SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 58
Baixar para ler offline
Physics Online V                 http://www.pec9.com               บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
                             ฟ สิ ก ส บทที่ 15 ไฟฟ า สถิ ต ย
    ตอนที่ 1 กฏของคูลอมบ!
 กฏแรงดึงดูดระหวางประจุของคูลอมบ
! # เมื่อประจุไฟฟา 2 ตวอยหางกนขนาดหนง จะมีแรงกระทําซึ่งกันและกันเสมอ !
                       ั ู  ั         ่ึ
! ! หากเปนประจุชนิดเดียวจะมีแรงผลักกัน หากเปนประจตางชนดกนจะมแรงดงดดกน$!
                                                 ุ  ิ ั        ี ึ ู ั
     แรงกระทําที่เกิดหาคาไดจาก
!

                                   KQ1Q2
                         F =
                                    R2
! ! เมือ! ! ! F
       ่                 =   แรงกระทา (นิวตัน)
                                       ํ
                K        =   คาคงที่ของคูลอมบ = 9 x 109 N.m2 /c2! ! !
          Q1 , Q2        =   ขนาดของประจุตวที่ 1 และตัวที่ 2 ตามลําดับ (คูลอมบ)
                                             ั
                R        =   ระยะหางระหวางประจุทั้งสอง (เมตร)
1. จากรูปใหหาแรงกระทําระหวางประจุทั้งสองนี้
วธทา
 ิี ํ                              ( 0.01 N )
                                                                                      !




2. ประจุ +5.0 x 10–5 C และ –2.0 x 10–5 C วางอยูหางกัน 1 เมตร จะมแรงดดกน หรือ
                                                                   ี ู ั
   ผลักกันกี่นิวตัน                                               ( แรงดูดกัน 9 นิวตัน )
วธทา
 ิี ํ




!                                               "!
Physics Online V               http://www.pec9.com                  บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
3. ประจขนาด A คูลอมบ และ 1.0 x 10–5 คูลอมบ วางอยูหางกัน 3 เมตร จะมีแรงกระทํา
          ุ
   ตอกน 1 นิวตัน จงหาวาประจุ A เปนประจุขนาดกี่คูลอมบ
       ั                                                                (1.0x10–4 )
วธทา
 ิี ํ




4. แรงผลกระหวางประจทเ่ี หมอนกนคหนงเปน 27 นิวตัน จงหาขนาดของแรงผลกระหวาง
         ั           ุ   ื ั ู ่ึ                            ั    
   ประจคน้ี ถาระยะหางของประจุเปน 3 เทาของเดิม
       ุ ู                                                          ( 3 N)
วธทา
 ิี ํ




5. ประจุคูหนึ่งวางใหหางกันเปน 2 เทาของระยะเดิม แรงกระทาระหวางประจในตอนหลง
                                                           ํ         ุ          ั
   จะมคาเปนกเ่ี ทาของตอนแรก
      ี                                                                ( 1/4 เทา)
วธทา
 ิี ํ




6. ลูกพิธ 2 ลูกวางหางกัน 8 ซม. จะเกิดแรงผลักกันคาหนึ่ง ถาเพิ่มประจุลูกหนึ่งเปน 2 เทา
                                                                                       
   และอีกลูกหนึ่งเปน 3 เทา จะตองวางลูกพิธทั้งสองหางกันเทาใด จงจะเกดแรงกระทาเทาเดม
                                                                 ึ    ิ           ํ  ิ
วธทา ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ( 8 6 ซม.)!
 ิี ํ




!                                          %!
Physics Online V                 http://www.pec9.com                   บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
    กรณีที่โจทยไมบอกประจุ มาให เราอาจหาคาประจุนั้น ๆ ไดจาก
                        Q=ne
                เมือ n = จานวนอเิ ลคตรอน
                   ่        ํ
                      e = ประจอเิ ลคตรอน 1 ตัว = 1.6 x 10–19 คูลอมบ
                                ุ
7. กอนโลหะ 2 กอน มีระยะหางระหวางจุดศูนยกลางของโลหะทั้งสองเปน 3 เมตร ในกอน
   โลหะแตละกอนมอเิ ลกตรอนอสระอยู 1x1015 ตัว จงหาขนาดแรงผลักที่เกิด
            ี ็            ิ                                             ( 25.6N )
วธทา
 ิี ํ




8. กอนทองแดง 2 กอน วางหางกัน 3 เมตร แตละกอนมีอเิ ล็กตรอนอิสระอยู 5 x 1014 ตัว
   จงหาขนาดของแรงผลกทเ่ี กดขนในหนวยนวตน
                     ั ิ ้ึ         ิ ั
      ก. 1.4           ข. 2.4            ค. 4.4              ง. 6.4           (ขอ ง)
วธทา
 ิี ํ




9. ทรงกลมเล็ก ๆ 2 อน เปนกลางทางไฟฟา และวางอยูหางกัน 0.5 เมตร สมมตวาอเิ ลกตรอน
                    ั                                                       ิ ็
   3.0 x 10+13 ตัว หลุดออกจากทรงกลมหนึ่งและไปอยูที่อีกทรงกลมหนึ่ง (a) จงหาขนาด
   ของแรงที่เกิดกับทรงกลมแตละอัน (b) แรงทีเ่ กิดขึนเปนแรงดูดหรือแรงผลัก
                                                   ้
วธทา
 ิี ํ                                                                 ( เปนแรงดูด 0.83 N )




!                                            &!
Physics Online V               http://www.pec9.com                 บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
10. จากรูป จงหาแรงลัพธที่                            B = +1 x 10–5 C!
   กระทําตอประจุ B                  A = +6 x 10–5 C!                  C = −5 x 10–5 C!
                   ( 1.1 N )
                                                     3 ม.!           3 ม.!
วธทา
 ิี ํ




11. จากรูป จงหาแรงลัพธที่
   กระทําตอประจุ B                 A = −6 x 10–5 C! B = +1x10–5 C! C = −5 x 10–5 C!
                   ( 0.1 N )
                                                     3 ม.!          3 ม.!
วธทา
 ิี ํ




12. ประจุ +5.0 x 10–6 C และ –3.0 x 10–6 C วางอยูหางกัน 20 เซนตเิ มตร ถานําประจุ
   ทดสอบขนาด +1.0 x 10–6 C มาวางไวที่จุดกึ่งกลางระหวางประจุทั้งสองขนาด และมี
   ทิศทางของแรงที่กระทําตอประจุทดสอบคือ
      ก. 0.72 นิวตัน และมีทิศชี้เขาหาประจุลบ
      ข. 1.8 นิวตัน และมีทิศเขาหาประจุบวก
      ค. 7.2 นิวตัน และมีทิศเขาหาประจุลบ
      ง. 7.2 นิวตัน และมีทิศเขาหาประจุบวก                                     (ขอ ค)
                                                                                 
วธทา
 ิี ํ




!                                         '!
Physics Online V               http://www.pec9.com                  บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
13. จากรูป จงหาแรงลัพธที่กระทําตอประจุ B
                                                                      C = +3 x 10–5 C!
วธทา
 ิี ํ                               (5 N)
                                                                     3 ม.!
                                             A = −4 x 10–5 C!
                                                                        B = +1 x 10–4 C!
                                                            3 ม.!




14(มช 34) สามเหลี่ยมดานเทารูปหนึ่งมีความยาวดานละ 30 เซนตเิ มตร และที่แตละมุมของ
   สามเหลี่ยมนี้ มจดประจุ +2 , –2 และ +5 ไมโครคูลอมบ วางอยู อยากทราบวาขนาด
                  ีุ
   ของแรงไฟฟาบนประจุ +5 ไมโครคูลอมบมีคากี่นิวตัน
                                                                          (1 นิวตัน)!
วธทา
 ิี ํ




                    !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

!                                            (!
Physics Online V               http://www.pec9.com                  บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
      ตอนที่ 2 สนามไฟฟา
                       สนามไฟฟา (E) คือ บรเิ วณรอบ ๆ ประจุซึ่งจะมีแรงทางไฟฟาแผออกมา !
                                        ตลอดเวลา สนามไฟฟาเปนปรมาณเวกเตอร!
                                                              ิ              
                                     ทิศทางของสนามไฟฟา กาหนดวา!
                                                             ํ      
                                        ! สําหรับประจุบวก สนามไฟฟามีทิศออกตัวประจุ!
                                        ! สําหรับตัวประจุลบ สนามไฟฟามีทิศเขาตัวประจุ!
!
!
!                       !                                                       !
!


15. ถา +Q และ –Q เปนประจตนกาเนดสนามโดยท่ี +q และ –q เปนประจทดสอบ รูปใด
                        ุ  ํ ิ                           ุ
   แสดงทศของ F และ E ไมถูกตอง
          ิ

          ก.                                         ข.
                                                                          !

          ค.                                         ง.
!




! ! จ.! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! (ขอ จ)

 ขนาดความเขมสนามไฟฟาหาคาไดจาก!
! ! ! ! !       E = KQ
                       R2
   เมือ E คือ ความเขมสนามไฟฟา (N/C , V/m)
      ่                                                   K = 9 x 109 N. m2 / C2
        Q คือ ขนาดของประจตนเหตุ (C)
                           ุ                             R คือ ระยะหางจากประจตนเหตุ (m)
                                                                              ุ 
16. จากรูป จงหาวาสนามไฟฟาของประจุ +2x10–3 คูลอมบ                  Q = +2 x 10–3 C!
   ณ.จด A จะมีความเขมกี่นิวตัน/คูลอมบ และ มีทิศไปทาง
       ุ                                                                                A
                                                                                        *!
   ซายหรอขวา
       ื                          ( 2x106 N/C ไปทางขวา)                        3 ม.!
วธทา
 ิี ํ


!                                             )!
Physics Online V             http://www.pec9.com                    บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
17. จากรูป จงหาวาสนามไฟฟาของประจุ –4x10–3 คูลอมบ
                                                                                 Q = −4 x 10–3 C!
   ณ.จด A จะมีความเขมกี่นิวตัน/คูลอมบ และ มทศขนหรอ
      ุ                                       ี ิ ้ึ ื
                                                                1 ม.!
   ลง                              (36x106 N/C มีทิศขึ้น)
                                                                          *!A
วธทา
 ิี ํ




18. จากรูปที่กําหนดให จงหาวาสนาม
                                            A = +4 x 10–9 C!               B = −3 x 10–9 C!
   ไฟฟาลัพธที่จุด X มีขนาดเทาใด                              X
                                                        3 ม.!   *!
วธทา
 ิี ํ                       ( 7 N/C )                                    3 ม.!




!


19(มช 44) ประจบวก q1 = 2 ไมโครคูลอมบ วางหางจาก ประจุลบ q2 = –2 ไมโครคูลอมบ
                  ุ
   เปนระยะ 6 เมตร สนามไฟฟาที่ตําแหนงกึ่งกลางระหวาง 2 ประจุน้ี ในหนวยของ N/C
   มีคาเปนเทาใด
       1. –2 x103       2. 0           3. 2 x 103           4. 4 x103      (ขอ 4)
                                                                             
วธทา
 ิี ํ




!                                           *!
Physics Online V                http://www.pec9.com                       บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
20. จากรูปที่กําหนดให จงหาวาสนามไฟฟาลัพธ          A = +4 x 10–9 C!
   ทจด X มีขนาดเทาใด
      ่ี ุ                                                                   X
                                                                  3 ม.!         *!
วธทา
 ิี ํ                              ( 5 N/C )
                                                                           3 ม.!


                                                                         B = −3 x 10–9 C!




21. จงหาความเขมสนามไฟฟาที่จุด B ในรูปที่กําหนด          +5 µC                       –3.6 µC
      ( กําหนด cos 127o = –0.6 )                                         8 cm
                                                                  37o
วธทา
 ิี ํ                             (7.26x106 N/C)                                           6 cm
                                                                   10 cm
                                                                                     53o
                                                                                            B




22. ประจุ q1 , q2 มีขนาดเทากันอยูหางกัน 0.1 m สนามไฟฟา ณ จุดกึ่งกลางระหวางประจุ
      ทั้งสองมีทิศพุงเขาหา q2 และมีขนาด 4.8x104 V/m จงหา q1 , q2       ( ± 6.67x10–9 C)
วธทา
 ิี ํ




!                                           +!
Physics Online V                  http://www.pec9.com                   บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
    จุดสะเทิน คือ จุดที่มีคาสนามไฟฟาลัพธมีคาเปนศูนย
    โดยทวไปแลว 1. จุดสะเทินจะ เกดขนไดเ พยงจดเดยวเทานน
         ่ั                        ิ ้ึ       ี ุ ี  ้ั
      2. หากเปนจดสะเทนของประจุ 2 ตัว จะเกิดในแนวเสนตรงที่ลากผานประจุทั้งสอง
               ุ         ิ
                                                                   Eรวม = 0!
          และ หากประจุทงสองเปนประจุชนิดเดียวกัน
                             ้ั
                                                                       *!
               จดสะเทนจะอยระหวางกลางประจทงสอง
                   ุ    ิ          ู         ุ ้ั         +Q1!              +Q2!
              หากประจุทงสองเปนประจุตางชนิดกัน
                          ้ั            
                                                                                      Eรวม = 0!
               จดสะเทนจะอยรอบนอกประจทงสอง
                 ุ    ิ         ู        ุ ้ั                                        *!
       3. จุดสะเทินจะเกิดอยูใกลประจุที่มีคานอยกวา      +Q1!            − Q 2!
!


23. ประจุไฟฟาขนาด +15 และ –30 หนวย
   ประจุวางอยูดงรูป ตําแหนงใดควรเปนจุดสะเทิน!
                 ั                                                                        !

! ! ก. A              ข. B           ค. C         ง. D       จ. ไมมีคําตอบถูก           (ขอ จ)
                                                                                             
ตอบ
24. ตําแหนงที่สนามไฟฟารวมเปนศูนย ซึ่งสนามนั้นเกิดจากประจุ 2 ประจุ
           1. เกดขนไดเ พยงจดเดยวเทานน
                ิ ้ึ       ี ุ ี  ้ั
           2. เกิดอยูใกลประจุที่มีคานอย
           3. เกิดในแนวเสนตรงที่ลากผานประจุทั้งสอง                                    (ขอ ก)
                                                                                           
       ก. ขอ 1 , 2 , 3              ข. ขอ 1 , 2      ค. ขอ 1 , 3       ง. ขอ 2 , 3
ตอบ
25. ประจไฟฟาขนาด +9 µC ถูกวางไวที่ตําแหนง X = 0 ม. และประจุไฟฟาที่สอง +4 µC
          ุ 
   ถูกวางไวที่ตําแหนง X = 1 ม. จุดสะเทินจะอยูหางจากประจุ +9 µC กี่เมตร           (0.6 เมตร)
วธทา
 ิี ํ




!                                                  ,!
Physics Online V                   http://www.pec9.com                  บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
26(มช 37) วางประจุ +9Q คูลอมบ ทีตาแหนงจุดกําเนิด (0 , 0) และจุดประจุ –4Q คูลอมบ
                                 ่ ํ
   ทตาแหนง x = 1 เมตร y = 0 จงหาระยะบนแกน x ที่สนามไฟฟาเปนศูนย (3 เมตร)
      ่ี ํ 
วธทา
 ิี ํ




!


