแบบทรงเครื่องใหญ่และพระพุทธรูปแบบทรงเครื่องน้อย 1. สี 2. ขนาด 3. พุทธลักษณะ 4. วัสดุที่น้ามาใช้ 19. เพราะเหตุใดภาพจิตรกรรมในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นจึงมีลักษณะแบบจีนผสมผสานอยู่มาก 1. ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมมาจากประเทศจีน 2. ต้องการสร้างงานศิลปะที่มีความแตกต่างจากศิลปะแบบเดิมๆ 3. แสดงให้เห็นฝีมือของศิลปินในสมัยรัตนโกสินทร์ที่สามารถสร้างงานได้อย่างหลากหลาย 4. ไทยเคยตกเป็นเมืองขึ้นของจีน จึงได้น้าความรู้ด้านศิลปะของจีนมาปรับใช้ให้มีแบบอย่างเป็น ของไทย 20. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับผลงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมสากลช่วงระยะแรก 1. เสนอแนวคิดที่สะท้อนสังคม หรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับการด้ารงชีวิต 2. ผลงานมีความทันสมัย และตอบสนองความต้องการทางเทคโนโลยี 3. มีการพัฒนาโดยจะเน้นเรื่องราวเกี่ยวกับศาสนาคริสต์ 4. ได้รับอิทธิพลเกี่ยวกับความเชื่อ และจิตวิญญาณ 21. ข้อใดไม่จัดเป็นองค์ประกอบของดนตรี 1. เสียง 2. จังหวะ 3. ท้านองเพลง 4. อารมณ์เพลง 22. เพราะเหตุใดจึงมีคากล่าวว่า “ ดนตรีไทยเป็นสมบัติทางศิลปวัฒนธรรมร่วมกันของคนทั้งชาติ ” 1. ดนตรีสามารถน้าไปพัฒนาควบคู่กับเทคโนโลยีได้อย่างมากมาย 2. ดนตรีได้เข้ามามีบทบาทเกี่ยวข้องกับการด้าเนินชีวิตของมนุษย์ 3. ดนตรีจะถ่ายทอดให้เห็นถึงพลังที่เข้มแข็งผ่านทางบทเพลง 4. ดนตรีเป็นสื่อเชื่อมโยงความสามัคคีระหว่างคนในชาติ
  • 19. ~ 19 ~ 23. อัตราจังหวะถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทาหน้าที่ใด 1. สร้างสีสันของเสียงให้ไพเราะ 2. จัดแบ่งจังหวะเคาะออกเป็นกลุ่ม 3. ก้าหนดตัวโน้ตบนบรรทัด 5 เส้น 4. จ้าแนกเสียงสูง และเสียงต่้าออกจากกัน 24. ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ด ด ด ด ร ร ร ร ม ม ม ม ฟ ฟ ฟ ฟ ข้อใดมีความสัมพันธ์กับข้อความด้านบนมากที่สุด 1. อัตราจังหวะผสมที่มีทั้งความสั้น ปานกลาง ไปจนถึงยาวที่สุด 2. อัตราที่มีจังหวะยาวมากที่สุด มีความยาวเท่ากับอัตราจังหวะ 2 ชั้น 3. อัตราจังหวะที่มีความยาวปานกลาง สั้นกว่าอัตราจังหวะ 3 ชั้น 1 เท่า 4. อัตราจังหวะที่สั้นที่สุด มีความยาวเท่ากับครึ่งหนึ่งของอัตราจังหวะ 2 ชั้น 25. จากภาพมีความหมายตรงกับข้อใด 1. มีไว้ส้าหรับแปลงเสียงของตัวโน้ตที่มีระดับสูงขึ้น หรือต่้าลง ½ เสียง ให้กลับมาเป็นเสียงปกติ 2. มีไว้ส้าหรับแปลงเสียงของตัวโน้ตให้มีระดับเสียงสูงขึ้นสองครึ่งเสียง หรือ 1 เสียงเต็ม 3. มีไว้ส้าหรับแปลงเสียงของตัวโน้ตให้มีระดับเสียงต่้า หรือลดลง ½ เสียง 4. มีไว้ส้าหรับแปลงเสียงของตัวโน้ตให้มีระดับเสียงสูงขึ้น ½ เสียง 26. ข้อใดจัดเป็นบทเพลงที่ได้รับอิทธิพลมาจากการประกอบอาชีพ 