SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 23
สารบัญ
การสือสารผ่านดาวเทียม
     ่
ระบบการสือสารผ่านดาวเทียม
         ่
ประเภทของดาวเทียม
เทคโนโลยีไร้สายกับดาวเทียม และอวกาศ
การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
การสื่อสารผ่านดาวเทียม
เนื่องจากท้องที่ทางภูมิศาสตร์เต็มไปด้วย
 ภูเขา หุบเขา หรือเป็นเกาะอยู่ในทะเล
 การสื่อสารที่ดีวิธหนึ่งคือการใช้ดาวเทียม
                   ี

ดาวเทียมได้รับการส่งให้โคจรรอบโลก
 โดยมีการเคลื่อนที่
     ไปพร้อมกับการหมุนของโลก ทำาให้
 ดาวเทียมอยู่ใน ตำาแหน่ง
      คงที่ เมื่อมองจากพื้นโลกบนดาวเทียม
 จะมีการ นำาเอาเครื่อง
      ถ่ายทอดสัญญาณติดไปด้วย การ
 สือสารโดยผ่านดาวเทียมจะทำา
   ่
การสื่อสารโดยผ่านดาวเทียมจะทำาโดยการ
  ส่งสัญญาณสือสารจากสถานีภาคพื้นดิน
                ่
 แห่งหนึ่งขึ้นไปยังดาวเทียม เมื่อ
 ดาวเทียมรับก็จะส่งกลับมายังสถานีภาคพื้น
 ดิน
   อีกแห่งหนึ่ง หรือหลายแห่ง

เราจึงใช้ดาวเทียมเพื่อแพร่ภาพสัญญาณ
 โทรทัศน์ได้ การรับจะครอบคลุมพื้นที่ที่
 ดาวเทียมลอยอยู่ซึ่งจะมีบริเวณกว้างมาก
 และทำาได้โดยไม่มีอุปสรรคจากภูเขาบัง
 ดาวเทียมจึงเป็นสถานีกลางที่ถ่ายทอด
 สัญญาณจากที่หนึงไปยังอีกที่หนึ่งได้
                  ่
สื่อสารผ่านดาวเทียมเป็นการสือสารที่มี
                                 ่
 สถานีรับส่งอยู่ที่พื้นดิน ส่งตรงขึ้นไปยัง
 ดาวเทียมแล้วส่งต่อลงมายังตัวรับส่งที่พื้น
 ดินอีกครั้งหนึง ดาวเทียมจึงเสมือนเป็น
               ่
 สถานีถ่ายทอดสัญญาณที่ดียิ่ง เพราะลอย
 อยู่บนท้องฟ้าในระดับสูงมาก

ดาวเทียมสือสารที่ใช้งานต้องมีลักษณะ
            ่
 พิเศษคือ เป็นดาวเทียมค้างฟ้า ซึ่งผิดจาก
 ดาวเทียมจารกรรมทางทหาร ดาวเทียม
 สำารวจทรัพยากรที่ประเทศมหาอำานาจส่ง
 ขึ้นไป ดาวเทียมเหล่านันจะเคลื่อนที่โคจร
                       ้
ดาวเทียมค้างฟ้า เป็นดาวเทียมที่ต้องอยู่
 บริเวณเหนือเส้นศูนย์สตรและโคจรรอบ
                       ู
 โลก 1 รอบ ใน 1 วัน พอดีกับเวลาที่โลก
 หมุนรอบตัวเอง ระดับความสูงและ
 ความเร็วการโคจรต้องเหมาะสม ดาวเทียม
 ค้างฟ้าที่ใช้ในการสือสารอยู่ที่ระดับความ
                     ่
 สูง 42,184.2 กิโลเมตร

ปัจจุบนประเทศไทยมีดาวเทียมไทยคม
       ั
 ลอยอยู่เหนือประเทศ ดาวเทียมไทยคมนี้
 ใช้ประโยชน์ทางด้านการสือสารของ
                          ่
 ประเทศได้มาก
 เพราะเป็นการให้บริการสือสารของ
                        ่
 ประเทศในรูปแบบต่างๆ ตั้งแต่การรับส่ง
ประเทศไทยเริ่มใช้ดาวเทียมสือสารครั้ง
                                     ่
แรกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2510 การสื่อสารแห่ง
ประเทศไทยตั้งสถานีภาคพื้นดินที่อำาเภอศรีราชา
ชลบุรี โดยเช่าช่องสัญญาณจำานวน 13 ช่อง
สัญญาณ เพื่อติดต่อสือสารระหว่างประเทศ
                     ่
ดาวเทียมที่ใช้ในยุคแรกเป็นของบริษัท ยูอาร์ซี
เอ ซึ่งเป็นดาวเทียมทางทหารของสหรัฐอเมริกา

           จานรับสัญญาณดาวเทียมที่สถานีภาค
พื้นดินมีขนาดใหญ่มาก เช่น จานรับสัญญาณดาว
เทียมอิเทลแซด ที่ศรีราชามีขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางประมาณ 97 ฟุต สามารถสือสารข้าม
                                 ่
มหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย
ใน พ.ศ. 2522 สถานีโทรทัศน์ใน
ประเทศไทยมีการขยายเครือข่ายทั่ว
ประเทศ ในการนีมีการเช่าช่องสัญญาณจาก
                ้
ดาวเทียมปาลาปาของอินโดนีเซีย ทำาให้
ระบบการถ่ายสัญญาณโทรทัศน์ของ
ประเทศไทยกระจายไปยังเมืองใหญ่ ๆ ได้
ทั่วประเทศ จานรับสัญญาณดาวเทียมปาลา
ปามีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1-3 เมตร ซึ่ง
นับว่าเป็นจานขนาดใหญ่พอสมควร การ
ถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม
ทำาได้งายเพราะไม่ต้องเสียเวลาเดินสาย
       ่
                
        ดาวเทียมไทยคมอยู่ในตำาแหน่งเส้นแวงที่ 101
    องศาตะวันออก เหนือเส้นศูนย์สตรบริเวณอ่าวไทย
                                   ู
    ค่อนไปทางใต้ ใช้สัญญาณพาหะในย่านความถี่ 4 ,
    10 และ 12 จิกะเฮิรทซ์ บริษัทผู้ผลิตดาวเทียมคือ
    บริษัทฮิวส์แอโรคราปของประเทศสหรัฐอเมริกา
    และส่งขึ้นวงโคจรด้วยจรวดของบริษัทเอเรียนสเปส
    ของประเทศฝรั่งเศส