     ขนาดของแรงกระทําตอประจุทดสอบหาจาก!
      ! ! ! ! ! F = qE
        เมือ F คือ แรงกระทา (N)
           ่               ํ         q คือ ประจุทดสอบที่ถูกแรงกระทํานั้น (C)
27. กําหนดใหจุด A อยูหางจากประจุ 4 x 10–9 คูลอมบ เปนระยะ 1 เมตร
       ก) สนามไฟฟา ณ.จด A จะมีความเขมกี่นิวตัน/คูลอมบ
                         ุ                                                 ( 36 N/C )
       ข) หากนําอิเลคตรอน 1 ตัว ไปวางตรงจุด A จงหาแรงกระทําตออิเลคตรอนนี้
              ( กําหนด ประจุอิเลคตรอน 1 ตัว เทากับ 1.6 x 10–19 คูลอมบ )         (5.76x10–18 N)
          ค. จงหาความเรงในการเคลอนทของอเิ ลคตรอนน้ี
                               ่ื ่ี
              ( กําหนด มวลอิเลคตรอน 1 ตัว เทากับ 9.1 x 10–31 กิโลกรัม )        (6.33x1012 m/s2)
วธทา
 ิี ํ




!                                                  "-!
Physics Online V                 http://www.pec9.com                     บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
28. กําหนดใหจุด A อยูหางจากประจุ 5 x 10–9 คูลอมบ เปนระยะ 3 เมตร
       ก) สนามไฟฟา ณ.จด A จะมีความเขมกี่นิวตัน/คูลอมบ
                          ุ                                        ( 5 นิวตัน/คูลอมบ )
       ข) หากนําอิเลคตรอน 1 ตัว ไปวางตรงจุด A จงหาแรงกระทําตออิเลคตรอนนี้
          ( กําหนด ประจอเิ ลคตรอน 1 ตัว เทากับ 1.6 x 10–19 คูลอมบ ) (8 x 10–19 นิวตัน)
                        ุ
วธทา
 ิี ํ




                     !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""



! ตอนที่ 3 !ศักยไฟฟา!
!!!เราสามารถหาคาศักยไฟฟา ณ. จุดรอบ ๆ ประจุไดจากสมการ!
                 V = KQ !R                       Q!                  A
      !
                                                                     *!
      เมือ !!!V !คือ ศักยไฟฟา (โวลต)!
          ่                                              R!
      ! Q คือ ประจตนเหตุ (คูลอมบ)
                           ุ
              R คือ ระยะหางจากประจตนเหตุ (เมตร)
                                       ุ 
   ขอควรทราบ!
    
! 1) ศักยไฟฟา เปนปริมาณสเกลลาร มีแตขนาด ไมมีทิศทาง การคํานวณหาศักยไฟฟา !
 ! ! ตองแทนเครองหมาย + – ของ ประจุ (Q) ดวยเสมอ
                  ่ื
   2)
!
! ! เมอทาการเลอนประจทดสอบจากจดหนงไปสจดทสอง!
         ่ื ํ     ่ื      ุ             ุ ่ึ      ู ุ ่ี
  ! ! จะไดวา! ! V2 – V1 = W           q
! ! เมือ!V1 คือ ศักยไฟฟาที่จุดเริ่มตน (โวลต) !!!V2 คือ ศักยไฟฟาที่จุดสุดทาย (โวลต)
       ่                                      
            W คือ งานที่ใชในการเลื่อนประจุ (จล) q คือ ประจทเ่ี คลอนท่ี (คูลอมบ)
                                                ู               ุ ่ื
!                                          ""!
Physics Online V              http://www.pec9.com              บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
29. จากรูป ประจุ Q มีขนาด –2 x1 0–9 คูลอมบ
      ก. จงหาศักยไฟฟาที่จุด A             ( –18 V)
! ! ข. จงหาศักยไฟฟาที่จุด B               ( –6 V )
      ค. หากเลอนประจขนาด 2 คูลอมบ
              ่ื       ุ
         จาก B ไป A จะตองทํางานเทาใด ( –24 J) !
วธทา
 ิี ํ




!
!
30. จากรูป ประจุ Q มีขนาด –5 x1 0–9 คูลอมบ
    จงหาศักยไฟฟาที่จุด A และ B ตามลําดับ
! ! 1. −45 , 15!! ! ! ! 2. −30 , −15! ! !
! ! 3. −45 , −15! ! ! ! 4. −30 , 15!! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! (ขอ 3)!
                                                              
วธทา
  ิี ํ




31. จากขอที่ผานมา หากเลอนประจขนาด 2 คูลอมบ จาก B ไป A จะตองทํางานเทาใด
                         ่ื    ุ
      1. 45             2. −45         3. 60          4. −60              (ขอ 4)!
วธทา
 ิี ํ




!                                       "%!
Physics Online V               http://www.pec9.com                 บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
32(En 32) A และ B เปนจดทอยหางจากประจุ 4 x 10–6 คูลอมบ เปนระยะทาง 2 และ
                       ุ ่ี ู 
   12 เมตร ตามลําดับ ถาตองการเลือนประจุ – 4 คูลอมบ จาก A ไป B ตองใชงานใน
                                  ่
   หนวยกิโลจูลเทาใด
      1. 8.75          2. 15            3. –35             4. +60            (ขอ 4)
วธทา
 ิี ํ




33. จด A อยูหางจากประจุ –2 x 10–10 C เปนระยะ 1 เมตร จงหางานที่ตองทําในการพา
      ุ
   ประจุ 3 x 10–12 C จากที่ไกลมากมาที่จุด A นี้                        (–5.4 x10–12 J)
วธทา
 ิี ํ




34. มีประจุขนาด –4 x 10–10 C จด A อยูหางจากประจุนี้ 1 เมตร จงหางานที่ตองทําใน
                              ุ
   การพาประจุ 2 x 10–12 C จากที่ไกลมากมาที่จุด A นี้                 (– 7.2x10–12 J )
วธทา
 ิี ํ




35. จากขอที่ผานมาจงหางานในการพาประจุ 2 x 10–12 C จากจุด A ไปวาง ณ.จุดซึ่งไกลมาก
วิธทา
   ี ํ                                                                    (7.2x 10–12 J)




!                                        "&!
Physics Online V               http://www.pec9.com                    บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
36. ในการนาประจุ 2 x10–4 C จาก infinity เขาหาประจุบวกถึงจุด ๆ หนงตองสนเปลองงาน
              ํ                                                   ่ึ  ้ิ ื
      5 x10–2 จล จุดนั้นมีศักยไฟฟากี่โวลต
                ู
        ก. 2.5 x 102        ข. 4 x 10–3      ค. 1 x 10–5    ง. 2.5 x 10–6   (ขอ ก)
                                                                              
วธทา
 ิี ํ



!


       กรณทมศกยไฟฟายอยหลายๆ ตัว หากตองการหาคาศักยไฟฟารวม ใหนําศักยไฟฟายอย
           ี ่ี ี ั   
       แตละตัวมารวมกันแบบพีชคณิตธรรมดา เพราะศักยไฟฟาเปนปริมาณสเกลารไมใชเวกเตอร
37. จากรูปที่กําหนดให จงหาวาศักยไฟฟารวม                       A = +4 x 10–9 C!
   ทจด X มีขนาดเทาใด
      ่ี ุ                            (3 V)                                               X
                                                                           3 ม.!          *!
วธทา
 ิี ํ
                                                                                            3 ม.!


                                                                                    B = −3 x 10–9 C!




38. จากรูปที่กําหนดให จงหาวา ศักย          A = –1 x 10–9 C!                B = −5 x 10–9 C!
    ไฟฟารวมที่จุด X มีขนาดเทาใด                                   X
                                                          3 ม.!      *!
วิธทา
   ี ํ                     (–18 โวลต)                                      3 ม.!




!                                            "'!
Physics Online V               http://www.pec9.com                บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
39. จากรูป A , B และ C มจดประจขนาด 3.0 x 10–6 , 1.0 x 10–6 และ –1.0 x 10–6 คูลอมบ
                        ีุ       ุ
   ตามลําดับ เมือ AP = 0.6 เมตร , CP = 0.3 เมตร และ
                 ่                                                     •! C
   BP = 0.1 เมตร ศักยไฟฟาที่ตําแหนง P มีคาเทาใด
      1. 1.05 x 105 โวลต          2. 1.83 x 105 โวลต A •!                    •!B
                                                                       P
      3. 2.10 x 105 โวลต          4. 3.66x 105 โวลต                        (ขอ 1 )
                                                                               
วธทา
 ิี ํ




40. จากขอที่ผานมา หากนําประจุขนาด –1.0 x 10–6 คูลอมบ จากจุดที่ไกลมากมาวางที่จุด P
   จะตองทํางานกี่จูล
      1. –2.10          2. –1.05          3. –0.105        4. –10.5            (ขอ 3)
                                                                                  
วธทา
 ิี ํ




!                                        "(!
Physics Online V              http://www.pec9.com                     บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
!ตอนที่ 4 สนามไฟฟา และศกยไฟฟารอบตวนา!
                        ั       ั ํ
    การคํานวณหาสนามไฟฟา และศักยไฟฟารอบตัวเก็บประจุ
                          กรณีท่ี 1 หากจุดที่จะคํานวณอยูภายนอก หรออยทผววตถุ
                                                                    ื ู ่ี ิ ั
                                    ใหใชสมการ E = KQ และ V = KQ                R
                                                           R2
                             เมือ R คือ ระยะที่วัดจากจุดศูนยกลางวัตถุถึงจุดที่จะคํานวณ
                                ่
                             !
                              กรณีท่ี 2 หากจุดที่จะคํานวณอยูภายในวัตถุ
                                        Eภายใน = 0
                                        Vภายใน = Vที่ผิววัตถุ

41. ทรงกลมรัศมี 1 เมตร และมีประจุ –5x10–9 C จงหาสนามไฟฟาและศักยไฟฟาที่
      ก. ระยะทาง 2 เมตร จากผิวทรงกลม ( 5 N/C , –15V )
      ข. ผิวทรงกลม                     ( 45 N/C , –45V )
                                                            1 ม.!         2 ม.!
      ค. ระยะ 0.2 เมตร จากจุดศูนยกลางทรงกลม
วธทา
 ิี ํ                                  ( 0 N/C , –45V )




!


42. ตัวนําทรงกลมมีรัศมี 10 เซนตเิ มตร มีประจุกระจายอยางสม่ําเสมอบนผิวตัวนํา ถาสนาม
   ไฟฟาทผวทรงกลมมคา 5.0 x106 โวลต/เมตร จงหาคาศกยไฟฟาทผวทรงกลมน้ี (5 x 105 โวลต)
        ่ี ิ        ี                            ั   ่ี ิ
วธทา
 ิี ํ




!                                            ")!
Physics Online V                http://www.pec9.com                  บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
43(En 42/1) ทรงกลมโลหะกลวงมีรัศมี 20 เซนตเิ มตร ทําใหมีศักยไฟฟา 10000 โวลต !
! สนามไฟฟาภายนอกทรงกลมบริเวณใกลเคียงผิว จะมีคาเทาใดในหนวยโวลตตอเซนติเมตร
                                                                       
วธทา
 ิี ํ                                                         ( 500 โวลต / เซนติเมตร )




44. ทรงกลมตัวนํามีประจุ –200 µc รศมี 50 cm จงหา
                                   ั
      ก. ศักยไฟฟาที่ผิวของทรงกลม                                       ( –3.6x106 โวลต )
      ข. งานที่ในการพาประจุ –20 µc จาก infinity มาที่ผิวนี้                         (72 J)
วธทา
 ิี ํ




45(มช 32) ถาตองการเคลอนประจขนาด q คูลอมบ ไปตามผิวนอกของทรงกลมซึ่งมีประจุ Q
                     ่ื      ุ
   อยูภายในจากตําแหนงหนึ่งไปสูอีกตําแหนงหนึ่ง งานที่ใชในการเคลื่อนประจุคือ
       ก. KqQ J
            2             ข. KqQ J
                              3                 ค. KqQ J
                                                    4             ง. 0 J        (ขอ ง)
                                                                                  
วธทา
 ิี ํ

46(มช 32) หากมีประจุกระจายอยูบนตัวนําทรงกลมกลวงอยางสม่ําเสมอศักยไฟฟา และสนาม
   ไฟฟาภายในจุดศูนยกลางทรงกลมกลวงมีคา                                      (ขอ ข)
                                                                                
     ก. ทั้งศักยไฟฟา และสนามไฟฟาเปนศูนย ข. ศักยไฟฟาเทากัน สนามไฟฟาเปนศูนย
     ค. ศักยไฟฟาเทากัน และสนามไฟฟาเทากัน! ง. ศักยไฟฟาเปนศูนยสนามไฟฟาเทากัน!
ตอบ
!                                         "*!
Physics Online V                   http://www.pec9.com                  บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
    ตอนที่ 5 สนามไฟฟาสม่ําเสมอ!
    สนามไฟฟาซึงอยูระหวางกลางขัวไฟฟาบวก-ลบ จะมีคาเทากันทุกจุด จึงเรียก สนามไฟฟาสมาเสมอ
               ่               ้                                                  ํ่
                                  เราหาคาสนามสม่ําเสมอไดจาก E = V         d
                                     เมือ E = สนามไฟฟาสม่ําเสมอ (N/C , V/m)
                                        ่
                                          V = ความตางศักยระหวางจุดที่คํานวณ (โวลต)
                                          d = ระยะหางระหวางจุดที่คํานวณ (เมตร)
47. แผนโลหะคูขนาน วางหางกัน 1 มิลลิเมตร ตออยูกับขั้วบวก-ลบของแบตเตอรี่ 1.5 โวลต
   สนามไฟฟาระหวางแผนตัวนําคูขนานจะมีคาเทาใด                            ( 1500 V/m)
วธทา
 ิี ํ


48(En 41) แผนตวนาคขนานเทากน วางหางกัน 3 มิลลิเมตร ถาตอแผนคขนานนเ้ี ขากบ
              ั ํ ู      ั                             ู            ั
   แบตเตอรี่ 9 โวลต สนามไฟฟาระหวางแผนตัวนําคูขนานจะมีคาเทาใด            (ขอ 4)
      1. 0.027 V–m       2. 27 V–m             3. 3 V/m            4. 3000 V/m
วธทา
 ิี ํ


49. แผนตวนาคขนานเทากน วางหางกัน 5 เซนติเมตร มีสนามไฟฟาสม่ําเสมอเขม 20 V/m
       ั ํ ู           ั
   จะมีคาความตางศักยระหวางขั้วบวกและลบ กี่โวลต                      (1 โวลต)
วธทา
 ิี ํ



    เงื่อนไขการใชสูตร     V = Ed
         1. E และ d (การขจัด) ตองอยในแนวขนานกัน
                                   ู
                หาก d ตั้งฉากกับ E ตอบ V = 0
                หาก d เอียงทํามุมกับ E ตองแตกการขจด d นั้นใหขนานกับ E กอน
                                                   ั
         2. ถาการขจัด d มีทิศเดียวกับสนามไฟฟา E ใหใชการขจัด d เปนลบ
            ถา d และ E สวนทางกันใช d เปนบวก
                                           
!                                            "+!
Physics Online V                http://www.pec9.com                     บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
50. จงหาความตางศักยไฟฟาระหวาง A ไป B ตามกรณตอไปน้ี
                                                ี 
   ก.                        ข.                        ค.
           0.5 m                     /!                                          60o! /!
                                          0.5 m                                    2m
         .!          /!                 .!                                 .!
              E=10 V/m                       E=10 V/m                           E=10 V/m
วธทา
 ิี ํ                                                   ( ก. 5 โวลต ข. 0 โวลต ค. 10 โวลต )




51. จงหาความตางศักยไฟฟาระหวาง A ไป B ตามกรณตอไปน้ี
                                               ี 
   ก.                        ข.                        ค.                           .!
            0.5 m                       0.5 m                           2m o
            .!         /!              /!         .!                   /!
                                                                          60 !
                   E=10 V/m                  E=10 V/m                      E=10 V/m
!
วธทา
  ิี ํ                                            ( ก. 5 โวลต ข. -5 โวลต ค. –10 โวลต )




52. สนามไฟฟาสม่ําเสมอขนาดเทากับ 8 โวลต/ เมตร ตําแหนง
                                                                           0.5 m           0!
   A และ B อยหาง กัน 0.5 เมตร ดังรูป จงหาความตางศักย
               ู                                                    .!           /!
   ไฟฟาระหวาง A ไป B                          (4 โวลต )
วธทา
 ิี ํ



!                                           ",!
Physics Online V            http://www.pec9.com                    บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
53. จากขอที่ผานมา หากเลอนประจขนาด 2 x 10–6 คูลอมบ จากจุด A ไป B จะตอง
                         ่ื    ุ
   ทํางานกี่จูล                                                     (8x10–6 จล)
                                                                             ู
วธทา
 ิี ํ


54. จงหางานในการเลอนประจขนาด 2 x 10–6 คูลอมบ จาก
                      ่ื     ุ                                                            0!
   จด A ไป B ซึ่งอยูภายใตสนามไฟฟา 8 โวลต/ เมตร ดังรูป
    ุ                                                            /!     60o!
วิธทา
   ี ํ                                    (–16 x 10–6 จล)
                                                       ู
                                                                      2m
                                                                                     .!