1. เพลงลาวกระทบไม้ 2. เพลงลาวดวงเดือน 3. เพลงนางครวญ 4. เพลงทยอย 27. บุคคลใดเลือกใช้เทคนิคและการแสดงออกในการจินตนาการในการสร้างสรรค์บทเพลงได้ถูกต้อง มาก ที่สุด 1. มะเฟือง น้าผลงานของผู้อื่นมาดัดแปลงเป็นผลงานของตนเอง 2. มะยม ยึดรูปแบบเพลงเก่า เพราะกลัวไม่ได้รับความนิยม 3. มะนาว เลือกแต่งเพลงเศร้าด้วยจังหวะที่กระชับ เร้าใจ 4. มะขาม ใช้เสียงในระดับปานกลางในการแต่งเพลง 28. การหายใจที่ถูกต้องมีความสาคัญต่อการขับร้องเพลงหรือไม่ เพราะเหตุใด 1. ส้าคัญ เพราะช่วยลดความตื่นเต้นขณะขับร้อง 2. ส้าคัญ เพราะการหายใจที่ดีจะมีส่วนช่วยท้าให้ร้องเพลงได้ดีขึ้น 3. ไม่ส้าคัญ เพราะในการขับร้องเพลงสามารถหายใจในรูปแบบใดก็ได้ 4. ไม่ส้าคัญ เพราะไม่มีกฎข้อบังคับใช้ว่าในการขับร้องจะต้องหายใจอย่างไร
  • 20. ~ 20 ~ 29. การวางท่าทางในการขับร้องที่ดีควรมีลักษณะยกเว้นข้อใด 1. นั่งพับเพียบให้เรียบร้อย 2. นั่งตัวตรง ไม่กระดุกกระดิก 3. นั่งขัดสมาธิ คอหลัง ห่อไหล่ 4. นั่งราบกับพื้นเวทีเช่นเดียวกับนักดนตรี 30. ข้อใดต่างจากพวก 1. เพลงสาธุการ เพลงมหาฤกษ์ 2. เพลงแขกครวญ เพลงดาวทอง 3. เพลงพม่าแทงกบ เพลงค้างคาวกินกล้วย 4. เพลงแขกบรเทศสองชั้น เพลงขับไม้บัณเฑาะว์ 31. ข้อใดไม่จัดเป็นประโยชน์ของการประเมินผลงานทางดนตรี 1. ตัดสินดนตรีว่ามีความไพเราะอย่างไร 2. ใช้เป็นแนวทางในการฝึกทักษะทางการฟัง 3. ประเมินเป็นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาตนเอง 4. ท้าให้ผลงานมีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับของผู้คนในสังคม 32. บุคคลใดทาหน้าที่ในการประเมินด้านเสียงของเครื่องดนตรีได้เหมาะสมมากที่สุด 1. เตย ประเมินจากการบรรเลงเสียงเพลงด้วยเสียงหนัก-เบา ยาว-สั้น 2. เอย ประเมินจากความกลมกลืนของเสียงเครื่องดนตรี 3. เกย ประเมินประเภทของเครื่องดนตรีที่น้ามาใช้ 4. เนย ประเมินจากราคาของเครื่องดนตรี 33. เพราะเหตุใดจึงมีการนาเสียงดนตรีมาใช้ประกอบการรักษาทางการแพทย์ 1. สร้างความสุนทรียะให้แก่ผู้เข้ารับบริการทางการแพทย์ 2. ท้าให้เกิดสีสัน ลดความน่าเบื่อหน่ายให้แก่ผู้ป่วยขณะรอเข้ารับการรักษา 3. วางแผนในการใช้กิจกรรมทางดนตรีควบคุมผู้ป่วย เพื่อให้บรรลุในการรักษา 4. ลดความวิตกกังวลให้แก่ผู้ป่วย หากต้องเข้ารับการผ่าตัด หรือเข้ารับการรักษาอย่างเร่งด่วน 34. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพดนตรีที่ดี 1. มีความกล้าแสดงออก และมั่นใจในตัวเองสูง 2. มีมนุษยสัมพันธ์ดี คล่องแคล่ว และทันสมัย 3. มีจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ 4. มีความขยันหมั่นเพียร และอดทน 35. เพราะเหตุใดดนตรีของอินเดียจึงมีลักษณะที่แตกต่างไปจากดนตรีชาติอื่นๆ 1. นิยมบรรเลงด้วยเครื่องดนตรีโบราณ 2. มีการน้าเครื่องดนตรีสากลมาผสมผสาน 3. เครื่องดนตรีส่วนใหญ่จะให้เสียงที่หนักแน่น ดุดัน 4. จะมีการแบ่งประเภทของเครื่องดนตรีออกเป็น 2 ฝ่าย