               ข้อได้เปรียบของดาวเทียมไทยคมคือ
    อยู่ตรงประเทศไทยทำาให้จานรับสัญญาณมีขนาด
    เล็กลงเหลือเส้นผ่านศูนย์กลางเพียง 50 เซนติเมตร
    ดาวเทียมไทยคมครอบคลุมพืนที่ประเทศไทย และ
                               ้
การสื่อสารผ่านดาวเทียมในประเทศไทย
จึงเป็นอีกก้าวหนึงที่ทำาให้ประเทศไทยมี
                  ่
ทางเลือกของการสือสารมากขึ้น การรับรู้
                    ่
ข้อมูลข่าวสารจะทำาได้เร็วขึ้น การส่ง
สัญญาณผ่านดาวเทียมเป็นหนทางหนึ่งที่จะ
ส่งไปยังพื้นที่ใด ๆ ก็ได้ในประเทศ แม้จะอยู่
ในป่าเขาหรือมีสิ่งกีดขวางทางภาคพื้นดิน

          ดังนั้น การกระจายข่าวสารใน
อนาคตจะมีบทบาทเพิ่มขึ้น การใช้ข้อมูล
ข่าวสารจะเจริญเติบโตไปพร้อมกับความ
ระบบการสือสารผ่าน
                           ่
                             ดาวเทียม
ดาวเทียม ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบนมีอยู่ด้วยกัน 2
                              ั
  ชนิด จำาแนกตามแนวโคจร
            ที่มันโคจรอยู่ดังนี้
  1. ดาวเทียมที่อยู่ในวงโคจรทั่วไป มีวงโคจรเป็นรูปวงรี
     มีระนาบไม่แน่นอน
      ตำาแหน่งของตัวดาวเทียมเมื่อเทียบกับโลกก็ไม่
   แน่นอน มันใช้ในการสำารวจสภาพภูมิอากาศ
   ภูมิประเทศ แหล่งทรัพยกรธรณี และงานทางด้านการ
   ทหาร

  2. ดาวเทียมค้างฟ้า (Geostationary Satellite) เป็น
    ดาวเทียมที่อยู่กับที่ เมื่อเทียบกับโลกมีวงโคจรอยู่ใน
ประเภทของ
                                       ดาวเทียม
ดาวเทียม คือ วัตถุที่เกิดจากการประดิษฐ์คิดค้นโดยมันสมองของ
   มนุษย์ ซึ่งสามารถจะลอยอยู่ในอวกาศ และโคจรรอบโลกหรือ
   ขับเคลื่อนไปยังจุดหมายปลายทางที่ มนุษย์ตองการได้ โดย
                                              ้
   อาศัยกฎเกณฑ์ทางวิทยาศาสตร์ตางๆ  ่
ดาวเทียมมีมากมายหลายประเภท สามารถแบ่งประเภทการใช้งาน
   ได้ 11 ประเภท ดังนี้
   •   ดาวเทียมเพื่อการสื่อสารระหว่างจุดต่อจุด
   •   ดาวเทียมเพื่อการสื่อสารระหว่างดาวเทียม
   •   ดาวเทียมเพื่อการสื่อสารเคลื่อนที่บนบก ในนำำา และในอากาศ
   •   ดาวเทียมเพื่อการสื่อสารวิทยุกระจายเสียง และโทรทัศน์
   •   ดาวเทียมเพื่อการสำารวจโลก สำารวจทรัพยากรธรรมชาติ
   •   ดาวเทียมเพื่อการสำารวจอวกาศ
   •   ดาวเทียมเพื่อการพยากรณ์อากาศ
   •   ดาวเทียมเพื่อการปฏิบัติในห้วงอวกาศ
   •   ดาวเทียมเพื่อกิจการวิทยุสมัครเล่น
   •   ดาวเทียมเพื่อการกำาหนดตำาแหน่ง
เทคโนโลยีไร้สายกับ
               ดาวเทียมร้อยๆดวงนั้นมีการยิง
 ดาวเทียมที่โคจรอยู่รอบโลกนับ
                               และอวกาศ
  สัญญาณข้อมูลต่าง ๆ มาที่พื้นโลก และยิงสัญญาณ
  จากพื้นโลกไปยังดาวเทียม โดยมีวัตถุประสงค์ หลาย
  อย่าง รวมทั้งการตรวจสอบสภาพอากาศ การส่ง
  สัญญาณโทรศัพท์ ทีวี และสัญญาณวิทยุมีการใช้งาน
  ในการระบุตำาแหน่งและส่งไปให้ผที่ตองการใช้และอื่น
                                      ู้ ้
  ๆ
 เรื่องจากที่กล่าวมาข้างต้นนั้น จะมีการส่งข้อมูลจาก
  นอกโลกหรือในอวกาศ เช่น จากดาวอังคารหรืออาจจะ
  ส่งมาจากระบบสุริยะจักรวาล ของเราก็ได้ และในการ
  สื่อสารเช่นนี้ได้นั้นก็จำาเป็นต้องใช้เทคโนโลยีไร้สายใน
  การทำางานทั้งสิ้น สิ่งที่น่าสนใจและน่าแปลกใจในการ
  สื่อสาร ผ่านดาวเทียมก็คือการใช้เครื่องมือสื่อสารพื้น
 ดาวเทียมหลาย ๆ ชนิดนันเกียวข้องกัน ทำางานร่วมกันในด้าน
                          ้   ่
  การสื่อสาร ดาวเทียมชนิดแรกคือ Geostationary ซึ่งโคจร
  รอบโลกที่ความสูง จากพื้นโลก 35,784 กิโลเมตร โดยที่
  ความสูงขนาดนั้นจะมีรอบของการโคจรอยู่ที่ 24 ชั่วโมง หรือ
  พูดอีกอย่างก็คือดาวเทียมโคจรทีความเร็วเท่ากับ ความเร็ว
                                  ่
  ของโลกที่โคจรครบ 1 รอบนั่นเอง ดังนั้นดาวเทียมจึงอยู่กับที่
  เมื่อเทียบกับตำาแหน่งบนพื้นโลก ณ จุด ๆ หนึง เนืองจาก
                                              ่     ่
  สาเหตุนี้เองจาน ดาวเทียมบนโลกจึงทำาการชี้ตรงไปที่
  ดาวเทียม โดยที่ไม่จำาเป็นต้องมีการเคลื่อนย้ายเนืองจาก
                                                  ่
  ตำาแหน่งสัมพันธ์ระหว่างดาวเทียมและจานดาวเทียมนันจะ  ้
  คงที่เสมอ