        !
55. ถา E เปนสนามไฟฟาสม่ําเสมอมีขนาด 12 โวลต/เมตร        !         B
                                                            E!
    จงหางานที่ใชในการเคลื่อนที่ประจุทดสอบ 3.0 x 10–6                       5 ซม.!
    คูลอมบ จาก A → B → C                 (1.8x10–6 จล)
                                                     ู                    C 5 ซม.!
                                                            A
วธทา
 ิี ํ
!




!



     หากเรานาประจทดสอบ( q ) ไปวางในสนามไฟฟาสม่ําเสมอ ประจุทดสอบนั้นจะถูก
             ํ     ุ
  แรงกระทําแลวทําใหเกิดการเคลื่อนที่ในสนามสม่ําเสมอนั้น
     โดย ประจุไฟฟาบวก จะวิ่งไปหาขั้วไฟฟาลบ
     และ ประจุไฟฟาลบ จะวิ่งไปหาขั้วไฟฟาบวก
! โปรดสังเกตุวา
     แรงกระทําตอประจุบวกจะมีทิศเดียวกับสนามไฟฟา
     แรงกระทําตอประจุจะมีทิศตรงกันขามกับสนามไฟฟา!
     และ เราสามารถหาขนาดของแรงกระทานน ไดจาก
                                         ํ ้ั
               F = qE             หรือ        F = qV d
!                                         %-!
Physics Online V               http://www.pec9.com                บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
          เมือ F คือ แรงทีกระทําตอประจุ q
             ่            ่
                E = สนามไฟฟาสม่ําเสมอ (N/C , V/m)
               V = ความตางศักยระหวางจุดที่คํานวณ (โวลต)
               d = ระยะหางระหวางจุดที่คํานวณ (เมตร)
56. ประจุไฟฟาขนาด +1 x 10–6 คลอมบ อยูในสนามไฟฟาสม่ําเสมอซึ่งมีทิศจากซายไปขวา
                                 ู
   และมีความเขม 8 โวลต / เมตร จะถูกแรงกระทําเทาใดและไปทางไหน ( 8x10–6N , ไปทางขวา)
วธทา
 ิี ํ
!




57(En 32) เมือนําประจุ –2 x 10–6 คูลอมบ เขาไปวางไว ณ จด ๆ หนง ปรากฏวามีแรง
             ่                                           ุ     ่ึ
   8 x 10–6 นิวตัน มากระทําตอประจุนี้ในทิศจากซายไปขวา สนามไฟฟาตรงจุดนั้น
      1. มีความเขม 4 โวลต/เมตร ทิศจากซายไปขวา
      2. มีความเขม 4 โวลต/เมตร ทิศจากขวาไปซาย
      3. มีความเขม 0.25 โวลต/เมตร ทิศจากซายไปขวา
      4. มีความเขม 0.25 โวลต/เมตร ทิศจากขวาไปซาย                         (ขอ 2)
วธทา
 ิี ํ
!




58. เมือนําประจุ 3.6x10–14 คูลอมบ วางในสนามไฟฟาของแผนโลหะสองแผน ซึ่งมีความ
       ่
   ตางศักย 105 โวลต และอยูหางกัน 0.3 เมตร จะเกดแรงกระทาตอประจเุ ทาไร
                                                   ิ       ํ         
       ก . 1.2x10–9 N ข . 1.2x10–10 N ค. 1.2 x 10–11 N ง. 1.2x10–12 N        (ค.)
วธทา
 ิี ํ
!


!                                         %"!
Physics Online V                 http://www.pec9.com                   บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
59(En 35) แผนโลหะขนาน 2 แผน วางหางกันเปนระยะ d และมีประจุไฟฟาชนิดตรงขาม
   อเิ ลกตรอนทหลดจากแผนลบจะวงดวยความเรง a ไปยังแผนบวก ถาให m และ q เปนมวล
        ็      ่ี ุ          ่ิ                                      
   และประจของอเิ ลกตรอนตามลาดบ แผนโลหะทั้งสองมีความตางศักยเทาไร
             ุ      ็       ํ ั
        1. md
           q          2. qE
                         m            3. maq          4. madq             (ขอ 4)
วธทา
 ิี ํ
!




60. ในการทดลองตามแบบของมลลแกน พบวาหยดน้ามันหยดหนึงลอยนิงไดระหวางแผนโลหะ
                            ิ ิ                  ํ          ่    ่
   ขนาน 2 แผน ซึงหางกัน 0.8 เซนตเิ มตร โดยมความตางศกยระหวางแผนทาใหเ กดสนาม
                    ่                         ี       ั       ํ        ิ
   12000 โวลตตอเมตร ถาหยดน้ามันมีประจุไฟฟา 8.0 x 10–19 คูลอมบ จะมี น้าหนักเทากับ
                              ํ                                         ํ
      1 . 7.7 x 10–17 N                    2 . 6.4 x 10–19 N
      3. 9.6 x 10–19 N                     4. 9.6x10–15 N                             ( 4.)
วธทา
 ิี ํ
!




61. การทดลองหยดน้ํามันของมิลลิเกน พบวาถาตองการใหหยดน้ํามันซึ่งมีมวล m และอิเล็ก–
   ตรอนเกาะติดอยู n ตัว ลอยนงอยระหวางแผนโลหะ 2 แผน ซึ่งวางขนานหางกัน เปนระยะ
                              ่ิ ู    
   ทาง d และมีความตางศักย V ประจุของอิเล็กตรอนที่คํานวณไดจากการทดลองนี้จะมีคาเทาใด
      1. mgd
         nV             2. mgV
                            nd             3. nmgd
                                               V             4. nmgV
                                                                   d             (ขอ 1)
วธทา
 ิี ํ
!




!                                           %%!
Physics Online V               http://www.pec9.com                 บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
     ตอนที่ 6 ตัวเก็บประจุ และ การตอตัวเก็บประจุ!
!




       ! ตัวเก็บประจุ คือ วัสดุที่สามารถเก็บสะสมประจุไฟฟาไวภายในตัวเองได
!! ตัวเก็บประจุ แบบทรงกลม!
! ! ตัวเก็บประจุแบบนี้เราสามารถหาคาความจุประจุไดจาก!
                                       C = K หรือ C = Q
                                              a
                                                             V
                              เมือ C คือ คาความจประจุ (ฟารัด)
                                 ่                 ุ
                                    a คือ รัศมีทรงกลม
                   !               K = 9x109 N. m2/c2
                                   Q คือ ประจุที่เก็บสะสม (คูลอมบ)
                                   V คือ ศักยไฟฟาที่ผิว (โวลต)
62. ตัวนําทรงกลมรัศมี 10 เซนตเิ มตร ความจุประจุของทรงกลมมีคากี่ฟารัด         (1.1x10–11 F)
วธทา
 ิี ํ
!

63. จากโจทยที่ผานมา หากศักยไฟฟาสูงสุดที่ผิวตัวนํามีคาเทากับ 3x102 โวลต ประจุไฟฟา
   สูงสุดที่ทรงกลมนี้สามารถเก็บไดมีคากี่ไมโครคูลอมบ                           (3.3x10–4)
วธทา
 ิี ํ
!



64(En 41/2) ศักยไฟฟาของตัวนําทรงกลมรัศมี 60 เซนตเิ มตร มีคาเทากับ 3 x 105 โวลต
   ประจุไฟฟาในขอใดที่ตัวนํา ทรงกลมนี้สามารถเก็บได                           (ขอ 3)
                                                                                 
      1. 12 µC              2. 18 µC             3. 20 µC             4. 24 µC
วธทา
 ิี ํ
!




!                                            %&!
Physics Online V             http://www.pec9.com                  บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
  ตัวเก็บประจุแบบแผนโลหะคูขนาน
! ! ตัวเก็บประจุแบบนี้เราสามารถหาคาความจุประจุไดจาก!
                                           C= Q V
                                      Q คือ ประจุที่ขั้วบวก (คูลอมบ)
                                      V คือ ความตางศักยระหวางขั้วไฟฟา (โวลต)
!


65. ตัวเก็บประจุตวหนึงมีความจุ 0.2 µF ใชงานกับความตางศักย 250 โวลต จะเก็บประจุไว
                    ั ่
      ไดกี่คูลอมบ                                                           (ขอ ง)
                                                                                
        ก. 0.5 x 102     ข . 1.25 x 102     ค. 2.5 x 10–5         ง. 5 x10–5
วธทา
 ิี ํ
!



66. แผนโลหะขนาดหางกัน 0.1 เมตร ใชทําเปนตัวเก็บประจุที่มีคาความจุ 9 นาโนฟารด ถา
                                                                                  ั
   สนามไฟฟาระหวางแผนโลหะมีคา 3 N/C อยากทราบวาตวเกบประจน้ี มีประจุกี่คูลอมบ
                                                       ั ็         ุ
      ก. 2.7 x 10–4   ข . 2.7 x 10–6         ค. 2.7 x 10–9            ง. 2.7x10–11 (ขอ ค)
วธทา
 ิี ํ
!



! เราสามารถหา พลังงานไฟฟาที่เก็บสะสมในตัวเก็บประจุแผนโลหะคูขนานไดจาก!
                                      2
        U = 1 QV หรือ U = 1 Q หรือ U = 1 CV2
            2                      2 C                 2
            เมือ U คือ พลังงานที่เก็บสะสม (จล)
               ่                              ู
67. จงหาพลังงานที่สะสมในคาปาซิเตอรที่มีความจุ 2 µF เมอประจไฟฟาใหคาปาซเิ ตอรจน
                                                      ่ื   ุ              
   มีความตางศักย 2 V                                               (4x10–6 จล)
                                                                              ู
วธทา
 ิี ํ
!
!                                          %'!
Physics Online V                http://www.pec9.com                  บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
68. จงหาพลังงานที่สะสมในคาปาซิเตอรที่มีความจุ 2 µF เมอประจไฟฟาใหคาปาซเิ ตอรจน
                                                      ่ื   ุ               
   มีความตางศักย 100 V                                                 (10–2 J)
วธทา
 ิี ํ
!

69(มช 42) ตัวเก็บประจุ 16 ไมโครฟารัด ตอเขากับความตางศักยคาหนึ่ง ทําใหมีพลังงาน
   สะสมในตัวเก็บประจุ 0.5 จล จงหาคาความตางศักยนี้ในหนวยของโวลต
                             ู
      1. 220            2. 150           3. 250             4. 180                (ขอ 3)
วธทา
 ิี ํ
!



กฏการตอตัวเก็บประจุแบบอนุกรม
     1) Qรวม = Q1 = Q2
     2)       V1 ≠ V2
                                                                   Q       Q
        3 ) Vรวม = V1 + V2                                    V1 = C1 V2 = C 2
                                                                     1           2
                 1
        4) C 1 = C + C1
            รวม   1    2
    ตัวอยางที่ 1 จากวงจรดังรูป จงหา
        ก. ใหหาคา Cรวม
              
        ข. ใหหาคา Q1 และ Q2
               
        ค. ใหหาคา V1 และ V2
                
        ง. ใหหาคา Vรวม
                 
    วิธีทํา ก. จาก C 1 = C + C      1  1
                         รวม         1  2
                       1    1 1
                     Cรวม = 4 + 12
                       1    3+1
                     Cรวม = 12
                              µ
                      Cรวม = 3µF

!                                           %(!
Physics Online V             http://www.pec9.com          บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
      ข. เนองจาก Q1 = Q2 = Qรวม = 24 µC
           ่ื
                        Q       µ
      ค. จาก       V1 = C1 = 24µ = 6 โวลต
                              4
                         1
                      Q     24 µ
             และ V2 = C 2 = 12 µ = 2 โวลต
                       2
      ง. ใหหาคา Vรวม จาก
                           Vรวม = V1 + V2 = 6 + 2 = 8
                                          Q        µ
                       หรอ
                         ื    Vรวม = Cรวม = 24µ = 8 โวลต
                                      รวม 3
70. จากรูป ก. ใหหาคา Cรวม
                                     (2 µF)
           ข. ใหหาคา Q1 และ Q2
                                    (18 µC)
            ค. ใหหาคา V1 และ V2
                                     ( 6 , 3)
           ง. ใหหาคา Vรวม
                                   (9 โวลต)
วธทา
 ิี ํ
!




!                                       %)!
Physics Online V           http://www.pec9.com       บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
71. จากรป จงหา Cรวม และ Qรวม (4 µF , 144 µC)
        ู
                                                   6 µF     12 µF
วธทา
 ิี ํ
!


                                                    Vรวม = 36 โวลต



72. จากขอทีผานมา จงหาประจุ และ ความตางศักยของ
            ่
      ตวเกบ 6 µF
       ั ็                  (144 µC , 24 โวลต)
วธทา
 ิี ํ
!




73. จากขอทีผานมา จงหาประจุ และ ความตางศักยของ
            ่
      ตวเกบ 12 µF
       ั ็                  (144 µC , 12 โวลต)
วธทา
 ิี ํ
!




74. จากขอทผานมา จงหาพลังงานไฟฟาของตัวเก็บ 12 µF
         ่ี                                        ( 8.64 x 10–4 จล)
                                                                    ู
วธทา
 ิี ํ
!




!                                        %*!
Physics Online V              http://www.pec9.com                บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
    กฏการตอตวเกบประจแบบขนาน
           ั ็     ุ
       1) Qรวม ≠ Q1 ≠ Q2
       2) Qรวม = Q1 + Q2
       3) Vรวม = V1 = V2
       4) Cรวม = C1 + C2

ตัวอยางที่ 2 จากวงจรดังรูป จงหา
      ก. ใหหาคา Cรวม
              
      ข. ใหหาคา Vรวม
               
      ค. ใหหาคา V1 และ V2
                
      ง. ใหหาคา Q1 และ Q2
             
วธทา ก. จาก Cรวม = C1 + C2 = 3 + 6 = 9µF
 ิี ํ
                             Q      µ
       ข. จาก Vรวม = Cรวม = 18µ = 2 โวลต
                                  9
                              รวม
        ค. จาก V1 = V2 = Vรวม = 2 โวลต
       ง. จาก         V= Q    C
          จะได Q = CV
                     Q1 = C1V1 = (3µ)(2) = 6 µ
                     Q2 = C2V2 = (6µ)(2) = 12 µ
          หรอ อาจทําอีกวิธีดังนี้ ขนแรก สมมุติกระแส Q1 และ Q2 ดังรูป
                ื                     ้ั
           เนืองจาก V1 = V2
              ่
                          Q1 Q2
                          C1 = C2
                          x      18 - x
                         3µ = 6 µ
                           2x = 18 – x
                            x = 6
                  ดังนัน Q1 = x = 6 µ
                       ้
                            Q2 = 18 – x = 18 –6 = 12 µ

!                                       %+!
Physics Online V               http://www.pec9.com      บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
75. จากรูป
      ก. ใหหาคา Cรวม
                                    (16 µF)
      ข. ใหหาคา Vรวม
                                    (3 โวลต)
      ค. ใหหาคา V1 และ V2
                                    (3 โวลต)
      ง. ใหหาคา Q1 และ Q2
                              ( 12 µ , 36 µ)
วธทา
 ิี ํ
!




76(มช 39) จากรูป จงหาคาความจุรวม และ
   ประจุไฟฟารวมบนตัวเก็บประจุทั้งสอง        (ขอ 3)
      1. 7 pF , 0.05 pC           2. 1.4 pF , 196 pC
      3. 7 pF , 980 pC            4. 1.4 pF , 1960 pC
วธทา
 ิี ํ
!