  • 21. ~ 21 ~ 36. เครื่องดนตรีในข้อใดที่ไม่จัดอยู่ในวัฒนธรรมเดียวกัน 1. ซากังรี กู่เจิง ปี่เสน 2. ผีผา โซนา หยางฉิน 3. ตานปุระ ซีตาร์ เชห์ไน 4. ปี่เนห์ มองซาย ซองเกาะ 37. เอกลักษณ์สาคัญที่แสดงให้เห็นถึงลักษณะเฉพาะของดนตรีกัมพูชาคือสิ่งใด 1. เสียงของเครื่องดนตรีจะมีความสดใส 2. นิยมน้ามาใช้ประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อ 3. เป็นต้นแบบของเครื่องดนตรีที่ใช้ในทุกชนชาติ 4. เครื่องดนตรีทุกชนิดถูกออกแบบมาอย่างสวยงาม 38. ประเทศอินโดนีเซียได้รับอิทธิพลเครื่องดนตรีสาริดมาจากวัฒนธรรมใด 1. อินเดีย 2. มาเลเซีย 3. กัมพูชา 4. เวียดนาม 39. ข้อใดเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงสมัย 14 ตุลาคม 2516 1. ขุนวิจิตรมาตราประพันธ์เนื้อเพลงชาติ 2. มีบทเพลงเพื่อชีวิตที่สะท้อนเรื่องราวในสังคมมากขึ้น 3. เกิดการด้าเนินงานเพื่อสร้างจิตส้านึกให้ประชาชนรักชาติ 4. มีการประพันธ์เพลงมหาชัยขึ้นเพื่อใช้ในโอกาสส้าคัญต่างๆ 40. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางดนตรีในประเทศไทย 1. ช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยได้มีการใช้เพลงชาติ 2. ช่วงเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 สถานการณ์บ้านเมืองมีความแตกแยกทางความคิด 3. ช่วงที่สภาพทางภูมิอากาศและภูมิประเทศเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ 4. ช่วงปฏิรูปการปกครองแผ่นดินในสมัยรัชกาลที่ 5 41. ข้อใดไม่จัดเป็นความสาคัญของเครื่องแต่งกายละครไทย 1. สวมใส่เพื่อความวิจิตรงดงาม 2. บ่งบอกถึงประเภทของการแสดง 3. แสดงให้เห็นบุคลิกลักษณะของตัวละคร 4. สะท้อนเอกลักษณ์เครื่องแต่งกายแบบยุโรป 42. การแสดงในข้อใดที่สีชุดของตัวละครมีส่วนสาคัญในการสื่อความหมาย 1. ละครเวที 2. ละครนอก 3. อุปรากรจีน 4. ละครโอเปรา 43. อุปกรณ์การแสดงจัดเป็นส่วนหนึ่งขององค์ประกอบทางนาฏศิลป์หรือไม่ เพราะเหตุใด 1. ไม่เป็น เพราะจะท้าให้การแสดงขาดความเป็นระเบียบเรียบร้อยได้ 2. ไม่เป็น เพราะอุปกรณ์การแสดงจะท้าให้ผู้ชมเสียอรรถรสขณะชมการแสดงได้ 3. เป็น เพราะในการแสดงนาฏศิลป์ตั้งแต่อดีตมีกฎบังคับให้น้าอุปกรณ์การแสดงมาใช้ 4. เป็น เพราะการแสดงนาฏศิลป์บางชุด ต้องมีอุปกรณ์การแสดงเพื่อสร้างความสมจริง