 ดาวเทียมชนิดที่สองคือดาวเทียม Middle Earth Orbit
  (MEO) ซึ่งโคจรอยู่ทความสูงระหว่าง 5,000 ถึง 15,000
                     ี่
  กิโลเมตร เหนือพื้นโลก ดาวเทียม ที่อยู่ในช่วงความสูงระยะนี้
  เป็นดาวเทียมสำาหรับการระบุตำาแหน่งบนพื้นโลก( Global
  Positioning System หรือ GPS) อย่างที่คณจะได้เห็นในการ
                                          ุ
  ทำางานของ GPS ในตัวอย่างต่อไป คือการที่ GPS สามารถที่
  จะระบุตำาแหน่งและบอกว่าคุณอยู่ทลองติจูดและละติจูดที่
                                 ี่
  เท่าไรบนพื้นโลก ณ ในขณะนั้น และเมื่อนำามารวมกับ
 ดาวเทียมชนิดที่สาม คือดาวเทียม Low Earth Orbit (LEO) คือ
  ดาวเทียมที่โคจรอยู่ทความสูงตั้งแต่ 100 ถึง 1,000 กิโลเมตร
                         ี่
  การสื่อสารผ่านดาวเทียมแรกๆนัน สื่อสารโดยการใช้ดาวเทียม
                                    ้
  สะท้อนสัญญาณ ( Echo Satellite) ซึ่งเป็นแบบ LEO โดยเริ่มใช้
  เมื่อ ค.ศ. 1960 บริษัท Iridium ได้ทำาการปล่อยดาวเทียมชนิด
  LEO ถึง 12 ดวงเพื่อใช้สำาหรับบริการให้คนที่ใช้โทรศัพท์สามารถ
  ทีจะติดต่อกันได้ทกๆที่บนโลก โดยการยิงสัญญาณและรับ
    ่                  ุ
  สัญญาณกับดาวเทียม แต่ด้วยเหตุผลด้านการเงินและด้านเทคนิค
  ดาวเทียมเหล่านี้มีการใช้งานน้อยลงเรื่อยๆ จนกระทั่งปี ค.ศ.
  1990 และสุดท้ายการดำาเนินธุรกิจก็ล้มละลาย แต่อย่างไรก็ตาม
  ธุรกิจก็กลับฟื้นฟูขึ้นมาใหม่ เนื่องจากมีหลายบริษทอย่างเช่น
                                                   ั
  Globalstar นั้นมีแผนการทีจะขายบริการด้านโทรศัพท์ผาน
                                ่                      ่
  ดาวเทียมโดยการใช้ดาวเทียมของบริษัทนี้
 ดาวเทียมชนิดอื่น ๆ ทีใช้ระบบการสื่อสารไร้สายถูกใช้สำาหรับด้าน
                              ่
  การสำารวจอวกาศ เมื่อคุณมองดูที่รูปภาพทีถ่ายจากดาวอังคาร
                                              ่
  หรือดาวพฤหัสบดี ภาพเหล่านั้นถูกส่งมาทีโลกโดยใช้เทคโนโลยี
                                            ่
  ไร้สาย คุณจะได้เห็นจากตัวอย่างภายในบทความนี้ ว่าจริง ๆ แล้ว
  อุปกรณ์ส่งสัญญาณทีทำางานในงานด้านนี้นนไม่ได้ใช้ความเข้ม
                            ่                   ั้
การศึกษาทางไกล
                    ผ่านดาวเทียม
    โครงการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เป็น
  โครงการที่รัฐบาลกำาหนดให้เป็นโครงการตามนโยบาย
  รัฐบาลเพื่อสนับสนุนการดำาเนินงานนโยบายเกี่ยวกับ
  การขยายโอกาส และพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามข้อ
  เสนอของกระทรวงศึกษาธิการ ที่ต้องการประยุกต์ใช้
  เทคโนโลยีการสื่อสารดาวเทียม เพื่อพัฒนาคุณภาพ
  การศึกษาของไทยเนื่องจากประเทศไทยมีความพร้อม
  จากการมีดาวเทียมสื่อสารแห่งชาติดวงแรกเป็นของ
  ตนเองตามสัมปทาน
     ซึงดาวเทียมสื่อสารดวงแรกของประเทศไทยได้รับ
        ่
  พระมหากรุณาธิคณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หว
                    ุ                            ั
  พระราชทานชือว่า " ดาวเทียมไทยคม " มาจากคำาว่า
                ่
     จากความก้าวหน้าของทางเทคโนโลยีการสื่อสาร ไม่ได้กอ    ่
  ให้เกิดประโยชน์เฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ
  ประเทศนัน เนื่องจากการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพจะนำาไปสู่การ
           ้
  เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและความรู้ที่กว้างขวาง จะเป็นประโยชน์
  ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนด้วย หากสามารถ
  กระจายโอกาสทางการศึกษาไปสู่ประชาชนให้ทวถึง และั่
  พัฒนาคุณภาพให้อยู่ในมาตรฐานเดียวกัน ย่อมก่อให้เกิดการ
  พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยรวม
       กระทรวงศึกษาธิการ ได้เล็งเห็นถึงศักยภาพของการ
  สื่อสารดาวเทียมที่จะเป็นเทคโนโลยีทางเลือก (Alternative
  Technology) ที่จะนำาไปสู่การขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพ
  การศึกษาของประเทศ เนืองจากการแพร่ภาพสัญญาณ
                           ่
  โทรทัศน์ภาคพื้นดินที่ใช้กับสถานีวิทยุโทรทัศน์ในปัจจุบันมีข้อ
  จำากัดในการใช้ช่วงเวลา จึงได้จัดทำาโครงการจัดการศึกษาทาง
  ไกลผ่านดาวเทียมเป็นการเผยแพร่ภาพรายการโทรทัศน์ดวย      ้
       ขยายบริการทางการศึกษาให้กบประชาชนอย่างทัวถึง
                                      ั                 ่
  ซึ่งสอดคล้องกับมติรัฐมนตรี เรื่อง การขยายการศึกษาพื้น
  ฐานจาก 6 ปี เป็น 9 ปี โดยเร่งรัดการเรียนต่อในระดับ
  มัธยมศึกษาตอนต้นของกลุ่มเป้าหมายเด็กยากจนในชนบท
  และเด็กด้อยโอกาสในกลุ่มอายุ 13 - 15 ปี รวมถึงกลุมเป้า
                                                      ่
  หมายแรงงานความรู้ตำ่า ซึ่งจำาเป็นต้องพัฒนาศักยภาพเพื่อ
  ให้สามารถรองรับการพัฒนาทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี
        เริ่มก่อตัำง การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
      โดยได้เสนอรายละเอียดโครงการจัดการศึกษาทางไกล
  ผ่านดาวเทียมให้คณะรัฐมนตรีพิจารณา เมื่อวันที่ 19
  มกราคม 2537 และคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบและอนุมัติ
  ให้กระทรวงศึกษาธิการ โดยกรมการศึกษานอกโรงเรียน
  ทดลองโครงการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมตาม
  รายละเอียดที่เสนอ เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2537 ดังนี้
  1.อนุมติการจัดการศึกษาทางไกลผ่าน
        ั
  ดาวเทียมให้เป็นนโยบาย
    ของรัฐบาล