!                                          %,!
Physics Online V                http://www.pec9.com               บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
77. จากรูป จงหาความตางศักยระหวางจุด A กับจุด B
                                                          A     2 µF B
   และ ประจุไฟฟาในตัวเก็บประจุ 2 µF                      *           *
วธทา
 ิี ํ                              ( 36 V , 72 µC)
                                                          C
                                                          *
                                                                      D
                                                                      *
                                                            6 µF 3 µF

                                                             Vรวม = 36 โวลต




78. จากขอทผานมา จงหาความตางศักยระหวางจุด C กับจุด D และ ประจุไฟฟาในตัวเก็บประจุ
         ่ี 
   6 µF                                                               ( 36 V , 72 µC)
วธทา
 ิี ํ
!




79. จากขอทผานมา ความตางศักยของตัวเก็บประจุ 6 µF
         ่ี                                                                  ( 12 V )
วธทา
 ิี ํ
!




80. จากขอทผานมา พลังงานไฟฟาที่สะสมในตัวเก็บประจุ 6 µF
         ่ี                                                           (4.32x10–4 จล)
                                                                                    ู
วธทา
 ิี ํ
!

!                                          &-!
Physics Online V               http://www.pec9.com             บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
81(En 44/1) วงจรไฟฟาประกอบดวยตัวเก็บประจุสามตัวตออยูกับ
   ความตางศักย 12 โวลต ดังรูป จงคานวณหาขนาดของความ
                                    ํ
   ตางศกยทครอมตวเกบประจุ 3 ไมโครฟารัด และ 6 ไมโครฟารัด
       ั  ่ี  ั ็
   ตามลําดับ                                       (ขอ 4)
       1. 12 V และ 12 V 2. 6 V และ 6 V      3. 4 V และ 8 V     4. 8 V และ 4 V
วธทา
 ิี ํ
!




82(En 42/2) จากรูป เมอกอนปดวงจรตวเกบประจทงสาม
                      ่ื            ั ็    ุ ้ั
   ยังไมมีประจุไฟฟาอยูภายในเลย เมือปดวงจรและเมือ
                                       ่                ่
   เวลาผานไปนานพอสมควร พลังงานไฟฟาที่สะสมอยู
   ในตวเกบประจุ C1 มีคาเทาใด
        ั ็                                       (ขอ 1)
       1. 4.5 x 10–6 J       2. 6.0 x 10–6 J 3. 9.0 x 10–6 J   4. 18.0 x 10–6 J
วธทา
 ิี ํ
!




!                                        &"!
Physics Online V             http://www.pec9.com                 บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
83. C1 = 4 ไมโครฟารัด             C2 = 6 ไมโครฟารัด
      C3 = 6 ไมโครฟารัด           C4 = 6 ไมโครฟารัด
   ตอตัวเก็บประจุ C1 , C2 , C3 และ C4 ดังรูป จงหา
                                                                                            !
   ความจรวมของตวเกบประจทงหมดในหนวยไมโครฟารด
          ุ        ั ็       ุ ้ั                  ั                     (6 ไมโครฟารัด)
วธทา
 ิี ํ
!




!



       กฏเกยวกบการแตะกนของตวเกบประจุ
            ่ี ั          ั     ั ็
          เมอนาตวเกบประจหลาย ตวมาแตะกน
              ่ื ํ ั ็        ุ   ั     ั
       1) หลังแตะ ศกยไฟฟาของตวเกบประจทกตวจะเทากน
                       ั          ั ็   ุ ุ ั     ั
       2) ประจุ ( Q ) รวมกอนแตะ = ประจุ ( Q ) รวมหลงแตะ
                                                   ั
84. ตัวนําทรงกลมรัศมี a ที่มีประจุ –Q ไปแตะกับตัวนําทรงกลมรัศมี 2 a ที่มีประจุ +4Q
   หลังจากแยกออกจากกันแลวตัวนําทรงกลมรัศมี a จะมีประจุเทาใด
          1. Q
             2               2. Q             3. 3Q
                                                  2             4. 2Q            (ขอ 2)
                                                                                   
วธทา
 ิี ํ
!




!                                          &%!
Physics Online V                http://www.pec9.com                  บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
85. ตัวนําทรงกลมรัศมี a ที่มีประจุ –Q ไปแตะกับตัวนําทรงกลมรัศมี 3a ที่มีประจุ +9Q หลัง
      จากแยกออกจากกันแลวตัวนําทรงกลมรัศมี a จะมีประจุเทาใด
        1. Q
           2            2. Q               3. 3Q
                                               2             4. 2Q               (ขอ 4.)
                                                                                   
วธทา
 ิี ํ
!




86(En 36) ) ตวเกบประจขนาด 50 µF อนหนง มีความตางศักย 16 โวลต เมอนามาตอ
              ั ็      ุ             ั ่ึ                               ่ื ํ 
   ขนานกับตัวเก็บประจุขนาด 30 µF ซึ่งแตเดิมไมมีประจุอยูเลย จงหาความตางศักยของ
   ตัวเก็บประจุ 30 µF                                                       (10 โวลต)
วธทา
 ิี ํ
!




                     !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""


!                                          &&!
Physics Online V                http://www.pec9.com                        บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
       7. ประจุไฟฟา และการเหนี่ยวนําทางไฟฟา
พิจารณาตัวอยางสมมุติ การถูแทงพลาสติกกับผาสักหลาด!
                                                                                      2!
   1!ปกติแลวอะตอมในแทงพลาสติก และในผาสกหลาดจะมี!
                                         ั                                     2!
                                                                                   + +!
! ! จานวนอเิ ลคตรอน (ประจุลบ) เทากับจํานวนโปรตรอน!
      ํ                                                                         2! +++!! 2!
                                                                       '2!          2! 2!
    (ประจบวก) แตเมือเกิดการเสียดสี จะทําใหเกิดการหมุน!
          ุ         ่                                                     2! 2!
    เวยนของอเิ ลคตรอนของแทงพลาสตกกบผาสกหลาด
        ี                           ิ ั  ั             !                 + +!
                                                                         2! + +!2!
       1!หากแทงพลาสติกไดรับอิเลคตรอนมากกวาที่เสียไป!
       ! จะทําใหแทงพลาสติกมีประจุสะสมเปนลบ !                                  −
                                                                         +        −
       1! ประจุที่สะสมตรงนี้เรียกวา ไฟฟาสถิตย !      −                 +        −
                                                                −          3
                                                                 −
!



!! 1! ตอไปหากเรานําแทง พลาสติกที่มีประจุลบสะสม!
     อยน้ี ไปวางใกลๆ วัตถุเล็กๆ ซงปกตในวตถนนจะมอเิ ลคตรอน และ โปรตรอนของ!
        ู                            ่ึ   ิ ั ุ ้ั        ี
     อะตอมกระจายตัวอยูอยางสม่ําเสมอในปริมาณที่เทากัน แตเมื่อถูกแทงพลาสติกเขาใกล!  
     ประจุลบบนแทงพลาสติก จะผลกอเิ ลคตรอนในวตถใหเ คลอนไปอยฝงตรงกนขาม !
                                         ั            ั ุ        ่ื      ู    ั 
     เหลือประจุบวกในฝงใกลแทงพลาสติก และจะทําใหเกิดแรงดูดระหวางประจุบวกบน!
     วัตถุกับลบบนแทงพลาสติก ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ เขามาหาแทงพลาสติกใหเห็นได !
   1!การจัดเรียงประจุบนวัตถุ เมื่อถูกไฟฟาสถิตยเขาใกล เรียกวาเปนการเหนียวนําทางไฟฟา!
                                                                               ่

87. จงเติมขอความลงในชองวางตอไปนี้ใหไดใจความที่ถูกตอง และ สมบูรณ
     สมมุตินําวัตถุ A มาถูกับผาสักหลาด B แลวปรากฏวา มีอเิ ลคตรอนเคลือนเขามายังแทง
                                                                           ่
     วัตถุ A มากกวาจานวนอเิ ลคตรอนทเ่ี คลอนออกจากวตถุ A เมื่อแยกวัตถุ A ออกจาก
                     ํ                   ่ื           ั
     ผาสักหลาด วัตถุ A จะมีประจุสะสมเปน                (1) และเมื่อนําวัตถุ A ไปวาง
     ใกล ๆ วัตถุเล็ก ๆ จะเกดการจดเรยงประจบนวตถนนดงรป
                            ิ      ั ี       ุ ั ุ ้ั ั ู
                                                                                          /
                                                                             −
                                                                (2)      (3) −−
              การจัดเรียงประจุบนวัตถุเล็กๆ หลังจากนํา
              วัตถุ A เขาใกล เรียก              (4)      เติมประจุ + หรือ −!
                                          ( 1. ลบ       2. − 3. +      4. การเหนียวนําทางไฟฟา )
                                                                                 ่


!                                              &'!
Physics Online V                   http://www.pec9.com                        บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย

    1! จากตัวอยางสมมุติที่ผานมา หากแทงพลาสติก !                                    2!
      เสียอิเลคตรอนมากกวาที่ไดรับมา จะทําใหแทง!                             2!
                                                                                   + +!
                                                                                2! +++!! 2!
      พลาสติกมีประจุสะสมเปนบวก ประจุที่สะสม!                         2!            2! (2!

      ตรงนเ้ี รยกกวา ไฟฟาสถิตย !
               ี ็                                                       2! 2!
                                                                           + +!
                                                                         2! + +!2!
    1!ตอไปหากเรานําแทงพลาสติกที่มีประจุบวกสะสม!
      อยน้ี ไปไวใกลวัตถุเล็กๆ ประจุบวกบนพลาสติก!
         ู
      จะดูดอิเลคตรอนในวัตถุ ใหเคลื่อนไปอยูฝงใกล!                   +3
      แทงพลาสติก เหลือประจุบวกในฝงตรงกันขาม ! + 3              −      3
                                                                    −
      และจะทําใหเกิดแรงดูดระหวางประจุบวกบนแทง! 3                 −
      พลาสติกกับลบบนวัตถุ ทําใหวัตถุเคลื่อนที่เขามาหาแทงพลาสติกใหเห็นไดเชนกัน !
    1! การจัดเรียงประจุบนวัตถุ เมื่อถูกไฟฟาสถิตยเขาใกล เรยกวาเปนการเหนยวนาทางไฟฟา!
                                                             ี           ่ี ํ       

88. จงเติมขอความลงในชองวางตอไปนี้ใหไดใจความที่ถูกตอง และ สมบูรณ
      สมมุตินําวัตถุ A มาถูกับผาสักหลาด B แลวปรากฏวา มีอเิ ลคตรอนเคลือนออกจากแทง
                                                                        ่
      วัตถุ A มากกวาจานวนอเิ ลคตรอนทเ่ี คลอนเขามาหาวตถุ A เมื่อแยกวัตถุ A ออกจาก
                      ํ                   ่ื          ั
      ผาสักหลาด วัตถุ A จะมีประจุสะสมเปน           (1)
      และเมื่อนําวัตถุ A ไปวางใกลๆ วัตถุเล็กๆ จะเกดการจดเรยงประจบนวตถนนดงรป
                                                   ิ      ั ี       ุ ั ุ ้ั ั ู

                                                                                          /
                                                                                3
                                                                                 3
                                                                                 +
          การจัดเรียงประจุบนวัตถุเล็กๆ หลังจากนํา              (2)      (3)
          วัตถุ A เขาใกล เรียก              (4)
                                                          เติมประจุ + หรือ −!
                                         ( 1. บวก     2. +     3. −    4. การเหนียวนําทางไฟฟา )
                                                                                 ่

89. จากขอทผานมาโปรตรอน(ประจบวก) จะเคลื่อนที่จากวัตถุ A มาหาผาสักหลาด
          ่ี                  ุ
   หรือ เคลื่อนจากผาสักหลาดมาหาวัตถุ A ไดหรือไม เพราะเหตใด
                                                           ุ
            ( ไมได เพราะโปรตรอนมีมวลมาก ( มากกวาอิเลคตรอน 1835 เทา ) การเคลือนทีจงทําไดยาก )
                                                                                ่ ่ึ

!                                             &(!
Physics Online V                http://www.pec9.com                   บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
90. เมื่อถูแทงแกวดวยผาไหม แทงแกวจะมีประจุไฟฟาเปนบวกเพราะวาสาเหตุใด
        1. โปรตรอนบางตวในไหมถายเทไปแทงแกว
                          ั               
        2. อเิ ลกตรอนบางตวหลดจากแทงแกว และถายเทไปยังผาไหมทําใหเหลือประจุไฟฟา
                ็           ั ุ        
            บวกบนแทงแกวมากกวาประจุไฟฟาลบ
        3. ทั้งขอ ก และ ข ถูกตอง
         4. ผิดหมดทุกขอ                                                     (ขอ 2)
91(มช 32) เมื่อนําแทงพีวีซีที่ถูกับผาสักหลาดแลวไปวางใกล ๆ กับลูกพิธที่เปนกลางทางไฟฟา
   จะสังเกตเห็นเหตุการณทเ่ี กิดขึนดังนี้
                                    ้
     ก. ลูกพิธจะหยุดนิ่ง
     ข. ลูกพิธจะเคลื่อนที่เขาหาแทงพีวีซี
     ค. ลูกพิธจะเคลื่อนที่ออกหางจากแทงพีวีซี
     ง. ลูกพิธจะเคลื่อนที่เขาหาแทงพีวีซีในตอนแรก แลวจะเคลื่อนที่จากไปภายหลัง (ขอ ข)!
92(มช 36) ทรงกลมโลหะ A และ B วางสัมผัสกันโดยยึดไว
   ดวยฉนวน เมื่อนําแทงอิโบไนทซึ่งมีประจุลบเขาใกลทรงกลม
    
   A ดังรูป จะมีประจุไฟฟาชนิดใด เกิดขึ้นที่ตัวนําทรงกลมทั้งสอง
      ก. ทรงกลมทั้งสองจะมีประจุบวก
                                                                                              !
      ข. ทรงกลมทั้งสองจะมีประจุลบ
      ค. ทรงกลม A จะมีประจุบวก และทรงกลม B มีประจุลบ
      ง. ทรงกลม A จะมีประจุลบ และทรงกลม B มีประจุบวก
      จ. ไมเกิดไฟฟาที่ทรงกลมทั้งสอง                                               (ขอ ค)
93(En 34) โลหะทรงกระบอกยาวปลายมนเปนกลางทาง
   ไฟฟาตั้งอยูบนฐานที่เปนฉนวน ถานําประจุบวก
   ขนาดเทากันมาใกลปลายทั้งสองขางพรอมกันโดยระยะ
   หางจากปลายเทา ๆ กัน ตามลําดับ การกระจายของประจุสวน A สวน B และ C ของ
   ทรงกระบอกเปนอยางไร
      1. A และ C เปนลบแต B เปนกลาง 2. A และ C เปนกลาง แต B เปนบวก
                                                               
      3. A และ C เปนบวก แต B เปนลบ 4. A และ C เปนลบแต B เปนบวก
                                                                      (ขอ 4)
!                                          &)!
Physics Online V                      http://www.pec9.com                             บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
94(มช 31) เมื่อนําสาร ก มาถูกกับสาร ข พบวา สาร ก มีประจุไฟฟาเกิดขึน สาร ก ตองเปนสารใด
                                                                    ้
       ก. ตัวนํา          ข. ฉนวน               ค. กงตวนา
                                                    ่ึ ั ํ                ง. โลหะ                  (ขอ ข)

อิเลคโตรสโคป คือ เครื่องมือใชตรวจหาไฟฟาสถิตย
อิเลคโตรสโคป มี 2 ชนด คือ   ิ
    1) อิเลคโตรสโคปแบบลูกพิธ
           เปนอิเลคโตรสโคปซึงทําจากเม็ดโฟม ฉาบผิว
                                 ่
           เอาไวดวยอลูมิเนียม เมื่อมีวัตถุที่มีไฟฟาสถิตย
           เขาใกล จะเกิดการเหนี่ยวนําทางไฟฟาทําให
           อเิ ลคโตรสโคปเอยงเขาหาวตถนน
                              ี  ั ุ ้ั

95. จงเติมขอความลงในชองวางตอไปนี้ใหไดใจความที่ถูกตอง และ สมบูรณ

                                                                                      3
                         −                                                             3
            (1)      (2) −−                                         (3)       (4)       +

       เติมประจุ + หรือ −!                                     เติมประจุ + หรือ −!
                                                                     ( 1. −    2. +        3. +    4. − )

    2) อิเลคโตรสโคปแบบจานโลหะ
       มีลักษณะดังรูป เมื่อถูกวัตถุที่มีไฟฟาสถิตยเขาใกลจานโลหะดานบน จะเกดการเหนยวนา
                                                                             ิ      ่ี ํ
       ทางไฟฟาทําใหแผนโลหะบาง ๆ ดานลางกางออก
                                            




                                                                                                             !