  • 22. ~ 22 ~ 44. การมีประสบการณ์เกี่ยวกับงานศิลป์ทุกแขนงมีประโยชน์แก่ผู้วิจารณ์อย่างไรมากที่สุด 1. มีชื่อเสียงอยู่ในวงการ 2. ท้าให้มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล 3. ได้รับเชิญเข้าร่วมการแสดงบ่อยๆ 4. สร้างสรรค์ผลงานที่มีความหลากหลาย 45. เพราะเหตุใดนักวิจารณ์ที่ดีจึงต้องมีความรู้เกี่ยวกับศิลปะในอดีต 1. เพื่อสร้างศักยภาพในการเข้าถึงปรัชญาทางศิลปะ 2. เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทางศิลปะ 3. เพื่อเป็นการต่อยอดความรู้ให้มีความหลากหลาย 4. เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถในการวิจารณ์ 46. คาวิจารณ์จะมีประโยชน์ในด้านใดมากที่สุด 1. การสร้างความเชื่อแก่ผู้ชม 2. การผลิตผลงานที่หลากหลาย 3. การพัฒนาผลงานให้มีคุณภาพ 4. การสร้างรายได้ที่มั่นคงให้นักแสดง 47. ข้อใดไม่จัดเป็นหลักเกณฑ์ในการวิจารณ์ทางนาฏศิลป์ 1. การบรรยาย 2. การวิเคราะห์ 3. การประเมินผล 4. การก้าหนดขอบเขต 48. บุคคลใดที่มีส่วนสาคัญในการพัฒนาการแสดงราวงให้มีความเป็นมาตรฐานมากขึ้น 1. จอมพล ป.พิบูลสงคราม 2. นายมนตรี ตราโมท 3. หลวงวิจิตรวาทการ 4. พระยานัฏกานุรักษ์ 49. “ ชาวไทยเจ้าเอ๋ย ขออย่าละเลยในการทาหน้าที่ การที่เราได้เล่นสนุก เปลื้องทุกข์สบายอย่างนี้ ” จากเนื้อเพลงข้างต้นควรใช้ท่าราในข้อใดจึงจะมีความเหมาะสมมากที่สุด 1. ท่าร้ายั่ว 2. ท่าชักแป้งผัดหน้า 3. ท่าผาลาเพียงไหล่ 4. ท่าสอดสร้อยมาลาแปลง 50. เพราะเหตุใดสถาบันการศึกษาทุกแห่งจึงต้องมีการจัดการเรียนการสอนวิชาการละคร 1. เป็นวิชาที่มีผู้เรียนชื่นชอบเป็นจ้านวนมาก 2. เป็นวิชาที่นิยมน้าไปใช้ในการสอบแข่งขัน 3. เป็นวิชาที่สามารถพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนได้ 4. เป็นวิชาที่สามารถสร้างชื่อเสียงให้กับโรงเรียนได้ 51. การสร้างฉากที่มีความสวยงามตระการตา จัดเป็นการบูรณาการวิชาความรู้กับสาระใด 1. สาระการงานอาชีพ 2. สาระวิทยาศาสตร์ 3. สาระสุขศึกษา 4. สาระศิลปะ
  • 23. ~ 23 ~ 52. ลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองในภาคใต้คือสิ่งใด 1. เชื่องช้า โยกย้าย 2. กระชับ รวดเร็ว 3. ดุดัน แข็งกร้าว 4. อ่อนหวาน นุ่มนวล 53. เซิ้งแหย่ไข่มดแดงไม่ได้สื่อถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นข้อใด 1. ภาษาท้องถิ่นอีสาน 2. อาชีพของชาวอีสาน 3. วิถีชีวิตของชาวอีสาน 4. ลักษณะนิสัยของชาวอีสาน 54. ลักษณะวิธีการแสดงตารีกีปัสมีความคล้ายคลึงกับการแสดงชุดใด 1. กรีดยาง 2. ร่อนแร่ 3. รองเง็ง 4. ซ้าเป็ง 55. ข้อใดคือจุดประสงค์สาคัญที่สุดของการแสดงนาฏศิลป์ไทย 1. การร้องร้าท้าเพลงเพื่อสร้างความบันเทิงเริงใจ 2. การเต้นร้าประกอบบทเพลงที่มีความหลากหลายในจังหวะ 3. การแสดงสีหน้า ท่าทางที่สอดคล้องไปกับบทละครที่แต่งขึ้น 4. การใช้สรีระต่างๆ ของร่างกายเคลื่อนไหว สื่อความหมายแทนค้าพูด 56. ข้อใดต่างจากพวก 1. ระบ้าเทพบันเทิง 2. ระบ้ามยุราภิรมย์ 3. ระบ้าพรหมาสตร์ 4. ระบ้ากฤดาภินิหาร 57. “ ดงบงคมกลองด้วยเสียงพาด เสียงพิณ เสียงเลื่อน เสียงขับ ใครจักมักเล่น เล่น ใครจักมักหัว