  2. อนุมัติให้กระทรวงศึกษาธิการโดยกรมการ
  ศึกษานอกโรงเรียน
      ร่วมงานกับหน่วยงานรัฐและเอกชนดำาเนิน
  โครงการจัดการศึกษา
      ทางไกลผ่านดาวเทียมตามแนวและรูป
  แบบที่กำาหนด
1. อนุมัติหลักการในการใช้งบประมาณ
   แผ่นดิน เพื่อจัดการศึกษาทางไกลผ่าน
   ดาวเทียม ในส่วนที่เพิ่มเติมจากเงินช่วย
   เหลือที่บริจาคโดยมูลนิธิไทยคมให้กับ
   โครงการโดยให้กระทรวง
   ศึกษาธิการเป็นผู้จัดทำารายละเอียดตาม
   แนวทางการจัดตั้งงบประมาณในแต่ละปี
   ของราชการ

  4. อนุมัติให้จัดตั้งศูนย์การศึกษาทางไกล
  ไทยคมให้เป็นหน่วยงานทางการศึกษา
ประโยชน์ที่คาดว่า
                           จะได้รับ
   การทดลองโครงการจัดการศึกษาทางไกล
ผ่านดาวเทียมคาดว่าจะก่อให้เกิดประโยชน์ ดังนีำ

1. ประชาชนทั้งประเทศที่ประสงค์จะได้รับการศึกษา
จะสามารถเข้า
        รับบริการกรศึกษาได้ตามความต้องการ
   2. ผู้เรียนทั่วประเทศจะได้รบเนื้อหาสาระของการ
                              ั
ศึกษาในคุณภาพและมาตรฐาน
       ในระดับเดียวกันกับครูอาจารย์ ผูเชียวชาญ
                                      ้ ่
โดยตรง
   3. ระบบการศึกษาของประเทศ ทั้งการศึกษาใน
ระบบโรงเรียน การศึกษานอก
        โรงเรียนและการศึกษาตามอัธยาศัย ทั้งใน
4. โทรทัศน์เพื่อการศึกษาผ่านดาวเทียม
 จะเข้ามามีบทบาท
    สำาคัญในการจัดการศึกษาทางไกล
 ของประเทศ เพราะทุก
    ชุมชนที่ประสงค์จะรับบริการทางการ
 ศึกษาก็มีศักยภาพที่
    จะจัดหาโทรทัศน์ และเครื่องรับ
 สัญญาณดาวเทียม ทั้งกรณีที่
    พึงพาตนเองและรัฐบาลจัดหาให้ ซึง
      ่                             ่
 อาจคาดได้วาอย่างน้อย
              ่
    ทุกหมู่บ้าน โรงเรียนทุกแห่ง วัดทุก
บรรณานุกรม
o http://www.thaisakon.com/wbi/
o http://www.skr.ac.th/My%20Intranet/thaigoodview/
  www.thaigoodview.com/cai_c0247/8/c8_7_1.htm
o http://kurotop.igetweb.com/index.php?mo=14&
  newsid=19760
o http://surin.nfe.go.th/main/index.php?option
  =com_content&task=view&id=13&Itemid=14
o http://learners.in.th/blog/pongsiri555555/146873
o http://learners.in.th/blog/kikikiki/121230
o http://learners.in.th/blog/dlf/99648

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
wattumplavittayacom
 
เอกสารประกอบการอบรมติดตั้งจานดาวเทียม (Sat2u 2556)
เอกสารประกอบการอบรมติดตั้งจานดาวเทียม (Sat2u 2556)เอกสารประกอบการอบรมติดตั้งจานดาวเทียม (Sat2u 2556)
เอกสารประกอบการอบรมติดตั้งจานดาวเทียม (Sat2u 2556)
sornblog2u
 
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
Sawita Jiravorasuk
 
ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405
ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405
ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405
Tanakrit Rujirapisit
 
เทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศเทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศ
sutaphat
 
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
krunimsocial
 
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
narongsakday
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
Miewz Tmioewr
 
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
Purinut Wongmaneeroj
 
งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิม
Pornthip Nabnain
 

Mais procurados (20)

ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-4page
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-4pageใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-4page
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-4page
 
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
 
Satallite (Haruthai)
Satallite (Haruthai)Satallite (Haruthai)
Satallite (Haruthai)
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
เอกสารประกอบการอบรมติดตั้งจานดาวเทียม (Sat2u 2556)
เอกสารประกอบการอบรมติดตั้งจานดาวเทียม (Sat2u 2556)เอกสารประกอบการอบรมติดตั้งจานดาวเทียม (Sat2u 2556)
เอกสารประกอบการอบรมติดตั้งจานดาวเทียม (Sat2u 2556)
 
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
 
Contentastrounit5
Contentastrounit5Contentastrounit5
Contentastrounit5
 
2 remote sensing(ppt)
2 remote sensing(ppt)2 remote sensing(ppt)
2 remote sensing(ppt)
 
หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1
หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1 หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1
หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1
 
Remote Sensing
Remote SensingRemote Sensing
Remote Sensing
 
ข่าวสุริยะ
ข่าวสุริยะข่าวสุริยะ
ข่าวสุริยะ
 
ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405
ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405
ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405
 
เทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศเทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศ
 
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
 
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
 
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
 
งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิม
 
First Week
First WeekFirst Week
First Week
 

Destaque

English ISU Presentation - Andrei Carianopol
English ISU Presentation - Andrei CarianopolEnglish ISU Presentation - Andrei Carianopol
English ISU Presentation - Andrei Carianopol
Andrei Carianopol
 
Rmsi milestone presentation
Rmsi milestone presentationRmsi milestone presentation
Rmsi milestone presentation
jm_espiritu
 
Childrens hospital-seattle
Childrens hospital-seattleChildrens hospital-seattle
Childrens hospital-seattle
Kemi Olojede
 