!                                                  &*!
Physics Online V                 http://www.pec9.com                            บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
96. จงเติมขอความลงในชองวางตอไปนี้ใหไดใจความที่ถูกตอง และ สมบูรณ

                    −                                          +
                    −                                           +3
                     −
                   (1)                                        (4)

                 .!                                            .!
               (2) (3)   !
                                                             (5) (6)       !


                         เติมประจุ + หรือ −!                               เติมประจ + หรือ −!
                                           ( 1. +     2. −   3. −              4. −   5. +      6. + )
!

การตอสายดิน!
พิจารณาการทดลองตอไปนี้!
    !
                −                                    −                                −
    !            −                                    −                                −
    !                                    + + + + + +!                      + + + + + +!
         + + + + + +!
    !
              −!
    !
              −!
    !         − −−
    !
  1)! อิเลคตรอนถูกผลักลง        2) ตอสายดน อเิ ลคตรอนจะวง
                                           ิ             ่ิ               3) ตดสายดนออก
                                                                               ั      ิ
!
! ขางลางแผนโลหะจะกาง         ลงสูพื้นโลกแผนโลหะจะหุบ                  ไมเปลี่ยนแปลง
!
    !         + + + +!                                         +− + − + −!
    !            +!                                                    !

    !            +!                                                    +! !
                    +!                                                    +!
    !            + +!                                                  −
                                                                          −
!
4) นาวตถทมประจดานบนออกอเิ ลคโตร-
!   ํ ั ุ ่ี ี  ุ                              หากนาวตถทมประจออกกอนตดสายดน อเิ ลค-
                                                       ํ ั ุ ่ี ี  ุ     ั   ิ
!                                               ตรอนทีพนโลกจะวิงขึน มาบนอิเลคโตรสโคป
                                                         ่ ้ื     ่ ้
สโคปจะเหลือประจุบวกมากกวาลบแผน
!
โลหะดานลางจะกางออก
!                                               ทาใหเ ปนกลางทางไฟฟาแผนโลหะจะไมกางออก!
                                                 ํ                           

!                                              &+!
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำthanakit553
 
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอมthanakit553
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1tewin2553
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxNing Thanyaphon
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคChanthawan Suwanhitathorn
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานjirupi
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 

Mais procurados (20)

บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
ไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPptไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPpt
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 

Destaque

ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนChakkrawut Mueangkhon
 
แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์Chakkrawut Mueangkhon
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์Chakkrawut Mueangkhon
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Chakkrawut Mueangkhon
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงานAon Sujeeporn
 
อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์Chakkrawut Mueangkhon
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2Chakkrawut Mueangkhon
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆการเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆChakkrawut Mueangkhon
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนChakkrawut Mueangkhon
 
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่Chakkrawut Mueangkhon
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4Wijitta DevilTeacher
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นChakkrawut Mueangkhon
 

Destaque (20)

ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์
 
งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
P05
P05P05
P05
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงาน
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
ไฟฟ้าแม่เหล็ก2
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆการเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุนการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
โมเมนตัม
โมเมนตัมโมเมนตัม
โมเมนตัม
 
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 

Semelhante a ไฟฟ้าสถิต

เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์thanakit553
 
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์Apinya Phuadsing
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่thanakit553
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1Chakkrawut Mueangkhon
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1thanakit553
 
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่นthanakit553
 
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133cD67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133ckamonwan66_
 
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2thanakit553
 
1203261010453239 12032711110726
1203261010453239 120327111107261203261010453239 12032711110726
1203261010453239 12032711110726pumarin20012
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่ 13 แสง
เรื่องที่ 13  แสงเรื่องที่ 13  แสง
เรื่องที่ 13 แสงthanakit553
 

Semelhante a ไฟฟ้าสถิต (20)

P15
P15P15
P15
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
 
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
 
P03
P03P03
P03
 
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
 
P03
P03P03
P03
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
 
P16
P16P16
P16
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
 
P08
P08P08
P08
 
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
 
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133cD67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
 
P17
P17P17
P17
 
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
1203261010453239 12032711110726
1203261010453239 120327111107261203261010453239 12032711110726
1203261010453239 12032711110726
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
13.แสง
13.แสง13.แสง
13.แสง
 
P13
P13P13
P13
 
เรื่องที่ 13 แสง
เรื่องที่ 13  แสงเรื่องที่ 13  แสง
เรื่องที่ 13 แสง
 

Mais de Chakkrawut Mueangkhon

Mais de Chakkrawut Mueangkhon (12)

คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์
 
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้าตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและประจุไฟฟ้า
 
Akaranee
AkaraneeAkaranee
Akaranee
 
568
568568
568
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
heat
heatheat
heat
 
