SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
รายชื่อผู้จัดทา
นางสาววนิดาคาผา รหัส533410080323
นางสาวศิริพรพรมจารี รหัส533410080326
นางสาวอังสุมา ภาระจ่ารหัส533410080333
นายภัทร เรืองชาญรหัส533410080350
ปี 4 หมู่ 3
สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
การโปรโมทเว็บไซต์
กรอบเกียรติ สระอุบล. (2554)
การโปรโมทเว็บไซต์ที่หน้าเว็บเพจควรใส่คีย์เวิร์ดไว้และเพื่อใช้ชื่อเว็บไซต์
ของเราเข้าไปอยู่ในสารระบบและเป็นที่รู้จักมากควรกรอกข้อมูลและชื่อเว็บไซต์
เข้าไปที่เว็บไซต์ค้นหาหรือ Search Engine เช่น
http://www.google.com/addur/
http://search.yahoo.com/info/submit.html
http://www.addme.com/
แต่ละแห่งจะมีหลักการคล้ายกันคือ กรอกรายละเอียดเกี่ยวกับเว็บไซต์
สาหรับตัวอย่างต่อไปนี้แสดงการกรอกชื่อเว็บเข้าไปที่ Google
1. เปิดเว็บ (หรือเว็บอื่นๆก็หาคลิกลิงค์ที่ให้กรอก submit URL เช่น
suggest site, submit ฯลฯ)
2. กรอกรายละเอียดต่างๆเข้าในแบบฟอร์ม เช่น ชื่อเว็บและรายละเอียด
เกี่ยวกับเว็บ เป็นต้น
3. พิมพ์รหัสอักขระให้เหมือนกับช่องด้านบน
4.คลิกปุ่มส่งข้อมูล
การประเมินเว็บไซด์
การออกแบบและพัฒนาเว็บได้เพิ่มขึ้นโดยลาดับและนับวันจะยิ่งทวี
จานวนขึ้น ในปัจจุบันมีเว็บเพจออนไลน์ในระบบอินเทอร์เน็ตนับร้อย ๆ ล้านเว็บ
แต่มีคาถามสาคัญที่ต้องมาหาคาตอบก็คือ เว็บแบบไหนที่มีคุณภาพดี เว็บแบบ
ใดจึงจะถือว่าเป็นเว็บที่มีคุณค่า และเหมาะสมสาหรับนามาใช้ประโยชน์ เป็น
เรื่องที่ต้องตอบคาถามกันอยู่เสมอและยังไม่มีคาตอบที่ชัดเจน เมื่อพิจารณาแบบ
ประเมินเว็บเพจของ ดร.แนนซี อีเวอร์ฮาร์ท (Everhart, 1996) ภาควิชา
บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น รัฐนิวยอร์ค
สหรัฐอเมริกา ซึ่งกาหนดระดับการให้คะแนนเอาไว้อย่างน่าสนใจและน่าจะนามา
ขยายความ เพื่อประโยชน์ในการประเมินคุณภาพของเว็บสาหรับนักออกแบบ
และพัฒนาเว็บ รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดสารสนเทศผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
จะได้มีแนวทางในการตรวจสอบและประเมินคุณภาพที่สามารถอธิบายเหตุผลได้
โดยแนวคิดของอีเวอร์ฮาร์ท จะมีด้วยกัน 9 ด้านคือ
1. ความทันสมัย (Currency)
2. เนื้อหาและข้อมูล (Content and Information)
3. ความน่าเชื่อถือ (Authority)
4. การเชื่อมโยงข้อมูล (Navigation)
5. การปฏิบัติจริง (Experience)
6. ความเป็นมัลติมีเดีย (Multimedia)
7. การให้ข้อมูล (treatment)
หลักและทฤษฏีการสื่อสาร
กมลรัฐ อินทรทัศน์ และ พรทิพย์ เย็นจะบก
การสื่อสาร
ชีวิตเป็นเรื่องของการเรียนรู้และสิ่งหนึ่งที่สาคัญและต้องมีการเรียนรู้คือ
ความสัมพันธ์ หรือ มนุษย์สัมพันธ์ เพราะทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้มักเป็นบทเรียน
ของกันและกัน ถ้าไม่ใส่ใจเรียนรู้ซึ่งกันและกันก็จะอยู่ในโลกนี้ด้วยความ
ยากลาบาก เพราะชีวิตจะมีคุณค่าและรู้สึกมีความสุขเมื่อได้แสดงออกอย่างที่
รู้สึก มีโอกาสเรียนรู้เรื่องราวและสิ่งใหม่ๆตามที่เราต้องการ
ดังนั้นความสาเร็จของมนุษย์ในการดารงชีวิตทั่วไปจึงมักมีข้อกาหนดไว้
อย่างกว้างๆว่า เราจะต้องเข้ากับคนที่เราติดต่อด้วยให้ได้และต้องเข้าให้ได้ดี ด้วย
การเรียนรู้ที่จะสร้างความสัมพันธ์ร่วมกัน โดยอาศัยวิธีการสื่อสารและหลัก
จิตวิทยา ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์โดยทั่วไปมักถูกมองว่าเป็นเรื่องของศิลปะ
(Arts) มากกว่าศาสตร์(Science) ซึ่งก็หมายความว่า การเรียนรู้เกี่ยวกับ