Destaque (20)

Rethinking Company Resources
Rethinking Company ResourcesRethinking Company Resources
Rethinking Company Resources
 
Tizen web app
Tizen web appTizen web app
Tizen web app
 
HML Mortgage Investor Report
HML Mortgage Investor ReportHML Mortgage Investor Report
HML Mortgage Investor Report
 
Leadership ROI : Nothing Else Matters
Leadership ROI : Nothing Else MattersLeadership ROI : Nothing Else Matters
Leadership ROI : Nothing Else Matters
 
Law of attraction new
Law of attraction newLaw of attraction new
Law of attraction new
 
Characterization of biodegradable poly(3 hydroxybutyrate-co-butyleneadipate) ...
Characterization of biodegradable poly(3 hydroxybutyrate-co-butyleneadipate) ...Characterization of biodegradable poly(3 hydroxybutyrate-co-butyleneadipate) ...
Characterization of biodegradable poly(3 hydroxybutyrate-co-butyleneadipate) ...
 
Mobile devices
Mobile devicesMobile devices
Mobile devices
 
Brookings ua version ef
Brookings ua version efBrookings ua version ef
Brookings ua version ef
 
English ISU Presentation - Andrei Carianopol
English ISU Presentation - Andrei CarianopolEnglish ISU Presentation - Andrei Carianopol
English ISU Presentation - Andrei Carianopol
 
Freshwater Matters June2014
Freshwater Matters June2014Freshwater Matters June2014
Freshwater Matters June2014
 
Using Design Psychology for Good and Evil - IGNITE UXPA 2014
Using Design Psychology for Good and Evil - IGNITE UXPA 2014Using Design Psychology for Good and Evil - IGNITE UXPA 2014
Using Design Psychology for Good and Evil - IGNITE UXPA 2014
 
EN3604 Week 4: Poetry of Revolution and Resolution
EN3604 Week 4: Poetry of Revolution and ResolutionEN3604 Week 4: Poetry of Revolution and Resolution
EN3604 Week 4: Poetry of Revolution and Resolution
 
Overview Wisuda Oktober 2012 HME ITB
Overview Wisuda Oktober 2012 HME ITB Overview Wisuda Oktober 2012 HME ITB
Overview Wisuda Oktober 2012 HME ITB
 
Stefan Larsson CEO, keynote on BIMobject live 2014
Stefan Larsson CEO, keynote on BIMobject live 2014Stefan Larsson CEO, keynote on BIMobject live 2014
Stefan Larsson CEO, keynote on BIMobject live 2014
 
150cautracnghiemtriet dapan 0693
150cautracnghiemtriet dapan 0693150cautracnghiemtriet dapan 0693
150cautracnghiemtriet dapan 0693
 
Public Speaking For Scientists
Public Speaking For ScientistsPublic Speaking For Scientists
Public Speaking For Scientists
 
Рослинний світ України
Рослинний світ УкраїниРослинний світ України
Рослинний світ України
 
Rmsi milestone presentation
Rmsi milestone presentationRmsi milestone presentation
Rmsi milestone presentation
 
Bunker
BunkerBunker
Bunker
 
Childrens hospital-seattle
Childrens hospital-seattleChildrens hospital-seattle
Childrens hospital-seattle
 

Semelhante a Start

ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
Proud Meksumpun
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
Kroo Mngschool
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
krupornpana55
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
Wichai Likitponrak
 
ดาวเทียม
ดาวเทียมดาวเทียม
ดาวเทียม
Nasri Sulaiman
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
Pitchayanis Kittichaovanun
 

Semelhante a Start (20)

การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
 
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
ดาวเทียม
ดาวเทียมดาวเทียม
ดาวเทียม
 
Computer Project
Computer Project Computer Project
Computer Project
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
ดาวเทียม
ดาวเทียมดาวเทียม
ดาวเทียม
 
Cbi
CbiCbi
Cbi
 
Astroplan14
Astroplan14Astroplan14
Astroplan14
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
 
Global Positioning System
Global Positioning System Global Positioning System
Global Positioning System
 