fluid
fluidfluid
fluid
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
 

ไฟฟ้าสถิต

  • 1. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ฟ สิ ก ส บทที่ 15 ไฟฟ า สถิ ต ย ตอนที่ 1 กฏของคูลอมบ! กฏแรงดึงดูดระหวางประจุของคูลอมบ ! # เมื่อประจุไฟฟา 2 ตวอยหางกนขนาดหนง จะมีแรงกระทําซึ่งกันและกันเสมอ ! ั ู  ั ่ึ ! ! หากเปนประจุชนิดเดียวจะมีแรงผลักกัน หากเปนประจตางชนดกนจะมแรงดงดดกน$!  ุ  ิ ั ี ึ ู ั แรงกระทําที่เกิดหาคาไดจาก ! KQ1Q2 F = R2 ! ! เมือ! ! ! F ่ = แรงกระทา (นิวตัน) ํ K = คาคงที่ของคูลอมบ = 9 x 109 N.m2 /c2! ! ! Q1 , Q2 = ขนาดของประจุตวที่ 1 และตัวที่ 2 ตามลําดับ (คูลอมบ) ั R = ระยะหางระหวางประจุทั้งสอง (เมตร) 1. จากรูปใหหาแรงกระทําระหวางประจุทั้งสองนี้ วธทา ิี ํ ( 0.01 N ) ! 2. ประจุ +5.0 x 10–5 C และ –2.0 x 10–5 C วางอยูหางกัน 1 เมตร จะมแรงดดกน หรือ ี ู ั ผลักกันกี่นิวตัน ( แรงดูดกัน 9 นิวตัน ) วธทา ิี ํ ! "!
  • 2. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 3. ประจขนาด A คูลอมบ และ 1.0 x 10–5 คูลอมบ วางอยูหางกัน 3 เมตร จะมีแรงกระทํา ุ ตอกน 1 นิวตัน จงหาวาประจุ A เปนประจุขนาดกี่คูลอมบ  ั (1.0x10–4 ) วธทา ิี ํ 4. แรงผลกระหวางประจทเ่ี หมอนกนคหนงเปน 27 นิวตัน จงหาขนาดของแรงผลกระหวาง ั  ุ ื ั ู ่ึ  ั  ประจคน้ี ถาระยะหางของประจุเปน 3 เทาของเดิม ุ ู ( 3 N) วธทา ิี ํ 5. ประจุคูหนึ่งวางใหหางกันเปน 2 เทาของระยะเดิม แรงกระทาระหวางประจในตอนหลง ํ  ุ ั จะมคาเปนกเ่ี ทาของตอนแรก ี   ( 1/4 เทา) วธทา ิี ํ 6. ลูกพิธ 2 ลูกวางหางกัน 8 ซม. จะเกิดแรงผลักกันคาหนึ่ง ถาเพิ่มประจุลูกหนึ่งเปน 2 เทา  และอีกลูกหนึ่งเปน 3 เทา จะตองวางลูกพิธทั้งสองหางกันเทาใด จงจะเกดแรงกระทาเทาเดม  ึ ิ ํ  ิ วธทา ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ( 8 6 ซม.)! ิี ํ ! %!
  • 3. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย กรณีที่โจทยไมบอกประจุ มาให เราอาจหาคาประจุนั้น ๆ ไดจาก Q=ne เมือ n = จานวนอเิ ลคตรอน ่ ํ e = ประจอเิ ลคตรอน 1 ตัว = 1.6 x 10–19 คูลอมบ ุ 7. กอนโลหะ 2 กอน มีระยะหางระหวางจุดศูนยกลางของโลหะทั้งสองเปน 3 เมตร ในกอน โลหะแตละกอนมอเิ ลกตรอนอสระอยู 1x1015 ตัว จงหาขนาดแรงผลักที่เกิด   ี ็ ิ ( 25.6N ) วธทา ิี ํ 8. กอนทองแดง 2 กอน วางหางกัน 3 เมตร แตละกอนมีอเิ ล็กตรอนอิสระอยู 5 x 1014 ตัว จงหาขนาดของแรงผลกทเ่ี กดขนในหนวยนวตน ั ิ ้ึ  ิ ั ก. 1.4 ข. 2.4 ค. 4.4 ง. 6.4 (ขอ ง) วธทา ิี ํ 9. ทรงกลมเล็ก ๆ 2 อน เปนกลางทางไฟฟา และวางอยูหางกัน 0.5 เมตร สมมตวาอเิ ลกตรอน ั ิ ็ 3.0 x 10+13 ตัว หลุดออกจากทรงกลมหนึ่งและไปอยูที่อีกทรงกลมหนึ่ง (a) จงหาขนาด ของแรงที่เกิดกับทรงกลมแตละอัน (b) แรงทีเ่ กิดขึนเปนแรงดูดหรือแรงผลัก ้ วธทา ิี ํ ( เปนแรงดูด 0.83 N ) ! &!
  • 4. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 10. จากรูป จงหาแรงลัพธที่ B = +1 x 10–5 C! กระทําตอประจุ B A = +6 x 10–5 C! C = −5 x 10–5 C! ( 1.1 N ) 3 ม.! 3 ม.! วธทา ิี ํ 11. จากรูป จงหาแรงลัพธที่ กระทําตอประจุ B A = −6 x 10–5 C! B = +1x10–5 C! C = −5 x 10–5 C! ( 0.1 N ) 3 ม.! 3 ม.! วธทา ิี ํ 12. ประจุ +5.0 x 10–6 C และ –3.0 x 10–6 C วางอยูหางกัน 20 เซนตเิ มตร ถานําประจุ ทดสอบขนาด +1.0 x 10–6 C มาวางไวที่จุดกึ่งกลางระหวางประจุทั้งสองขนาด และมี ทิศทางของแรงที่กระทําตอประจุทดสอบคือ ก. 0.72 นิวตัน และมีทิศชี้เขาหาประจุลบ ข. 1.8 นิวตัน และมีทิศเขาหาประจุบวก ค. 7.2 นิวตัน และมีทิศเขาหาประจุลบ ง. 7.2 นิวตัน และมีทิศเขาหาประจุบวก (ขอ ค)  วธทา ิี ํ ! '!
  • 5. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 13. จากรูป จงหาแรงลัพธที่กระทําตอประจุ B C = +3 x 10–5 C! วธทา ิี ํ (5 N) 3 ม.! A = −4 x 10–5 C! B = +1 x 10–4 C! 3 ม.! 14(มช 34) สามเหลี่ยมดานเทารูปหนึ่งมีความยาวดานละ 30 เซนตเิ มตร และที่แตละมุมของ สามเหลี่ยมนี้ มจดประจุ +2 , –2 และ +5 ไมโครคูลอมบ วางอยู อยากทราบวาขนาด ีุ ของแรงไฟฟาบนประจุ +5 ไมโครคูลอมบมีคากี่นิวตัน  (1 นิวตัน)! วธทา ิี ํ !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"" ! (!
  • 6. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ตอนที่ 2 สนามไฟฟา สนามไฟฟา (E) คือ บรเิ วณรอบ ๆ ประจุซึ่งจะมีแรงทางไฟฟาแผออกมา ! ตลอดเวลา สนามไฟฟาเปนปรมาณเวกเตอร!   ิ  ทิศทางของสนามไฟฟา กาหนดวา! ํ  ! สําหรับประจุบวก สนามไฟฟามีทิศออกตัวประจุ! ! สําหรับตัวประจุลบ สนามไฟฟามีทิศเขาตัวประจุ! ! ! ! ! ! ! 15. ถา +Q และ –Q เปนประจตนกาเนดสนามโดยท่ี +q และ –q เปนประจทดสอบ รูปใด  ุ  ํ ิ  ุ แสดงทศของ F และ E ไมถูกตอง ิ ก. ข. ! ค. ง. ! ! ! จ.! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! (ขอ จ) ขนาดความเขมสนามไฟฟาหาคาไดจาก! ! ! ! ! ! E = KQ R2 เมือ E คือ ความเขมสนามไฟฟา (N/C , V/m) ่ K = 9 x 109 N. m2 / C2 Q คือ ขนาดของประจตนเหตุ (C) ุ R คือ ระยะหางจากประจตนเหตุ (m)  ุ  16. จากรูป จงหาวาสนามไฟฟาของประจุ +2x10–3 คูลอมบ Q = +2 x 10–3 C! ณ.จด A จะมีความเขมกี่นิวตัน/คูลอมบ และ มีทิศไปทาง ุ A *! ซายหรอขวา  ื ( 2x106 N/C ไปทางขวา) 3 ม.! วธทา ิี ํ ! )!
  • 7. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 17. จากรูป จงหาวาสนามไฟฟาของประจุ –4x10–3 คูลอมบ Q = −4 x 10–3 C! ณ.จด A จะมีความเขมกี่นิวตัน/คูลอมบ และ มทศขนหรอ ุ ี ิ ้ึ ื 1 ม.! ลง (36x106 N/C มีทิศขึ้น) *!A วธทา ิี ํ 18. จากรูปที่กําหนดให จงหาวาสนาม A = +4 x 10–9 C! B = −3 x 10–9 C! ไฟฟาลัพธที่จุด X มีขนาดเทาใด X 3 ม.! *! วธทา ิี ํ ( 7 N/C ) 3 ม.! ! 19(มช 44) ประจบวก q1 = 2 ไมโครคูลอมบ วางหางจาก ประจุลบ q2 = –2 ไมโครคูลอมบ ุ เปนระยะ 6 เมตร สนามไฟฟาที่ตําแหนงกึ่งกลางระหวาง 2 ประจุน้ี ในหนวยของ N/C มีคาเปนเทาใด 1. –2 x103 2. 0 3. 2 x 103 4. 4 x103 (ขอ 4)  วธทา ิี ํ ! *!
  • 8. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 20. จากรูปที่กําหนดให จงหาวาสนามไฟฟาลัพธ A = +4 x 10–9 C! ทจด X มีขนาดเทาใด ่ี ุ X 3 ม.! *! วธทา ิี ํ ( 5 N/C ) 3 ม.! B = −3 x 10–9 C! 21. จงหาความเขมสนามไฟฟาที่จุด B ในรูปที่กําหนด +5 µC –3.6 µC ( กําหนด cos 127o = –0.6 ) 8 cm 37o วธทา ิี ํ (7.26x106 N/C) 6 cm 10 cm 53o B 22. ประจุ q1 , q2 มีขนาดเทากันอยูหางกัน 0.1 m สนามไฟฟา ณ จุดกึ่งกลางระหวางประจุ ทั้งสองมีทิศพุงเขาหา q2 และมีขนาด 4.8x104 V/m จงหา q1 , q2 ( ± 6.67x10–9 C) วธทา ิี ํ ! +!
  • 9. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย จุดสะเทิน คือ จุดที่มีคาสนามไฟฟาลัพธมีคาเปนศูนย โดยทวไปแลว 1. จุดสะเทินจะ เกดขนไดเ พยงจดเดยวเทานน ่ั  ิ ้ึ ี ุ ี  ้ั 2. หากเปนจดสะเทนของประจุ 2 ตัว จะเกิดในแนวเสนตรงที่ลากผานประจุทั้งสอง  ุ ิ Eรวม = 0! และ หากประจุทงสองเปนประจุชนิดเดียวกัน ้ั *! จดสะเทนจะอยระหวางกลางประจทงสอง ุ ิ ู  ุ ้ั +Q1! +Q2! หากประจุทงสองเปนประจุตางชนิดกัน ้ั  Eรวม = 0! จดสะเทนจะอยรอบนอกประจทงสอง ุ ิ ู ุ ้ั *! 3. จุดสะเทินจะเกิดอยูใกลประจุที่มีคานอยกวา +Q1! − Q 2! ! 23. ประจุไฟฟาขนาด +15 และ –30 หนวย ประจุวางอยูดงรูป ตําแหนงใดควรเปนจุดสะเทิน! ั ! ! ! ก. A ข. B ค. C ง. D จ. ไมมีคําตอบถูก (ขอ จ)  ตอบ 24. ตําแหนงที่สนามไฟฟารวมเปนศูนย ซึ่งสนามนั้นเกิดจากประจุ 2 ประจุ 1. เกดขนไดเ พยงจดเดยวเทานน ิ ้ึ ี ุ ี  ้ั 2. เกิดอยูใกลประจุที่มีคานอย 3. เกิดในแนวเสนตรงที่ลากผานประจุทั้งสอง (ขอ ก)  ก. ขอ 1 , 2 , 3 ข. ขอ 1 , 2 ค. ขอ 1 , 3 ง. ขอ 2 , 3 ตอบ 25. ประจไฟฟาขนาด +9 µC ถูกวางไวที่ตําแหนง X = 0 ม. และประจุไฟฟาที่สอง +4 µC ุ  ถูกวางไวที่ตําแหนง X = 1 ม. จุดสะเทินจะอยูหางจากประจุ +9 µC กี่เมตร (0.6 เมตร) วธทา ิี ํ ! ,!
  • 10. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 26(มช 37) วางประจุ +9Q คูลอมบ ทีตาแหนงจุดกําเนิด (0 , 0) และจุดประจุ –4Q คูลอมบ ่ ํ ทตาแหนง x = 1 เมตร y = 0 จงหาระยะบนแกน x ที่สนามไฟฟาเปนศูนย (3 เมตร) ่ี ํ  วธทา ิี ํ ! ขนาดของแรงกระทําตอประจุทดสอบหาจาก! ! ! ! ! ! F = qE เมือ F คือ แรงกระทา (N) ่ ํ q คือ ประจุทดสอบที่ถูกแรงกระทํานั้น (C) 27. กําหนดใหจุด A อยูหางจากประจุ 4 x 10–9 คูลอมบ เปนระยะ 1 เมตร ก) สนามไฟฟา ณ.จด A จะมีความเขมกี่นิวตัน/คูลอมบ ุ ( 36 N/C ) ข) หากนําอิเลคตรอน 1 ตัว ไปวางตรงจุด A จงหาแรงกระทําตออิเลคตรอนนี้ ( กําหนด ประจุอิเลคตรอน 1 ตัว เทากับ 1.6 x 10–19 คูลอมบ ) (5.76x10–18 N) ค. จงหาความเรงในการเคลอนทของอเิ ลคตรอนน้ี  ่ื ่ี ( กําหนด มวลอิเลคตรอน 1 ตัว เทากับ 9.1 x 10–31 กิโลกรัม ) (6.33x1012 m/s2) วธทา ิี ํ ! "-!
  • 11. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 28. กําหนดใหจุด A อยูหางจากประจุ 5 x 10–9 คูลอมบ เปนระยะ 3 เมตร ก) สนามไฟฟา ณ.จด A จะมีความเขมกี่นิวตัน/คูลอมบ ุ ( 5 นิวตัน/คูลอมบ ) ข) หากนําอิเลคตรอน 1 ตัว ไปวางตรงจุด A จงหาแรงกระทําตออิเลคตรอนนี้ ( กําหนด ประจอเิ ลคตรอน 1 ตัว เทากับ 1.6 x 10–19 คูลอมบ ) (8 x 10–19 นิวตัน) ุ วธทา ิี ํ !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"" ! ตอนที่ 3 !ศักยไฟฟา! !!!เราสามารถหาคาศักยไฟฟา ณ. จุดรอบ ๆ ประจุไดจากสมการ! V = KQ !R Q! A ! *! เมือ !!!V !คือ ศักยไฟฟา (โวลต)! ่ R! ! Q คือ ประจตนเหตุ (คูลอมบ) ุ R คือ ระยะหางจากประจตนเหตุ (เมตร)  ุ  ขอควรทราบ!  ! 1) ศักยไฟฟา เปนปริมาณสเกลลาร มีแตขนาด ไมมีทิศทาง การคํานวณหาศักยไฟฟา ! ! ! ตองแทนเครองหมาย + – ของ ประจุ (Q) ดวยเสมอ  ่ื 2) ! ! ! เมอทาการเลอนประจทดสอบจากจดหนงไปสจดทสอง! ่ื ํ ่ื ุ ุ ่ึ ู ุ ่ี ! ! จะไดวา! ! V2 – V1 = W q ! ! เมือ!V1 คือ ศักยไฟฟาที่จุดเริ่มตน (โวลต) !!!V2 คือ ศักยไฟฟาที่จุดสุดทาย (โวลต) ่  W คือ งานที่ใชในการเลื่อนประจุ (จล) q คือ ประจทเ่ี คลอนท่ี (คูลอมบ) ู ุ ่ื ! ""!
  • 12. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 29. จากรูป ประจุ Q มีขนาด –2 x1 0–9 คูลอมบ ก. จงหาศักยไฟฟาที่จุด A ( –18 V) ! ! ข. จงหาศักยไฟฟาที่จุด B ( –6 V ) ค. หากเลอนประจขนาด 2 คูลอมบ ่ื ุ จาก B ไป A จะตองทํางานเทาใด ( –24 J) ! วธทา ิี ํ ! ! 30. จากรูป ประจุ Q มีขนาด –5 x1 0–9 คูลอมบ จงหาศักยไฟฟาที่จุด A และ B ตามลําดับ ! ! 1. −45 , 15!! ! ! ! 2. −30 , −15! ! ! ! ! 3. −45 , −15! ! ! ! 4. −30 , 15!! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! (ขอ 3)!  วธทา ิี ํ 31. จากขอที่ผานมา หากเลอนประจขนาด 2 คูลอมบ จาก B ไป A จะตองทํางานเทาใด ่ื ุ 1. 45 2. −45 3. 60 4. −60 (ขอ 4)! วธทา ิี ํ ! "%!
  • 13. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 32(En 32) A และ B เปนจดทอยหางจากประจุ 4 x 10–6 คูลอมบ เปนระยะทาง 2 และ  ุ ่ี ู  12 เมตร ตามลําดับ ถาตองการเลือนประจุ – 4 คูลอมบ จาก A ไป B ตองใชงานใน ่ หนวยกิโลจูลเทาใด 1. 8.75 2. 15 3. –35 4. +60 (ขอ 4) วธทา ิี ํ 33. จด A อยูหางจากประจุ –2 x 10–10 C เปนระยะ 1 เมตร จงหางานที่ตองทําในการพา ุ ประจุ 3 x 10–12 C จากที่ไกลมากมาที่จุด A นี้ (–5.4 x10–12 J) วธทา ิี ํ 34. มีประจุขนาด –4 x 10–10 C จด A อยูหางจากประจุนี้ 1 เมตร จงหางานที่ตองทําใน ุ การพาประจุ 2 x 10–12 C จากที่ไกลมากมาที่จุด A นี้ (– 7.2x10–12 J ) วธทา ิี ํ 35. จากขอที่ผานมาจงหางานในการพาประจุ 2 x 10–12 C จากจุด A ไปวาง ณ.จุดซึ่งไกลมาก วิธทา ี ํ (7.2x 10–12 J) ! "&!