หัว ใครจักมักเลื้อน เลื้อน ” จากข้อความข้างต้น สะท้อนให้เห็นถึงการแสดงละครไทยอย่างไร 1. การแสดงละครไทยต้องมีเครื่องดนตรีประกอบ 2. ประชาชนทุกคนชอบดูการแสดงละคร 3. ประชาชนทุกคนต้องแสดงละครได้ 4. การแสดงละครไทยมีมาช้านาน 58. เพราะเหตุใดในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) จึงถือเป็นยุคทองแห่ง ศิลปะการแสดง 1. ได้อิทธิพลทางการแสดงมาจากชาติตะวันตก 2. พัฒนารูปแบบการแสดงละครจนเกิดละครใหม่ๆ ขึ้น มากมาย 3. มีบทละครเกิดขึ้นมากมาย เช่น อิเหนา ไกรทอง คาวี ไชยเชษฐ์ เป็นต้น 4. ได้รับการยอมรับว่ามีความสวยงามทัดเทียมละครของประเทศมหาอ้านาจ
  • 24. ~ 24 ~ 59. การละครไทยในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) มีจุดเด่นที่แตกต่างไปจาก ละครในสมัยอื่นๆอย่างไร 1. มีการเข้มงวดกวดขันกันในเรื่องฝีมือการร่ายร้า 2. ต้องการแสดงความงดงามของท่าร้าแข่งกับชาติอื่นๆ 3. มีชาวต่างชาติเข้ามาเป็นครูสอนการแสดงนาฏศิลป์ในวัง 4. ท่าร้ามีเอกลักษณ์เฉพาะที่ไม่สามารถลอกเลียนแบบอย่างได้ 60. เพราะเหตุใดการแสดงละครในสมัยรัตนโกสินทร์เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงมากขึ้น 1. พบต้าราเกี่ยวกับการแสดงละคร 2. ได้รับอิทธิพลของละครตะวันตก 3. มีผู้ให้การสนับสนุนการละครมากขึ้น 4. นักแสดงส่วนใหญ่จบการศึกษามาจากต่างประเทศ 
  • 25. ~ 25 ~ เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี มัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 2 1. 2 2. 1 3. 3 4. 4 5. 1 6. 2 7. 1 8. 3 9. 1 10. 3 11. 2 12. 4 13. 1 14. 3 15. 1 16. 2 17. 4 18. 3 19. 1 20. 2 21. 4 22. 2 23. 2 24. 3 25. 3 26. 1 27. 4 28. 2 29. 3 30. 1 31. 4 32. 2 33. 3 34. 1 35. 4 36. 1 37. 2 38. 4 39. 2 40. 3 41. 4 42. 3 43. 4 44. 2 45. 1 46. 3 47. 4 48. 1 49. 2 50. 3 51. 4 52. 2 53. 1 54. 3 55. 4 56. 2 57. 4 58. 3 59. 1 60. 2 เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี มัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 1 1. 3 2. 4 3. 1 4. 2 5. 2 6. 4 7. 2 8. 4 9. 3 10. 1 11. 2 12. 4 13. 4 14. 1 15. 4 16. 2 17. 3 18. 4 19. 1 20. 3 21. 4 22. 2 23. 1 24. 3 25. 2 26. 4 27. 2 28. 1 29. 3 30. 2 31. 4 32. 2 33. 3 34. 4 35. 1 36. 4 37. 1 38. 3 39. 2 40. 4 41. 2 42. 3 43. 1 44. 2 45. 4 46. 3 47. 1 48. 2 49. 4 50. 4 51. 3 52. 2 53. 1 54. 3 55. 3 56. 4 57. 3 58. 4 59. 1 60. 2 