Astroplan20
Astroplan20Astroplan20
Astroplan20
 

Start

  • 1.
  • 2. สารบัญ การสือสารผ่านดาวเทียม ่ ระบบการสือสารผ่านดาวเทียม ่ ประเภทของดาวเทียม เทคโนโลยีไร้สายกับดาวเทียม และอวกาศ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
  • 3. การสื่อสารผ่านดาวเทียม เนื่องจากท้องที่ทางภูมิศาสตร์เต็มไปด้วย ภูเขา หุบเขา หรือเป็นเกาะอยู่ในทะเล การสื่อสารที่ดีวิธหนึ่งคือการใช้ดาวเทียม ี ดาวเทียมได้รับการส่งให้โคจรรอบโลก โดยมีการเคลื่อนที่ ไปพร้อมกับการหมุนของโลก ทำาให้ ดาวเทียมอยู่ใน ตำาแหน่ง คงที่ เมื่อมองจากพื้นโลกบนดาวเทียม จะมีการ นำาเอาเครื่อง ถ่ายทอดสัญญาณติดไปด้วย การ สือสารโดยผ่านดาวเทียมจะทำา ่
  • 4. การสื่อสารโดยผ่านดาวเทียมจะทำาโดยการ ส่งสัญญาณสือสารจากสถานีภาคพื้นดิน ่ แห่งหนึ่งขึ้นไปยังดาวเทียม เมื่อ ดาวเทียมรับก็จะส่งกลับมายังสถานีภาคพื้น ดิน อีกแห่งหนึ่ง หรือหลายแห่ง เราจึงใช้ดาวเทียมเพื่อแพร่ภาพสัญญาณ โทรทัศน์ได้ การรับจะครอบคลุมพื้นที่ที่ ดาวเทียมลอยอยู่ซึ่งจะมีบริเวณกว้างมาก และทำาได้โดยไม่มีอุปสรรคจากภูเขาบัง ดาวเทียมจึงเป็นสถานีกลางที่ถ่ายทอด สัญญาณจากที่หนึงไปยังอีกที่หนึ่งได้ ่
  • 5. สื่อสารผ่านดาวเทียมเป็นการสือสารที่มี ่ สถานีรับส่งอยู่ที่พื้นดิน ส่งตรงขึ้นไปยัง ดาวเทียมแล้วส่งต่อลงมายังตัวรับส่งที่พื้น ดินอีกครั้งหนึง ดาวเทียมจึงเสมือนเป็น ่ สถานีถ่ายทอดสัญญาณที่ดียิ่ง เพราะลอย อยู่บนท้องฟ้าในระดับสูงมาก ดาวเทียมสือสารที่ใช้งานต้องมีลักษณะ ่ พิเศษคือ เป็นดาวเทียมค้างฟ้า ซึ่งผิดจาก ดาวเทียมจารกรรมทางทหาร ดาวเทียม สำารวจทรัพยากรที่ประเทศมหาอำานาจส่ง ขึ้นไป ดาวเทียมเหล่านันจะเคลื่อนที่โคจร ้
  • 6. ดาวเทียมค้างฟ้า เป็นดาวเทียมที่ต้องอยู่ บริเวณเหนือเส้นศูนย์สตรและโคจรรอบ ู โลก 1 รอบ ใน 1 วัน พอดีกับเวลาที่โลก หมุนรอบตัวเอง ระดับความสูงและ ความเร็วการโคจรต้องเหมาะสม ดาวเทียม ค้างฟ้าที่ใช้ในการสือสารอยู่ที่ระดับความ ่ สูง 42,184.2 กิโลเมตร ปัจจุบนประเทศไทยมีดาวเทียมไทยคม ั ลอยอยู่เหนือประเทศ ดาวเทียมไทยคมนี้ ใช้ประโยชน์ทางด้านการสือสารของ ่ ประเทศได้มาก เพราะเป็นการให้บริการสือสารของ ่ ประเทศในรูปแบบต่างๆ ตั้งแต่การรับส่ง
  • 7. ประเทศไทยเริ่มใช้ดาวเทียมสือสารครั้ง ่ แรกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2510 การสื่อสารแห่ง ประเทศไทยตั้งสถานีภาคพื้นดินที่อำาเภอศรีราชา ชลบุรี โดยเช่าช่องสัญญาณจำานวน 13 ช่อง สัญญาณ เพื่อติดต่อสือสารระหว่างประเทศ ่ ดาวเทียมที่ใช้ในยุคแรกเป็นของบริษัท ยูอาร์ซี เอ ซึ่งเป็นดาวเทียมทางทหารของสหรัฐอเมริกา จานรับสัญญาณดาวเทียมที่สถานีภาค พื้นดินมีขนาดใหญ่มาก เช่น จานรับสัญญาณดาว เทียมอิเทลแซด ที่ศรีราชามีขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางประมาณ 97 ฟุต สามารถสือสารข้าม ่ มหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย
  • 8. ใน พ.ศ. 2522 สถานีโทรทัศน์ใน ประเทศไทยมีการขยายเครือข่ายทั่ว ประเทศ ในการนีมีการเช่าช่องสัญญาณจาก ้ ดาวเทียมปาลาปาของอินโดนีเซีย ทำาให้ ระบบการถ่ายสัญญาณโทรทัศน์ของ ประเทศไทยกระจายไปยังเมืองใหญ่ ๆ ได้ ทั่วประเทศ จานรับสัญญาณดาวเทียมปาลา ปามีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1-3 เมตร ซึ่ง นับว่าเป็นจานขนาดใหญ่พอสมควร การ ถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ทำาได้งายเพราะไม่ต้องเสียเวลาเดินสาย ่
  • 9.                  ดาวเทียมไทยคมอยู่ในตำาแหน่งเส้นแวงที่ 101 องศาตะวันออก เหนือเส้นศูนย์สตรบริเวณอ่าวไทย ู ค่อนไปทางใต้ ใช้สัญญาณพาหะในย่านความถี่ 4 , 10 และ 12 จิกะเฮิรทซ์ บริษัทผู้ผลิตดาวเทียมคือ บริษัทฮิวส์แอโรคราปของประเทศสหรัฐอเมริกา และส่งขึ้นวงโคจรด้วยจรวดของบริษัทเอเรียนสเปส ของประเทศฝรั่งเศส ข้อได้เปรียบของดาวเทียมไทยคมคือ อยู่ตรงประเทศไทยทำาให้จานรับสัญญาณมีขนาด เล็กลงเหลือเส้นผ่านศูนย์กลางเพียง 50 เซนติเมตร ดาวเทียมไทยคมครอบคลุมพืนที่ประเทศไทย และ ้
  • 10. การสื่อสารผ่านดาวเทียมในประเทศไทย จึงเป็นอีกก้าวหนึงที่ทำาให้ประเทศไทยมี ่ ทางเลือกของการสือสารมากขึ้น การรับรู้ ่ ข้อมูลข่าวสารจะทำาได้เร็วขึ้น การส่ง สัญญาณผ่านดาวเทียมเป็นหนทางหนึ่งที่จะ ส่งไปยังพื้นที่ใด ๆ ก็ได้ในประเทศ แม้จะอยู่ ในป่าเขาหรือมีสิ่งกีดขวางทางภาคพื้นดิน ดังนั้น การกระจายข่าวสารใน อนาคตจะมีบทบาทเพิ่มขึ้น การใช้ข้อมูล ข่าวสารจะเจริญเติบโตไปพร้อมกับความ
  • 11. ระบบการสือสารผ่าน ่ ดาวเทียม ดาวเทียม ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบนมีอยู่ด้วยกัน 2 ั ชนิด จำาแนกตามแนวโคจร ที่มันโคจรอยู่ดังนี้ 1. ดาวเทียมที่อยู่ในวงโคจรทั่วไป มีวงโคจรเป็นรูปวงรี มีระนาบไม่แน่นอน ตำาแหน่งของตัวดาวเทียมเมื่อเทียบกับโลกก็ไม่ แน่นอน มันใช้ในการสำารวจสภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศ แหล่งทรัพยกรธรณี และงานทางด้านการ ทหาร   2. ดาวเทียมค้างฟ้า (Geostationary Satellite) เป็น ดาวเทียมที่อยู่กับที่ เมื่อเทียบกับโลกมีวงโคจรอยู่ใน