  • 14. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 36. ในการนาประจุ 2 x10–4 C จาก infinity เขาหาประจุบวกถึงจุด ๆ หนงตองสนเปลองงาน ํ ่ึ  ้ิ ื 5 x10–2 จล จุดนั้นมีศักยไฟฟากี่โวลต ู ก. 2.5 x 102 ข. 4 x 10–3 ค. 1 x 10–5 ง. 2.5 x 10–6 (ขอ ก)  วธทา ิี ํ ! กรณทมศกยไฟฟายอยหลายๆ ตัว หากตองการหาคาศักยไฟฟารวม ใหนําศักยไฟฟายอย ี ่ี ี ั    แตละตัวมารวมกันแบบพีชคณิตธรรมดา เพราะศักยไฟฟาเปนปริมาณสเกลารไมใชเวกเตอร 37. จากรูปที่กําหนดให จงหาวาศักยไฟฟารวม A = +4 x 10–9 C! ทจด X มีขนาดเทาใด ่ี ุ (3 V) X 3 ม.! *! วธทา ิี ํ 3 ม.! B = −3 x 10–9 C! 38. จากรูปที่กําหนดให จงหาวา ศักย A = –1 x 10–9 C! B = −5 x 10–9 C! ไฟฟารวมที่จุด X มีขนาดเทาใด X 3 ม.! *! วิธทา ี ํ (–18 โวลต) 3 ม.! ! "'!
  • 15. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 39. จากรูป A , B และ C มจดประจขนาด 3.0 x 10–6 , 1.0 x 10–6 และ –1.0 x 10–6 คูลอมบ ีุ ุ ตามลําดับ เมือ AP = 0.6 เมตร , CP = 0.3 เมตร และ ่ •! C BP = 0.1 เมตร ศักยไฟฟาที่ตําแหนง P มีคาเทาใด 1. 1.05 x 105 โวลต 2. 1.83 x 105 โวลต A •! •!B P 3. 2.10 x 105 โวลต 4. 3.66x 105 โวลต (ขอ 1 )  วธทา ิี ํ 40. จากขอที่ผานมา หากนําประจุขนาด –1.0 x 10–6 คูลอมบ จากจุดที่ไกลมากมาวางที่จุด P จะตองทํางานกี่จูล 1. –2.10 2. –1.05 3. –0.105 4. –10.5 (ขอ 3)  วธทา ิี ํ ! "(!
  • 16. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย !ตอนที่ 4 สนามไฟฟา และศกยไฟฟารอบตวนา! ั   ั ํ การคํานวณหาสนามไฟฟา และศักยไฟฟารอบตัวเก็บประจุ กรณีท่ี 1 หากจุดที่จะคํานวณอยูภายนอก หรออยทผววตถุ ื ู ่ี ิ ั ใหใชสมการ E = KQ และ V = KQ R R2 เมือ R คือ ระยะที่วัดจากจุดศูนยกลางวัตถุถึงจุดที่จะคํานวณ ่ ! กรณีท่ี 2 หากจุดที่จะคํานวณอยูภายในวัตถุ Eภายใน = 0 Vภายใน = Vที่ผิววัตถุ 41. ทรงกลมรัศมี 1 เมตร และมีประจุ –5x10–9 C จงหาสนามไฟฟาและศักยไฟฟาที่ ก. ระยะทาง 2 เมตร จากผิวทรงกลม ( 5 N/C , –15V ) ข. ผิวทรงกลม ( 45 N/C , –45V ) 1 ม.! 2 ม.! ค. ระยะ 0.2 เมตร จากจุดศูนยกลางทรงกลม วธทา ิี ํ ( 0 N/C , –45V ) ! 42. ตัวนําทรงกลมมีรัศมี 10 เซนตเิ มตร มีประจุกระจายอยางสม่ําเสมอบนผิวตัวนํา ถาสนาม ไฟฟาทผวทรงกลมมคา 5.0 x106 โวลต/เมตร จงหาคาศกยไฟฟาทผวทรงกลมน้ี (5 x 105 โวลต)  ่ี ิ ี  ั   ่ี ิ วธทา ิี ํ ! ")!
  • 17. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 43(En 42/1) ทรงกลมโลหะกลวงมีรัศมี 20 เซนตเิ มตร ทําใหมีศักยไฟฟา 10000 โวลต ! ! สนามไฟฟาภายนอกทรงกลมบริเวณใกลเคียงผิว จะมีคาเทาใดในหนวยโวลตตอเซนติเมตร   วธทา ิี ํ ( 500 โวลต / เซนติเมตร ) 44. ทรงกลมตัวนํามีประจุ –200 µc รศมี 50 cm จงหา ั ก. ศักยไฟฟาที่ผิวของทรงกลม ( –3.6x106 โวลต ) ข. งานที่ในการพาประจุ –20 µc จาก infinity มาที่ผิวนี้ (72 J) วธทา ิี ํ 45(มช 32) ถาตองการเคลอนประจขนาด q คูลอมบ ไปตามผิวนอกของทรงกลมซึ่งมีประจุ Q   ่ื ุ อยูภายในจากตําแหนงหนึ่งไปสูอีกตําแหนงหนึ่ง งานที่ใชในการเคลื่อนประจุคือ ก. KqQ J 2 ข. KqQ J 3 ค. KqQ J 4 ง. 0 J (ขอ ง)  วธทา ิี ํ 46(มช 32) หากมีประจุกระจายอยูบนตัวนําทรงกลมกลวงอยางสม่ําเสมอศักยไฟฟา และสนาม ไฟฟาภายในจุดศูนยกลางทรงกลมกลวงมีคา (ขอ ข)  ก. ทั้งศักยไฟฟา และสนามไฟฟาเปนศูนย ข. ศักยไฟฟาเทากัน สนามไฟฟาเปนศูนย ค. ศักยไฟฟาเทากัน และสนามไฟฟาเทากัน! ง. ศักยไฟฟาเปนศูนยสนามไฟฟาเทากัน! ตอบ ! "*!
  • 18. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ตอนที่ 5 สนามไฟฟาสม่ําเสมอ! สนามไฟฟาซึงอยูระหวางกลางขัวไฟฟาบวก-ลบ จะมีคาเทากันทุกจุด จึงเรียก สนามไฟฟาสมาเสมอ ่  ้  ํ่ เราหาคาสนามสม่ําเสมอไดจาก E = V d เมือ E = สนามไฟฟาสม่ําเสมอ (N/C , V/m) ่ V = ความตางศักยระหวางจุดที่คํานวณ (โวลต) d = ระยะหางระหวางจุดที่คํานวณ (เมตร) 47. แผนโลหะคูขนาน วางหางกัน 1 มิลลิเมตร ตออยูกับขั้วบวก-ลบของแบตเตอรี่ 1.5 โวลต สนามไฟฟาระหวางแผนตัวนําคูขนานจะมีคาเทาใด ( 1500 V/m) วธทา ิี ํ 48(En 41) แผนตวนาคขนานเทากน วางหางกัน 3 มิลลิเมตร ถาตอแผนคขนานนเ้ี ขากบ  ั ํ ู  ั    ู  ั แบตเตอรี่ 9 โวลต สนามไฟฟาระหวางแผนตัวนําคูขนานจะมีคาเทาใด (ขอ 4) 1. 0.027 V–m 2. 27 V–m 3. 3 V/m 4. 3000 V/m วธทา ิี ํ 49. แผนตวนาคขนานเทากน วางหางกัน 5 เซนติเมตร มีสนามไฟฟาสม่ําเสมอเขม 20 V/m  ั ํ ู  ั จะมีคาความตางศักยระหวางขั้วบวกและลบ กี่โวลต (1 โวลต) วธทา ิี ํ เงื่อนไขการใชสูตร V = Ed 1. E และ d (การขจัด) ตองอยในแนวขนานกัน  ู หาก d ตั้งฉากกับ E ตอบ V = 0 หาก d เอียงทํามุมกับ E ตองแตกการขจด d นั้นใหขนานกับ E กอน  ั 2. ถาการขจัด d มีทิศเดียวกับสนามไฟฟา E ใหใชการขจัด d เปนลบ ถา d และ E สวนทางกันใช d เปนบวก  ! "+!
  • 19. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 50. จงหาความตางศักยไฟฟาระหวาง A ไป B ตามกรณตอไปน้ี ี  ก. ข. ค. 0.5 m /! 60o! /! 0.5 m 2m .! /! .! .! E=10 V/m E=10 V/m E=10 V/m วธทา ิี ํ ( ก. 5 โวลต ข. 0 โวลต ค. 10 โวลต ) 51. จงหาความตางศักยไฟฟาระหวาง A ไป B ตามกรณตอไปน้ี ี  ก. ข. ค. .! 0.5 m 0.5 m 2m o .! /! /! .! /! 60 ! E=10 V/m E=10 V/m E=10 V/m ! วธทา ิี ํ ( ก. 5 โวลต ข. -5 โวลต ค. –10 โวลต ) 52. สนามไฟฟาสม่ําเสมอขนาดเทากับ 8 โวลต/ เมตร ตําแหนง 0.5 m 0! A และ B อยหาง กัน 0.5 เมตร ดังรูป จงหาความตางศักย ู  .! /! ไฟฟาระหวาง A ไป B (4 โวลต ) วธทา ิี ํ ! ",!
  • 20. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 53. จากขอที่ผานมา หากเลอนประจขนาด 2 x 10–6 คูลอมบ จากจุด A ไป B จะตอง ่ื ุ ทํางานกี่จูล (8x10–6 จล) ู วธทา ิี ํ 54. จงหางานในการเลอนประจขนาด 2 x 10–6 คูลอมบ จาก ่ื ุ 0! จด A ไป B ซึ่งอยูภายใตสนามไฟฟา 8 โวลต/ เมตร ดังรูป ุ /! 60o! วิธทา ี ํ (–16 x 10–6 จล) ู 2m .! ! 55. ถา E เปนสนามไฟฟาสม่ําเสมอมีขนาด 12 โวลต/เมตร ! B E! จงหางานที่ใชในการเคลื่อนที่ประจุทดสอบ 3.0 x 10–6 5 ซม.! คูลอมบ จาก A → B → C (1.8x10–6 จล) ู C 5 ซม.! A วธทา ิี ํ ! ! หากเรานาประจทดสอบ( q ) ไปวางในสนามไฟฟาสม่ําเสมอ ประจุทดสอบนั้นจะถูก ํ ุ แรงกระทําแลวทําใหเกิดการเคลื่อนที่ในสนามสม่ําเสมอนั้น โดย ประจุไฟฟาบวก จะวิ่งไปหาขั้วไฟฟาลบ และ ประจุไฟฟาลบ จะวิ่งไปหาขั้วไฟฟาบวก ! โปรดสังเกตุวา แรงกระทําตอประจุบวกจะมีทิศเดียวกับสนามไฟฟา แรงกระทําตอประจุจะมีทิศตรงกันขามกับสนามไฟฟา! และ เราสามารถหาขนาดของแรงกระทานน ไดจาก ํ ้ั F = qE หรือ F = qV d ! %-!
  • 21. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย เมือ F คือ แรงทีกระทําตอประจุ q ่ ่ E = สนามไฟฟาสม่ําเสมอ (N/C , V/m) V = ความตางศักยระหวางจุดที่คํานวณ (โวลต) d = ระยะหางระหวางจุดที่คํานวณ (เมตร) 56. ประจุไฟฟาขนาด +1 x 10–6 คลอมบ อยูในสนามไฟฟาสม่ําเสมอซึ่งมีทิศจากซายไปขวา ู และมีความเขม 8 โวลต / เมตร จะถูกแรงกระทําเทาใดและไปทางไหน ( 8x10–6N , ไปทางขวา) วธทา ิี ํ ! 57(En 32) เมือนําประจุ –2 x 10–6 คูลอมบ เขาไปวางไว ณ จด ๆ หนง ปรากฏวามีแรง ่ ุ ่ึ 8 x 10–6 นิวตัน มากระทําตอประจุนี้ในทิศจากซายไปขวา สนามไฟฟาตรงจุดนั้น 1. มีความเขม 4 โวลต/เมตร ทิศจากซายไปขวา 2. มีความเขม 4 โวลต/เมตร ทิศจากขวาไปซาย 3. มีความเขม 0.25 โวลต/เมตร ทิศจากซายไปขวา 4. มีความเขม 0.25 โวลต/เมตร ทิศจากขวาไปซาย (ขอ 2) วธทา ิี ํ ! 58. เมือนําประจุ 3.6x10–14 คูลอมบ วางในสนามไฟฟาของแผนโลหะสองแผน ซึ่งมีความ ่ ตางศักย 105 โวลต และอยูหางกัน 0.3 เมตร จะเกดแรงกระทาตอประจเุ ทาไร ิ ํ   ก . 1.2x10–9 N ข . 1.2x10–10 N ค. 1.2 x 10–11 N ง. 1.2x10–12 N (ค.) วธทา ิี ํ ! ! %"!
  • 22. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 59(En 35) แผนโลหะขนาน 2 แผน วางหางกันเปนระยะ d และมีประจุไฟฟาชนิดตรงขาม อเิ ลกตรอนทหลดจากแผนลบจะวงดวยความเรง a ไปยังแผนบวก ถาให m และ q เปนมวล ็ ่ี ุ  ่ิ    และประจของอเิ ลกตรอนตามลาดบ แผนโลหะทั้งสองมีความตางศักยเทาไร ุ ็ ํ ั 1. md q 2. qE m 3. maq 4. madq (ขอ 4) วธทา ิี ํ ! 60. ในการทดลองตามแบบของมลลแกน พบวาหยดน้ามันหยดหนึงลอยนิงไดระหวางแผนโลหะ ิ ิ ํ ่ ่ ขนาน 2 แผน ซึงหางกัน 0.8 เซนตเิ มตร โดยมความตางศกยระหวางแผนทาใหเ กดสนาม ่ ี  ั    ํ ิ 12000 โวลตตอเมตร ถาหยดน้ามันมีประจุไฟฟา 8.0 x 10–19 คูลอมบ จะมี น้าหนักเทากับ  ํ ํ 1 . 7.7 x 10–17 N 2 . 6.4 x 10–19 N 3. 9.6 x 10–19 N 4. 9.6x10–15 N ( 4.) วธทา ิี ํ ! 61. การทดลองหยดน้ํามันของมิลลิเกน พบวาถาตองการใหหยดน้ํามันซึ่งมีมวล m และอิเล็ก– ตรอนเกาะติดอยู n ตัว ลอยนงอยระหวางแผนโลหะ 2 แผน ซึ่งวางขนานหางกัน เปนระยะ ่ิ ู   ทาง d และมีความตางศักย V ประจุของอิเล็กตรอนที่คํานวณไดจากการทดลองนี้จะมีคาเทาใด 1. mgd nV 2. mgV nd 3. nmgd V 4. nmgV d (ขอ 1) วธทา ิี ํ ! ! %%!
  • 23. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ตอนที่ 6 ตัวเก็บประจุ และ การตอตัวเก็บประจุ! ! ! ตัวเก็บประจุ คือ วัสดุที่สามารถเก็บสะสมประจุไฟฟาไวภายในตัวเองได !! ตัวเก็บประจุ แบบทรงกลม! ! ! ตัวเก็บประจุแบบนี้เราสามารถหาคาความจุประจุไดจาก! C = K หรือ C = Q a V เมือ C คือ คาความจประจุ (ฟารัด) ่  ุ a คือ รัศมีทรงกลม ! K = 9x109 N. m2/c2 Q คือ ประจุที่เก็บสะสม (คูลอมบ) V คือ ศักยไฟฟาที่ผิว (โวลต) 62. ตัวนําทรงกลมรัศมี 10 เซนตเิ มตร ความจุประจุของทรงกลมมีคากี่ฟารัด (1.1x10–11 F) วธทา ิี ํ ! 63. จากโจทยที่ผานมา หากศักยไฟฟาสูงสุดที่ผิวตัวนํามีคาเทากับ 3x102 โวลต ประจุไฟฟา สูงสุดที่ทรงกลมนี้สามารถเก็บไดมีคากี่ไมโครคูลอมบ (3.3x10–4) วธทา ิี ํ ! 64(En 41/2) ศักยไฟฟาของตัวนําทรงกลมรัศมี 60 เซนตเิ มตร มีคาเทากับ 3 x 105 โวลต ประจุไฟฟาในขอใดที่ตัวนํา ทรงกลมนี้สามารถเก็บได (ขอ 3)  1. 12 µC 2. 18 µC 3. 20 µC 4. 24 µC วธทา ิี ํ ! ! %&!
  • 24. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ตัวเก็บประจุแบบแผนโลหะคูขนาน ! ! ตัวเก็บประจุแบบนี้เราสามารถหาคาความจุประจุไดจาก! C= Q V Q คือ ประจุที่ขั้วบวก (คูลอมบ) V คือ ความตางศักยระหวางขั้วไฟฟา (โวลต) ! 65. ตัวเก็บประจุตวหนึงมีความจุ 0.2 µF ใชงานกับความตางศักย 250 โวลต จะเก็บประจุไว ั ่ ไดกี่คูลอมบ (ขอ ง)  ก. 0.5 x 102 ข . 1.25 x 102 ค. 2.5 x 10–5 ง. 5 x10–5 วธทา ิี ํ ! 66. แผนโลหะขนาดหางกัน 0.1 เมตร ใชทําเปนตัวเก็บประจุที่มีคาความจุ 9 นาโนฟารด ถา ั สนามไฟฟาระหวางแผนโลหะมีคา 3 N/C อยากทราบวาตวเกบประจน้ี มีประจุกี่คูลอมบ  ั ็ ุ ก. 2.7 x 10–4 ข . 2.7 x 10–6 ค. 2.7 x 10–9 ง. 2.7x10–11 (ขอ ค) วธทา ิี ํ ! ! เราสามารถหา พลังงานไฟฟาที่เก็บสะสมในตัวเก็บประจุแผนโลหะคูขนานไดจาก! 2 U = 1 QV หรือ U = 1 Q หรือ U = 1 CV2 2 2 C 2 เมือ U คือ พลังงานที่เก็บสะสม (จล) ่ ู 67. จงหาพลังงานที่สะสมในคาปาซิเตอรที่มีความจุ 2 µF เมอประจไฟฟาใหคาปาซเิ ตอรจน ่ื ุ    มีความตางศักย 2 V (4x10–6 จล) ู วธทา ิี ํ ! ! %'!
  • 25. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 68. จงหาพลังงานที่สะสมในคาปาซิเตอรที่มีความจุ 2 µF เมอประจไฟฟาใหคาปาซเิ ตอรจน ่ื ุ    มีความตางศักย 100 V (10–2 J) วธทา ิี ํ ! 69(มช 42) ตัวเก็บประจุ 16 ไมโครฟารัด ตอเขากับความตางศักยคาหนึ่ง ทําใหมีพลังงาน สะสมในตัวเก็บประจุ 0.5 จล จงหาคาความตางศักยนี้ในหนวยของโวลต ู 1. 220 2. 150 3. 250 4. 180 (ขอ 3) วธทา ิี ํ ! กฏการตอตัวเก็บประจุแบบอนุกรม 1) Qรวม = Q1 = Q2 2) V1 ≠ V2 Q Q 3 ) Vรวม = V1 + V2 V1 = C1 V2 = C 2 1 2 1 4) C 1 = C + C1 รวม 1 2 ตัวอยางที่ 1 จากวงจรดังรูป จงหา ก. ใหหาคา Cรวม   ข. ใหหาคา Q1 และ Q2   ค. ใหหาคา V1 และ V2   ง. ใหหาคา Vรวม   วิธีทํา ก. จาก C 1 = C + C 1 1 รวม 1 2 1 1 1 Cรวม = 4 + 12 1 3+1 Cรวม = 12 µ Cรวม = 3µF ! %(!
  • 26. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย ข. เนองจาก Q1 = Q2 = Qรวม = 24 µC ่ื Q µ ค. จาก V1 = C1 = 24µ = 6 โวลต 4 1 Q 24 µ และ V2 = C 2 = 12 µ = 2 โวลต 2 ง. ใหหาคา Vรวม จาก   Vรวม = V1 + V2 = 6 + 2 = 8 Q µ หรอ ื Vรวม = Cรวม = 24µ = 8 โวลต รวม 3 70. จากรูป ก. ใหหาคา Cรวม   (2 µF) ข. ใหหาคา Q1 และ Q2   (18 µC) ค. ใหหาคา V1 และ V2   ( 6 , 3) ง. ใหหาคา Vรวม   (9 โวลต) วธทา ิี ํ ! ! %)!