  • 26. ~ 26 ~ เฉลยแบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 1 เฉลยอย่างละเอียด 1. ตอบ ข้อ 3. เพราะองค์ประกอบศิลป์ จะว่าด้วยการจัดรูปร่าง รูปทรง เส้น สี แสง เงา ลักษณะพื้นผิว และบริเวณที่ว่าง ให้มีความสัมพันธ์กลมกลืนกัน หรือขัดแย้งกันในส่วนที่เหมาะสมลงตัว สวยงาม อันเป็นที่มาของสุนทรียภาพ หรือความงามให้ผู้พบเห็นเกิดอารมณ์และความรู้สึก คล้อยตามไปกับผลงานชิ้นนั้นๆ ดังนั้น องค์ประกอบศิลป์ก็คือ ความพอดี ลงตัว อันเป็น รากฐานเนื้อหาของงานทัศนศิลป์ อีกทั้งองค์ประกอบศิลป์ยังเป็นเสมือนเครื่องมือที่ส้าคัญ ทางทัศนศิลป์ให้ผู้สร้างสรรค์ได้สื่อสารความคิดของตนไปสู่บุคคลอื่นๆ ซึ่งไม่เฉพาะ ทัศนศิลป์ จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และภาพพิมพ์เท่านั้น แต่ยังสามารถ น้าไปใช้ในงานศิลปะประยุกต์ต่างๆ อีกมากมายหลายแขนง 2. ตอบ ข้อ 4. เพราะผลงานทางทัศนศิลป์ที่สามารถท้าให้ผู้สัมผัสเกิดอารมณ์ประทับใจได้นั้น แสดงถึง การสร้างสรรค์อย่างถูกต้องตามเกณฑ์ของการจัด อันเป็นพื้นฐานของความงามทางด้าน ทัศนศิลป์ ซึ่งจะเกิดขึ้นได้ต้องประกอบด้วยองค์ประกอบย่อยๆ หรือที่นิยมเรียกว่า “ ทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์” ทัศนธาตุที่เป็นพื้นฐานในการน้าไปใช้ เพื่อการสร้างสรรค์ ผลงานทัศนศิลป์จะประกอบไปด้วยจุด เส้น รูปร่าง รูปทรง ลักษณะพื้นผิว พื้นที่ว่าง น้้าหนักอ่อน-แก่ แสงเงา และสี ส่วนค้าตอบในข้อ 4. เอกภาพ ความสมดุล จัดเป็นการจัด องค์ประกอบทางทัศนศิลป์ 3. ตอบ ข้อ 1. ภาพบ่ายวันอาทิตย์บนเกาะลากร็องด์ฌัต (A Sunday Afternoon on the Island of La Grande Jatte) ภาพเขียนสีน้้ามันที่มีชื่อเสียงผลงานของฌอร์ฌ ปีแยร์ เซอรา (Georges Pierre Seurat) จิตรกรชาวฝรั่งเศสผู้มีชื่อเสียงในด้านการวาดภาพ โดยใช้เทคนิคการผสานจุดสี 4. ตอบ ข้อ 2. เพราะเส้น เป็นทัศนธาตุที่ส้าคัญในทางศิลปะ กล่าวได้ว่า เส้นเป็นจุดเริ่มต้นของ การออกแบบทางทัศนศิลป์ทุกชนิด 5. ตอบ ข้อ 2. เพราะเส้นประ หรือเส้นขาด (Jagged Lines) เป็นเส้นที่ให้ความรู้สึกถึงความไม่เป็น ระเบียบ สับสน วุ่นวาย ไม่มั่นคง เสื่อมโทรม อันตราย เช่น สิ่งที่ปรักหักพังก้าลังจะ แตกสลาย รอยร้าวของวัตถุ ลายเส้นที่แสดงความไม่แน่นอน เป็นต้น 6. ตอบ ข้อ 4. เพราะรูปร่าง เกิดจากเส้น และทิศทางของรูปวัตถุที่ถ่ายทอดเป็น 2 มิติ คือ มีความกว้าง และความยาว อันจะท้าให้ภาพที่ปรากฏนั้นมีลักษณะแบน ส่วนรูปทรง จะเป็นการถ่ายทอด ออกมาให้เห็นเป็น 3 มิติ คือ มีความกว้าง ความยาว และความหนา อันจะท้าให้ภาพที่ ปรากฏนั้นมีลักษณะเป็นรูปทรงที่มีความลึก หรือความหนา เพราะฉะนั้น รูปร่าง และ รูปทรงจึงมีความแตกต่างกันที่มิติของผลงาน