  • 12. ประเภทของ ดาวเทียม ดาวเทียม คือ วัตถุที่เกิดจากการประดิษฐ์คิดค้นโดยมันสมองของ มนุษย์ ซึ่งสามารถจะลอยอยู่ในอวกาศ และโคจรรอบโลกหรือ ขับเคลื่อนไปยังจุดหมายปลายทางที่ มนุษย์ตองการได้ โดย ้ อาศัยกฎเกณฑ์ทางวิทยาศาสตร์ตางๆ ่ ดาวเทียมมีมากมายหลายประเภท สามารถแบ่งประเภทการใช้งาน ได้ 11 ประเภท ดังนี้ • ดาวเทียมเพื่อการสื่อสารระหว่างจุดต่อจุด • ดาวเทียมเพื่อการสื่อสารระหว่างดาวเทียม • ดาวเทียมเพื่อการสื่อสารเคลื่อนที่บนบก ในนำำา และในอากาศ • ดาวเทียมเพื่อการสื่อสารวิทยุกระจายเสียง และโทรทัศน์ • ดาวเทียมเพื่อการสำารวจโลก สำารวจทรัพยากรธรรมชาติ • ดาวเทียมเพื่อการสำารวจอวกาศ • ดาวเทียมเพื่อการพยากรณ์อากาศ • ดาวเทียมเพื่อการปฏิบัติในห้วงอวกาศ • ดาวเทียมเพื่อกิจการวิทยุสมัครเล่น • ดาวเทียมเพื่อการกำาหนดตำาแหน่ง
  • 13. เทคโนโลยีไร้สายกับ ดาวเทียมร้อยๆดวงนั้นมีการยิง  ดาวเทียมที่โคจรอยู่รอบโลกนับ และอวกาศ สัญญาณข้อมูลต่าง ๆ มาที่พื้นโลก และยิงสัญญาณ จากพื้นโลกไปยังดาวเทียม โดยมีวัตถุประสงค์ หลาย อย่าง รวมทั้งการตรวจสอบสภาพอากาศ การส่ง สัญญาณโทรศัพท์ ทีวี และสัญญาณวิทยุมีการใช้งาน ในการระบุตำาแหน่งและส่งไปให้ผที่ตองการใช้และอื่น ู้ ้ ๆ  เรื่องจากที่กล่าวมาข้างต้นนั้น จะมีการส่งข้อมูลจาก นอกโลกหรือในอวกาศ เช่น จากดาวอังคารหรืออาจจะ ส่งมาจากระบบสุริยะจักรวาล ของเราก็ได้ และในการ สื่อสารเช่นนี้ได้นั้นก็จำาเป็นต้องใช้เทคโนโลยีไร้สายใน การทำางานทั้งสิ้น สิ่งที่น่าสนใจและน่าแปลกใจในการ สื่อสาร ผ่านดาวเทียมก็คือการใช้เครื่องมือสื่อสารพื้น
  • 14.  ดาวเทียมหลาย ๆ ชนิดนันเกียวข้องกัน ทำางานร่วมกันในด้าน ้ ่ การสื่อสาร ดาวเทียมชนิดแรกคือ Geostationary ซึ่งโคจร รอบโลกที่ความสูง จากพื้นโลก 35,784 กิโลเมตร โดยที่ ความสูงขนาดนั้นจะมีรอบของการโคจรอยู่ที่ 24 ชั่วโมง หรือ พูดอีกอย่างก็คือดาวเทียมโคจรทีความเร็วเท่ากับ ความเร็ว ่ ของโลกที่โคจรครบ 1 รอบนั่นเอง ดังนั้นดาวเทียมจึงอยู่กับที่ เมื่อเทียบกับตำาแหน่งบนพื้นโลก ณ จุด ๆ หนึง เนืองจาก ่ ่ สาเหตุนี้เองจาน ดาวเทียมบนโลกจึงทำาการชี้ตรงไปที่ ดาวเทียม โดยที่ไม่จำาเป็นต้องมีการเคลื่อนย้ายเนืองจาก ่ ตำาแหน่งสัมพันธ์ระหว่างดาวเทียมและจานดาวเทียมนันจะ ้ คงที่เสมอ  ดาวเทียมชนิดที่สองคือดาวเทียม Middle Earth Orbit (MEO) ซึ่งโคจรอยู่ทความสูงระหว่าง 5,000 ถึง 15,000 ี่ กิโลเมตร เหนือพื้นโลก ดาวเทียม ที่อยู่ในช่วงความสูงระยะนี้ เป็นดาวเทียมสำาหรับการระบุตำาแหน่งบนพื้นโลก( Global Positioning System หรือ GPS) อย่างที่คณจะได้เห็นในการ ุ ทำางานของ GPS ในตัวอย่างต่อไป คือการที่ GPS สามารถที่ จะระบุตำาแหน่งและบอกว่าคุณอยู่ทลองติจูดและละติจูดที่ ี่ เท่าไรบนพื้นโลก ณ ในขณะนั้น และเมื่อนำามารวมกับ
  • 15.  ดาวเทียมชนิดที่สาม คือดาวเทียม Low Earth Orbit (LEO) คือ ดาวเทียมที่โคจรอยู่ทความสูงตั้งแต่ 100 ถึง 1,000 กิโลเมตร ี่ การสื่อสารผ่านดาวเทียมแรกๆนัน สื่อสารโดยการใช้ดาวเทียม ้ สะท้อนสัญญาณ ( Echo Satellite) ซึ่งเป็นแบบ LEO โดยเริ่มใช้ เมื่อ ค.ศ. 1960 บริษัท Iridium ได้ทำาการปล่อยดาวเทียมชนิด LEO ถึง 12 ดวงเพื่อใช้สำาหรับบริการให้คนที่ใช้โทรศัพท์สามารถ ทีจะติดต่อกันได้ทกๆที่บนโลก โดยการยิงสัญญาณและรับ ่ ุ สัญญาณกับดาวเทียม แต่ด้วยเหตุผลด้านการเงินและด้านเทคนิค ดาวเทียมเหล่านี้มีการใช้งานน้อยลงเรื่อยๆ จนกระทั่งปี ค.ศ. 1990 และสุดท้ายการดำาเนินธุรกิจก็ล้มละลาย แต่อย่างไรก็ตาม ธุรกิจก็กลับฟื้นฟูขึ้นมาใหม่ เนื่องจากมีหลายบริษทอย่างเช่น ั Globalstar นั้นมีแผนการทีจะขายบริการด้านโทรศัพท์ผาน ่ ่ ดาวเทียมโดยการใช้ดาวเทียมของบริษัทนี้  ดาวเทียมชนิดอื่น ๆ ทีใช้ระบบการสื่อสารไร้สายถูกใช้สำาหรับด้าน ่ การสำารวจอวกาศ เมื่อคุณมองดูที่รูปภาพทีถ่ายจากดาวอังคาร ่ หรือดาวพฤหัสบดี ภาพเหล่านั้นถูกส่งมาทีโลกโดยใช้เทคโนโลยี ่ ไร้สาย คุณจะได้เห็นจากตัวอย่างภายในบทความนี้ ว่าจริง ๆ แล้ว อุปกรณ์ส่งสัญญาณทีทำางานในงานด้านนี้นนไม่ได้ใช้ความเข้ม ่ ั้
  • 16. การศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียม  โครงการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เป็น โครงการที่รัฐบาลกำาหนดให้เป็นโครงการตามนโยบาย รัฐบาลเพื่อสนับสนุนการดำาเนินงานนโยบายเกี่ยวกับ การขยายโอกาส และพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามข้อ เสนอของกระทรวงศึกษาธิการ ที่ต้องการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีการสื่อสารดาวเทียม เพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของไทยเนื่องจากประเทศไทยมีความพร้อม จากการมีดาวเทียมสื่อสารแห่งชาติดวงแรกเป็นของ ตนเองตามสัมปทาน  ซึงดาวเทียมสื่อสารดวงแรกของประเทศไทยได้รับ ่ พระมหากรุณาธิคณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หว ุ ั พระราชทานชือว่า " ดาวเทียมไทยคม " มาจากคำาว่า ่