  • 27. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 71. จากรป จงหา Cรวม และ Qรวม (4 µF , 144 µC) ู 6 µF 12 µF วธทา ิี ํ ! Vรวม = 36 โวลต 72. จากขอทีผานมา จงหาประจุ และ ความตางศักยของ ่ ตวเกบ 6 µF ั ็ (144 µC , 24 โวลต) วธทา ิี ํ ! 73. จากขอทีผานมา จงหาประจุ และ ความตางศักยของ ่ ตวเกบ 12 µF ั ็ (144 µC , 12 โวลต) วธทา ิี ํ ! 74. จากขอทผานมา จงหาพลังงานไฟฟาของตัวเก็บ 12 µF  ่ี  ( 8.64 x 10–4 จล) ู วธทา ิี ํ ! ! %*!
  • 28. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย กฏการตอตวเกบประจแบบขนาน  ั ็ ุ 1) Qรวม ≠ Q1 ≠ Q2 2) Qรวม = Q1 + Q2 3) Vรวม = V1 = V2 4) Cรวม = C1 + C2 ตัวอยางที่ 2 จากวงจรดังรูป จงหา ก. ใหหาคา Cรวม   ข. ใหหาคา Vรวม   ค. ใหหาคา V1 และ V2   ง. ใหหาคา Q1 และ Q2   วธทา ก. จาก Cรวม = C1 + C2 = 3 + 6 = 9µF ิี ํ Q µ ข. จาก Vรวม = Cรวม = 18µ = 2 โวลต 9 รวม ค. จาก V1 = V2 = Vรวม = 2 โวลต ง. จาก V= Q C จะได Q = CV Q1 = C1V1 = (3µ)(2) = 6 µ Q2 = C2V2 = (6µ)(2) = 12 µ หรอ อาจทําอีกวิธีดังนี้ ขนแรก สมมุติกระแส Q1 และ Q2 ดังรูป ื ้ั เนืองจาก V1 = V2 ่ Q1 Q2 C1 = C2 x 18 - x 3µ = 6 µ 2x = 18 – x x = 6 ดังนัน Q1 = x = 6 µ ้ Q2 = 18 – x = 18 –6 = 12 µ ! %+!
  • 29. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 75. จากรูป ก. ใหหาคา Cรวม   (16 µF) ข. ใหหาคา Vรวม   (3 โวลต) ค. ใหหาคา V1 และ V2   (3 โวลต) ง. ใหหาคา Q1 และ Q2   ( 12 µ , 36 µ) วธทา ิี ํ ! 76(มช 39) จากรูป จงหาคาความจุรวม และ ประจุไฟฟารวมบนตัวเก็บประจุทั้งสอง (ขอ 3) 1. 7 pF , 0.05 pC 2. 1.4 pF , 196 pC 3. 7 pF , 980 pC 4. 1.4 pF , 1960 pC วธทา ิี ํ ! ! %,!
  • 30. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 77. จากรูป จงหาความตางศักยระหวางจุด A กับจุด B A 2 µF B และ ประจุไฟฟาในตัวเก็บประจุ 2 µF * * วธทา ิี ํ ( 36 V , 72 µC) C * D * 6 µF 3 µF Vรวม = 36 โวลต 78. จากขอทผานมา จงหาความตางศักยระหวางจุด C กับจุด D และ ประจุไฟฟาในตัวเก็บประจุ  ่ี  6 µF ( 36 V , 72 µC) วธทา ิี ํ ! 79. จากขอทผานมา ความตางศักยของตัวเก็บประจุ 6 µF  ่ี  ( 12 V ) วธทา ิี ํ ! 80. จากขอทผานมา พลังงานไฟฟาที่สะสมในตัวเก็บประจุ 6 µF  ่ี  (4.32x10–4 จล) ู วธทา ิี ํ ! ! &-!
  • 31. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 81(En 44/1) วงจรไฟฟาประกอบดวยตัวเก็บประจุสามตัวตออยูกับ ความตางศักย 12 โวลต ดังรูป จงคานวณหาขนาดของความ ํ ตางศกยทครอมตวเกบประจุ 3 ไมโครฟารัด และ 6 ไมโครฟารัด  ั  ่ี  ั ็ ตามลําดับ (ขอ 4) 1. 12 V และ 12 V 2. 6 V และ 6 V 3. 4 V และ 8 V 4. 8 V และ 4 V วธทา ิี ํ ! 82(En 42/2) จากรูป เมอกอนปดวงจรตวเกบประจทงสาม ่ื   ั ็ ุ ้ั ยังไมมีประจุไฟฟาอยูภายในเลย เมือปดวงจรและเมือ ่ ่ เวลาผานไปนานพอสมควร พลังงานไฟฟาที่สะสมอยู ในตวเกบประจุ C1 มีคาเทาใด ั ็ (ขอ 1) 1. 4.5 x 10–6 J 2. 6.0 x 10–6 J 3. 9.0 x 10–6 J 4. 18.0 x 10–6 J วธทา ิี ํ ! ! &"!
  • 32. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 83. C1 = 4 ไมโครฟารัด C2 = 6 ไมโครฟารัด C3 = 6 ไมโครฟารัด C4 = 6 ไมโครฟารัด ตอตัวเก็บประจุ C1 , C2 , C3 และ C4 ดังรูป จงหา ! ความจรวมของตวเกบประจทงหมดในหนวยไมโครฟารด ุ ั ็ ุ ้ั  ั (6 ไมโครฟารัด) วธทา ิี ํ ! ! กฏเกยวกบการแตะกนของตวเกบประจุ ่ี ั ั ั ็ เมอนาตวเกบประจหลาย ตวมาแตะกน ่ื ํ ั ็ ุ ั ั 1) หลังแตะ ศกยไฟฟาของตวเกบประจทกตวจะเทากน ั   ั ็ ุ ุ ั  ั 2) ประจุ ( Q ) รวมกอนแตะ = ประจุ ( Q ) รวมหลงแตะ  ั 84. ตัวนําทรงกลมรัศมี a ที่มีประจุ –Q ไปแตะกับตัวนําทรงกลมรัศมี 2 a ที่มีประจุ +4Q หลังจากแยกออกจากกันแลวตัวนําทรงกลมรัศมี a จะมีประจุเทาใด 1. Q 2 2. Q 3. 3Q 2 4. 2Q (ขอ 2)  วธทา ิี ํ ! ! &%!
  • 33. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 85. ตัวนําทรงกลมรัศมี a ที่มีประจุ –Q ไปแตะกับตัวนําทรงกลมรัศมี 3a ที่มีประจุ +9Q หลัง จากแยกออกจากกันแลวตัวนําทรงกลมรัศมี a จะมีประจุเทาใด 1. Q 2 2. Q 3. 3Q 2 4. 2Q (ขอ 4.)  วธทา ิี ํ ! 86(En 36) ) ตวเกบประจขนาด 50 µF อนหนง มีความตางศักย 16 โวลต เมอนามาตอ ั ็ ุ ั ่ึ ่ื ํ  ขนานกับตัวเก็บประจุขนาด 30 µF ซึ่งแตเดิมไมมีประจุอยูเลย จงหาความตางศักยของ ตัวเก็บประจุ 30 µF (10 โวลต) วธทา ิี ํ ! !!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"" ! &&!
  • 34. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 7. ประจุไฟฟา และการเหนี่ยวนําทางไฟฟา พิจารณาตัวอยางสมมุติ การถูแทงพลาสติกกับผาสักหลาด! 2! 1!ปกติแลวอะตอมในแทงพลาสติก และในผาสกหลาดจะมี!  ั 2! + +! ! ! จานวนอเิ ลคตรอน (ประจุลบ) เทากับจํานวนโปรตรอน! ํ 2! +++!! 2! '2! 2! 2! (ประจบวก) แตเมือเกิดการเสียดสี จะทําใหเกิดการหมุน! ุ ่ 2! 2! เวยนของอเิ ลคตรอนของแทงพลาสตกกบผาสกหลาด ี  ิ ั  ั ! + +! 2! + +!2! 1!หากแทงพลาสติกไดรับอิเลคตรอนมากกวาที่เสียไป! ! จะทําใหแทงพลาสติกมีประจุสะสมเปนลบ ! − + − 1! ประจุที่สะสมตรงนี้เรียกวา ไฟฟาสถิตย ! − + − − 3 − ! !! 1! ตอไปหากเรานําแทง พลาสติกที่มีประจุลบสะสม! อยน้ี ไปวางใกลๆ วัตถุเล็กๆ ซงปกตในวตถนนจะมอเิ ลคตรอน และ โปรตรอนของ! ู ่ึ ิ ั ุ ้ั ี อะตอมกระจายตัวอยูอยางสม่ําเสมอในปริมาณที่เทากัน แตเมื่อถูกแทงพลาสติกเขาใกล!  ประจุลบบนแทงพลาสติก จะผลกอเิ ลคตรอนในวตถใหเ คลอนไปอยฝงตรงกนขาม ! ั ั ุ ่ื ู  ั  เหลือประจุบวกในฝงใกลแทงพลาสติก และจะทําใหเกิดแรงดูดระหวางประจุบวกบน! วัตถุกับลบบนแทงพลาสติก ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ เขามาหาแทงพลาสติกใหเห็นได ! 1!การจัดเรียงประจุบนวัตถุ เมื่อถูกไฟฟาสถิตยเขาใกล เรียกวาเปนการเหนียวนําทางไฟฟา! ่ 87. จงเติมขอความลงในชองวางตอไปนี้ใหไดใจความที่ถูกตอง และ สมบูรณ สมมุตินําวัตถุ A มาถูกับผาสักหลาด B แลวปรากฏวา มีอเิ ลคตรอนเคลือนเขามายังแทง ่ วัตถุ A มากกวาจานวนอเิ ลคตรอนทเ่ี คลอนออกจากวตถุ A เมื่อแยกวัตถุ A ออกจาก  ํ ่ื ั ผาสักหลาด วัตถุ A จะมีประจุสะสมเปน (1) และเมื่อนําวัตถุ A ไปวาง ใกล ๆ วัตถุเล็ก ๆ จะเกดการจดเรยงประจบนวตถนนดงรป ิ ั ี ุ ั ุ ้ั ั ู / − (2) (3) −− การจัดเรียงประจุบนวัตถุเล็กๆ หลังจากนํา วัตถุ A เขาใกล เรียก (4) เติมประจุ + หรือ −! ( 1. ลบ 2. − 3. + 4. การเหนียวนําทางไฟฟา ) ่ ! &'!
  • 35. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 1! จากตัวอยางสมมุติที่ผานมา หากแทงพลาสติก ! 2! เสียอิเลคตรอนมากกวาที่ไดรับมา จะทําใหแทง! 2! + +! 2! +++!! 2! พลาสติกมีประจุสะสมเปนบวก ประจุที่สะสม! 2! 2! (2! ตรงนเ้ี รยกกวา ไฟฟาสถิตย ! ี ็ 2! 2! + +! 2! + +!2! 1!ตอไปหากเรานําแทงพลาสติกที่มีประจุบวกสะสม! อยน้ี ไปไวใกลวัตถุเล็กๆ ประจุบวกบนพลาสติก! ู จะดูดอิเลคตรอนในวัตถุ ใหเคลื่อนไปอยูฝงใกล!  +3 แทงพลาสติก เหลือประจุบวกในฝงตรงกันขาม ! + 3 − 3 − และจะทําใหเกิดแรงดูดระหวางประจุบวกบนแทง! 3 − พลาสติกกับลบบนวัตถุ ทําใหวัตถุเคลื่อนที่เขามาหาแทงพลาสติกใหเห็นไดเชนกัน ! 1! การจัดเรียงประจุบนวัตถุ เมื่อถูกไฟฟาสถิตยเขาใกล เรยกวาเปนการเหนยวนาทางไฟฟา! ี   ่ี ํ  88. จงเติมขอความลงในชองวางตอไปนี้ใหไดใจความที่ถูกตอง และ สมบูรณ สมมุตินําวัตถุ A มาถูกับผาสักหลาด B แลวปรากฏวา มีอเิ ลคตรอนเคลือนออกจากแทง ่ วัตถุ A มากกวาจานวนอเิ ลคตรอนทเ่ี คลอนเขามาหาวตถุ A เมื่อแยกวัตถุ A ออกจาก  ํ ่ื  ั ผาสักหลาด วัตถุ A จะมีประจุสะสมเปน (1) และเมื่อนําวัตถุ A ไปวางใกลๆ วัตถุเล็กๆ จะเกดการจดเรยงประจบนวตถนนดงรป ิ ั ี ุ ั ุ ้ั ั ู / 3 3 + การจัดเรียงประจุบนวัตถุเล็กๆ หลังจากนํา (2) (3) วัตถุ A เขาใกล เรียก (4) เติมประจุ + หรือ −! ( 1. บวก 2. + 3. − 4. การเหนียวนําทางไฟฟา ) ่ 89. จากขอทผานมาโปรตรอน(ประจบวก) จะเคลื่อนที่จากวัตถุ A มาหาผาสักหลาด  ่ี  ุ หรือ เคลื่อนจากผาสักหลาดมาหาวัตถุ A ไดหรือไม เพราะเหตใด ุ ( ไมได เพราะโปรตรอนมีมวลมาก ( มากกวาอิเลคตรอน 1835 เทา ) การเคลือนทีจงทําไดยาก ) ่ ่ึ ! &(!
  • 36. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 90. เมื่อถูแทงแกวดวยผาไหม แทงแกวจะมีประจุไฟฟาเปนบวกเพราะวาสาเหตุใด 1. โปรตรอนบางตวในไหมถายเทไปแทงแกว ั   2. อเิ ลกตรอนบางตวหลดจากแทงแกว และถายเทไปยังผาไหมทําใหเหลือประจุไฟฟา ็ ั ุ   บวกบนแทงแกวมากกวาประจุไฟฟาลบ 3. ทั้งขอ ก และ ข ถูกตอง 4. ผิดหมดทุกขอ (ขอ 2) 91(มช 32) เมื่อนําแทงพีวีซีที่ถูกับผาสักหลาดแลวไปวางใกล ๆ กับลูกพิธที่เปนกลางทางไฟฟา จะสังเกตเห็นเหตุการณทเ่ี กิดขึนดังนี้ ้ ก. ลูกพิธจะหยุดนิ่ง ข. ลูกพิธจะเคลื่อนที่เขาหาแทงพีวีซี ค. ลูกพิธจะเคลื่อนที่ออกหางจากแทงพีวีซี ง. ลูกพิธจะเคลื่อนที่เขาหาแทงพีวีซีในตอนแรก แลวจะเคลื่อนที่จากไปภายหลัง (ขอ ข)! 92(มช 36) ทรงกลมโลหะ A และ B วางสัมผัสกันโดยยึดไว ดวยฉนวน เมื่อนําแทงอิโบไนทซึ่งมีประจุลบเขาใกลทรงกลม  A ดังรูป จะมีประจุไฟฟาชนิดใด เกิดขึ้นที่ตัวนําทรงกลมทั้งสอง ก. ทรงกลมทั้งสองจะมีประจุบวก ! ข. ทรงกลมทั้งสองจะมีประจุลบ ค. ทรงกลม A จะมีประจุบวก และทรงกลม B มีประจุลบ ง. ทรงกลม A จะมีประจุลบ และทรงกลม B มีประจุบวก จ. ไมเกิดไฟฟาที่ทรงกลมทั้งสอง (ขอ ค) 93(En 34) โลหะทรงกระบอกยาวปลายมนเปนกลางทาง ไฟฟาตั้งอยูบนฐานที่เปนฉนวน ถานําประจุบวก ขนาดเทากันมาใกลปลายทั้งสองขางพรอมกันโดยระยะ หางจากปลายเทา ๆ กัน ตามลําดับ การกระจายของประจุสวน A สวน B และ C ของ ทรงกระบอกเปนอยางไร 1. A และ C เปนลบแต B เปนกลาง 2. A และ C เปนกลาง แต B เปนบวก     3. A และ C เปนบวก แต B เปนลบ 4. A และ C เปนลบแต B เปนบวก    (ขอ 4) ! &)!
  • 37. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 94(มช 31) เมื่อนําสาร ก มาถูกกับสาร ข พบวา สาร ก มีประจุไฟฟาเกิดขึน สาร ก ตองเปนสารใด ้ ก. ตัวนํา ข. ฉนวน ค. กงตวนา ่ึ ั ํ ง. โลหะ (ขอ ข) อิเลคโตรสโคป คือ เครื่องมือใชตรวจหาไฟฟาสถิตย อิเลคโตรสโคป มี 2 ชนด คือ ิ 1) อิเลคโตรสโคปแบบลูกพิธ เปนอิเลคโตรสโคปซึงทําจากเม็ดโฟม ฉาบผิว ่ เอาไวดวยอลูมิเนียม เมื่อมีวัตถุที่มีไฟฟาสถิตย เขาใกล จะเกิดการเหนี่ยวนําทางไฟฟาทําให อเิ ลคโตรสโคปเอยงเขาหาวตถนน ี  ั ุ ้ั 95. จงเติมขอความลงในชองวางตอไปนี้ใหไดใจความที่ถูกตอง และ สมบูรณ 3 − 3 (1) (2) −− (3) (4) + เติมประจุ + หรือ −! เติมประจุ + หรือ −! ( 1. − 2. + 3. + 4. − ) 2) อิเลคโตรสโคปแบบจานโลหะ มีลักษณะดังรูป เมื่อถูกวัตถุที่มีไฟฟาสถิตยเขาใกลจานโลหะดานบน จะเกดการเหนยวนา ิ ่ี ํ ทางไฟฟาทําใหแผนโลหะบาง ๆ ดานลางกางออก   ! ! &*!
  • 38. Physics Online V http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย 96. จงเติมขอความลงในชองวางตอไปนี้ใหไดใจความที่ถูกตอง และ สมบูรณ − + − +3 − (1) (4) .! .! (2) (3) ! (5) (6) ! เติมประจุ + หรือ −! เติมประจ + หรือ −! ( 1. + 2. − 3. − 4. − 5. + 6. + ) ! การตอสายดิน! พิจารณาการทดลองตอไปนี้! ! − − − ! − − − ! + + + + + +! + + + + + +! + + + + + +! ! −! ! −! ! − −− ! 1)! อิเลคตรอนถูกผลักลง 2) ตอสายดน อเิ ลคตรอนจะวง  ิ ่ิ 3) ตดสายดนออก ั ิ ! ! ขางลางแผนโลหะจะกาง ลงสูพื้นโลกแผนโลหะจะหุบ ไมเปลี่ยนแปลง ! ! + + + +! +− + − + −! ! +! ! ! +! +! ! +! +! ! + +! − − ! 4) นาวตถทมประจดานบนออกอเิ ลคโตร- ! ํ ั ุ ่ี ี ุ หากนาวตถทมประจออกกอนตดสายดน อเิ ลค- ํ ั ุ ่ี ี ุ  ั ิ ! ตรอนทีพนโลกจะวิงขึน มาบนอิเลคโตรสโคป ่ ้ื ่ ้ สโคปจะเหลือประจุบวกมากกวาลบแผน ! โลหะดานลางจะกางออก ! ทาใหเ ปนกลางทางไฟฟาแผนโลหะจะไมกางออก! ํ     ! &+!