  • 27. ~ 27 ~ 7. ตอบ ข้อ 2. เพราะอาจารย์สวัสดิ์ ตันติสุข นิยมสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ประเภทจิตรกรรม โดยจะใช้ สีน้้า และสีน้้ามันเป็นหลัก ภาพวาดส่วนใหญ่เป็นภาพเกี่ยวกับทิวทัศน์ มีรายละเอียดของ ภาพไม่มาก หลายภาพใช้เส้นน้อย ใช้สีไม่มาก โดยสื่อให้เห็นถึงความเคลื่อนไหวเหมือน จริงตามธรรมชาติ 8. ตอบ ข้อ 4. เพราะอาจารย์กมล ทัศนาญชลี เป็นศิลปินที่มีทักษะความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ ผลงานทัศนศิลป์ในรูปแบบใหม่ ที่โดดเด่นมากที่สุดจะเป็นผลงานศิลปะสื่อผสม มีทั้งงาน จิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ประกอบอยู่ในชิ้นงานเดียวกัน ผลงานของอาจารย์ กมล ทัศนาญชลี จะมีลักษณะเฉพาะตัวสูง ท้าให้ผู้ชมที่สัมผัสกับผลงานของท่านไม่กี่ครั้ง ก็จะสามารถระบุชื่อศิลปินที่สร้างสรรค์ผลงานได้ 9. ตอบ ข้อ 3. เพราะการก้าหนดกรอบแนวคิดในการท้างานอย่างคร่าวๆ จะช่วยให้การท้างานกระชับ ขอบเขตของการท้างานไม่กว้างมากจนเกินไป ไม่ต้องเสียเวลาพิจารณาในหลายๆ เรื่อง ซึ่งประเด็นที่ควรจะอยู่ในกรอบแนวคิด คือ วาดภาพอะไร เพื่อสื่อความหมาย และเรื่องราว ใด น่าจะใช้เทคนิคการวาดภาพแบบใด เมื่อได้ก้าหนดกรอบแนวคิดของตนเองแล้ว โดย ต้องพยายามจินตนาการภาพที่สื่อออกมาให้อยู่ในความคิดของตน การสร้างสรรค์ผลงาน จะได้แล้วเสร็จออกมาอย่างมีคุณภาพ 10. ตอบ ข้อ 1. เพราะลักษณะเฉพาะที่เด่นของสีน้้า คือ ความโปร่งใส เนื้อสีเบาบาง มีสีสันสวยงาม ในขณะที่ระบาย ควรใช้พู่กันแตะสีละลายกับน้้า โดยพยายามระบายเพียงครั้งเดียว ไม่ควร ระบายสีต่างๆ ซ้้า หรือทับกันหลายๆ ครั้ง เพราะจะท้าให้สีหม่น ขาดคุณสมบัติที่โปร่งใส 11. ตอบ ข้อ 2. เพราะการวิจารณ์ และการตัดสินผลงานทางทัศนศิลป์ เนื่องจากไม่มีเครื่องมือในการวัด และประเมินอย่างทางวิทยาศาสตร์ จ้าเป็นต้องใช้คน (นักวิจารณ์) เป็นผู้วัด หรือตัดสินโดย อาศัยประสบการณ์ ความสามารถของผู้นั้นเป็นหลัก การตัดสินบางครั้งย่อมมีความ ผิดพลาด หรือขาดความยุติธรรมได้ ดังนั้น นักวิจารณ์จะต้องมีจรรยาบรรณในการวิจารณ์ มีความเป็นกลาง และเที่ยงธรรมต่อผลงานทัศนศิลป์ทุกรูปแบบ และทุกคน เพื่อสร้างความ เชื่อมั่นให้กับศิลปินผู้สร้างสรรค์ผลงาน 12. ตอบ ข้อ 4. เพราะนักวิจารณ์จะต้องไม่สนใจเฉพาะทัศนศิลป์ในสาขาที่ตนถนัดเท่านั้น จะต้องสนใจใน วิทยาการแขนงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับทัศนศิลป์ด้วย เช่น ประวัติศาสตร์ศิลป์ สุนทรียศาสตร์ องค์ประกอบศิลป์ เป็นต้น เพื่อให้รับรู้ถึงความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างศาสตร์สาขาต่างๆ กับทัศนศิลป์ ท้าให้สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ได้อย่างลุ่มลึกขึ้น ทั้งนี้ เพราะการวิจารณ์โดย กล่าวอ้างถึงความรู้สึกส่วนตัวแต่เพียงอย่างเดียวจะมีความเลื่อนลอย และไร้เหตุผล ไม่ช่วย ให้ผลงานทัศนศิลป์มีความน่าสนใจ หรือมีความหมายในแง่มุมที่แตกต่างกันออกไป