  • 17. จากความก้าวหน้าของทางเทคโนโลยีการสื่อสาร ไม่ได้กอ ่ ให้เกิดประโยชน์เฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศนัน เนื่องจากการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพจะนำาไปสู่การ ้ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและความรู้ที่กว้างขวาง จะเป็นประโยชน์ ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนด้วย หากสามารถ กระจายโอกาสทางการศึกษาไปสู่ประชาชนให้ทวถึง และั่ พัฒนาคุณภาพให้อยู่ในมาตรฐานเดียวกัน ย่อมก่อให้เกิดการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยรวม  กระทรวงศึกษาธิการ ได้เล็งเห็นถึงศักยภาพของการ สื่อสารดาวเทียมที่จะเป็นเทคโนโลยีทางเลือก (Alternative Technology) ที่จะนำาไปสู่การขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของประเทศ เนืองจากการแพร่ภาพสัญญาณ ่ โทรทัศน์ภาคพื้นดินที่ใช้กับสถานีวิทยุโทรทัศน์ในปัจจุบันมีข้อ จำากัดในการใช้ช่วงเวลา จึงได้จัดทำาโครงการจัดการศึกษาทาง ไกลผ่านดาวเทียมเป็นการเผยแพร่ภาพรายการโทรทัศน์ดวย ้
  • 18. ขยายบริการทางการศึกษาให้กบประชาชนอย่างทัวถึง ั ่ ซึ่งสอดคล้องกับมติรัฐมนตรี เรื่อง การขยายการศึกษาพื้น ฐานจาก 6 ปี เป็น 9 ปี โดยเร่งรัดการเรียนต่อในระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นของกลุ่มเป้าหมายเด็กยากจนในชนบท และเด็กด้อยโอกาสในกลุ่มอายุ 13 - 15 ปี รวมถึงกลุมเป้า ่ หมายแรงงานความรู้ตำ่า ซึ่งจำาเป็นต้องพัฒนาศักยภาพเพื่อ ให้สามารถรองรับการพัฒนาทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี เริ่มก่อตัำง การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม  โดยได้เสนอรายละเอียดโครงการจัดการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียมให้คณะรัฐมนตรีพิจารณา เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2537 และคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบและอนุมัติ ให้กระทรวงศึกษาธิการ โดยกรมการศึกษานอกโรงเรียน ทดลองโครงการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมตาม รายละเอียดที่เสนอ เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2537 ดังนี้
  • 19.   1.อนุมติการจัดการศึกษาทางไกลผ่าน ั ดาวเทียมให้เป็นนโยบาย ของรัฐบาล 2. อนุมัติให้กระทรวงศึกษาธิการโดยกรมการ ศึกษานอกโรงเรียน ร่วมงานกับหน่วยงานรัฐและเอกชนดำาเนิน โครงการจัดการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียมตามแนวและรูป แบบที่กำาหนด
  • 20. 1. อนุมัติหลักการในการใช้งบประมาณ แผ่นดิน เพื่อจัดการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม ในส่วนที่เพิ่มเติมจากเงินช่วย เหลือที่บริจาคโดยมูลนิธิไทยคมให้กับ โครงการโดยให้กระทรวง ศึกษาธิการเป็นผู้จัดทำารายละเอียดตาม แนวทางการจัดตั้งงบประมาณในแต่ละปี ของราชการ 4. อนุมัติให้จัดตั้งศูนย์การศึกษาทางไกล ไทยคมให้เป็นหน่วยงานทางการศึกษา
  • 21. ประโยชน์ที่คาดว่า จะได้รับ การทดลองโครงการจัดการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียมคาดว่าจะก่อให้เกิดประโยชน์ ดังนีำ 1. ประชาชนทั้งประเทศที่ประสงค์จะได้รับการศึกษา จะสามารถเข้า รับบริการกรศึกษาได้ตามความต้องการ 2. ผู้เรียนทั่วประเทศจะได้รบเนื้อหาสาระของการ ั ศึกษาในคุณภาพและมาตรฐาน ในระดับเดียวกันกับครูอาจารย์ ผูเชียวชาญ ้ ่ โดยตรง 3. ระบบการศึกษาของประเทศ ทั้งการศึกษาใน ระบบโรงเรียน การศึกษานอก โรงเรียนและการศึกษาตามอัธยาศัย ทั้งใน
  • 22. 4. โทรทัศน์เพื่อการศึกษาผ่านดาวเทียม จะเข้ามามีบทบาท สำาคัญในการจัดการศึกษาทางไกล ของประเทศ เพราะทุก ชุมชนที่ประสงค์จะรับบริการทางการ ศึกษาก็มีศักยภาพที่ จะจัดหาโทรทัศน์ และเครื่องรับ สัญญาณดาวเทียม ทั้งกรณีที่ พึงพาตนเองและรัฐบาลจัดหาให้ ซึง ่ ่ อาจคาดได้วาอย่างน้อย ่ ทุกหมู่บ้าน โรงเรียนทุกแห่ง วัดทุก
  • 23. บรรณานุกรม o http://www.thaisakon.com/wbi/ o http://www.skr.ac.th/My%20Intranet/thaigoodview/ www.thaigoodview.com/cai_c0247/8/c8_7_1.htm o http://kurotop.igetweb.com/index.php?mo=14& newsid=19760 o http://surin.nfe.go.th/main/index.php?option =com_content&task=view&id=13&Itemid=14 o http://learners.in.th/blog/pongsiri555555/146873 o http://learners.in.th/blog/kikikiki/121230 o http://learners.in.th/blog/dlf/99648