  • 28. ~ 28 ~ 13. ตอบ ข้อ 4. เพราะการพัฒนาผลงานทัศนศิลป์จะมีประโยชน์ในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. มีความส้าคัญที่จะช่วยให้เกิดความคิดสร้างสรรค์สิ่งแปลกใหม่ทาง ด้านทัศนศิลป์ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 2. มีความส้าคัญในการพัฒนาตนเองให้เกิดการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งใหม่ๆ โดยเน้นเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านรูปแบบ เนื้อหา และเทคนิควิธีในการ สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ 3. มีความส้าคัญต่อการสร้างนิสัยในการท้างานที่ดี โดยไม่ยึดติดกับแบบอย่างที่ ซ้้าซาก หรือตายตัวมากจนเกินไป 4. มีความส้าคัญในการรู้จักประเมินตนเอง เพื่อให้เห็นถึงศักยภาพในการท้างาน อย่างรอบด้าน จนน้าไปสู่การพัฒนาสร้างสรรค์ผลงานให้เกิดความก้าวหน้า และสมบูรณ์มากยิ่งๆ ขึ้น 14. ตอบ ข้อ 1. เพราะบุคลิกลักษณะ เป็นลักษณะเฉพาะตัวของแต่ละบุคคล ซึ่งแต่ละบุคคลก็จะมีลักษณะ ประจ้าตัวแบบใดแบบหนึ่งที่มีความแตกต่างจากบุคคลอื่นๆ ทั้งนี้ บุคลิกลักษณะไม่ได้ หมายความแค่ลักษณะทางด้านรูปร่าง หน้าตาเพียงประการเดียวเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึง พฤติกรรม อุปนิสัย กิริยาท่าทาง ตลอดจนอารมณ์ของตัวละครนั้นๆ ด้วย 15. ตอบ ข้อ 4. เพราะการโฆษณา เป็นวิธีการสื่อสารที่มุ่งหวังให้เกิดความต้องการของผู้โฆษณา ซึ่ง รูปแบบของการโฆษณาจะมีอยู่ด้วยกันหลากหลายรูปแบบ แต่ละรูปแบบก็จะมีเป้าหมาย และหลักการที่แตกต่างกัน เช่น การโฆษณาเชิญชวนเพื่อผลทางธุรกิจ จะเน้นเป็นพิเศษใน เรื่องการสร้างความน่าสนใจ และโน้มน้าวใจลูกค้าให้ตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า หรือเลือกใช้ บริการของผู้โฆษณา เป็นต้น ซึ่งหลักส้าคัญของงานออกแบบโฆษณาจะอยู่ที่การสื่อความ เข้าใจให้ตรงกันระหว่างผู้ออกแบบ และผู้พบเห็น 16. ตอบ ข้อ 2. เพราะวัฒนธรรมกับการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ จัดเป็นการเชื่อมโยงระหว่างวิธีการ ด้าเนินชีวิตกับการสร้างสรรค์ผลงานที่มองเห็นได้ ซึ่งการที่จะท้าความเข้าใจเรื่องดังกล่าว ได้มากน้อยเพียงใดนั้น ผู้ชมจะต้องอ่านภาษาภาพให้ออก และแปลความหมาย เรื่องราวที่ สะท้อนผ่านภาพในงานทัศนศิลป์ ว่ามีรูปแบบ เนื้อเรื่อง หรือรายละเอียดต่างๆ อย่างไรบ้าง วัฒนธรรมไทยในงานทัศนศิลป์ปัจจุบัน มีความเกี่ยวพันในลักษณะพึ่งพาต่อกัน โดย งานทัศนศิลป์จะช่วยส่งเสริมให้วัฒนธรรมยังด้ารงอยู่ และพัฒนาต่อไปได้ ท้าให้ผู้ชมเห็น ความงาม และเกิดความประทับใจ 17. ตอบ ข้อ 3. เพราะผลงานทัศนศิลป์ประเภทสถาปัตยกรรมที่เกิดขึ้นในสมัยทวารวดีนั้น มักใช้การก่ออิฐ ถือปูน ไม่นิยมก่อด้วยศิลาแลง รูปสัณฐานของเจดีย์จะท้าเป็นรูปสี่เหลี่ยม องค์สถูปท้าเป็น รูประฆังคว่้า มียอดเตี้ย เช่น พระปฐมเจดีย์องค์เดิม หรือเจดีย์วัดจุลประโทน จังหวัด นครปฐม เป็นต้น