ความสัมพันธ์ของบุคคลแต่เพียงอย่างเดียว โดยขาดศาสตร์ของการสื่อสาร ย่อม
ขาดศิลปะในการนาไปปรับใช้ในชีวิตจริงให้ประสบความสาเร็จได้
ความหมายของการสื่อสาร
ได้มีนักวิชาการหลายท่านให้ความหมายของการสื่อสารไว้ในหลายแง่มุม
เช่น
จอร์จ เอ มิลเลอร์: เป็นการถ่ายทอดข่าวสารจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง
จอร์จ เกิร์บเนอร์: เป็นการแสดงกริยาสัมพันธ์ทางสังคมโดยใช้สัญลักษณ์
และระบบสาร
3. สื่อประชาสัมพันธ์
ได้แก่ เรื่องราวที่เป็นเนื้อหา สาระ รูปภาพ สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมาย
อาจจะเป็นสื่อฯ ซึ่งเป็นสื่อที่สามารถสื่อสารความเข้าใจได้ การเลือกใช้สื่อในการ
ประชาสัมพันธ์มีความสาคัญ ถ้าเป็นบุคคลภายในอาจใช้โทรทัศน์วงจรปิด เสียง
ตามสาย ประกาศข่าว จดหมายข่าว ถ้าเป็นประชาชนทั่วไป สื่อประชาสัมพันธ์
จะต้องเผยแพร่ข้อมูลได้ในวงกว้าง เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์
4. กลุ่มประชาชนเป้ าหมายในการประชาสัมพันธ์
ได้แก่ กลุ่มบุคคลหรือประชาชนที่เป็นเป้ าหมายในการสื่อสาร
ประชาสัมพันธ์ครั้งนั้น ๆ ดังนี้
4.1 กลุ่มประชาชนภายใน หมายถึง กลุ่มบุคลากร เจ้าหน้าที่
พนักงาน ขององค์กร สถาบันหรือหน่วยงาน
4.2 กลุ่มประชาชนภายนอก หมายถึง กลุ่มบุคคลที่อยู่ภายนอก
องค์กร สถาบันหรือหน่วยงาน อันได้แก่ กลุ่มประชาชนที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน
องค์การหรือสถาบันโดยตรง กลุ่มประชาชนในท้องถิ่น และกลุ่มประชาชนทั่วไป
การประชาสัมพันธ์
การประชาสัมพันธ์ หมายถึง การสื่อสารความคิดเห็น ข่าวสาร ข้อเท็จจริง
ต่าง ๆ ไปสู่กลุ่มประชาชน เป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดี
ระหว่างหน่วยงาน องค์การ สถาบันกับกลุ่ม ประชาชนเป้ าหมายและประชาชนที่
เกี่ยวข้อง เพื่อหวังผลในความร่วมมือ สนับสนุนจากประชาชน รวมทั้งมีส่วนช่วย
เสริมสร้างภาพลักษณ์ ที่ดีให้แก่หน่วยงาน องค์การ สถาบันด้วย ทาให้ประชาชน
เกิดความนิยม เลื่อมใส ศรัทธาต่อหน่วยงาน ตลอดจนค้นหาและกาจัดแหล่ง
เข้าใจผิด ช่วยลบล้างปัญหา เพื่อสร้างความสาเร็จในการดาเนินงานของ
หน่วยงานนั้น
องค์ประกอบของการประชาสัมพันธ์
ถ้าหากพิจารณาจากกระบวนการสื่อสารเพื่อการประชาสัมพันธ์แล้วก็
สามารถจาแนกองค์ประกอบ สาคัญของการประชาสัมพันธ์ออกเป็น 4 ประการ
คือ
1. องค์กร สถาบันหรือหน่วยงาน
ได้แก่ กิจการที่บุคคลหรือคณะบุคคลได้จัดทาขึ้นเป็นแหล่งข่าว
แหล่งข้อมูลในการเผยแพร่ข้อมูลต่าง ๆ โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะดาเนินการใด ๆ
ให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดีกิจการเหล่านี้อาจจะเป็นกิจการของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ
องค์การสาธารณกุศล และธุรกิจเอกชน เช่น รัฐบาล กระทรวง ทบวง กรม หน่วย
ราชการหรือหน่วยรัฐวิสาหกิจต่าง ๆ มูลนิธิ บริษัทห้างร้าน ธนาคารพาณิชย์ เป็น
ต้น
2. ข่าวสารประชาสัมพันธ์
เป็นข้อมูลข่าวสารที่องค์กร สถาบันหรือหน่วยงานต้องการเผยแพร่ได้แก่
วิลเบอร์ ชแรมส์: เป็นการมีความเข้าใจร่วมกันต่อเครื่องหมายที่แสดง
ข่าวสาร
ซึ่งสามารถสรุปให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารจากบุคคล
ฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่าผู้ส่งสารไปยังยังบุคคลอีกฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่าผู้รับสารโดยผ่าน
ช่องทางในการสื่อสารโดยมีองค์ประกอบที่สาคัญคือ ผู้ส่งสาร(Sender)
สาร(M e s s a g e ) ช่องทาง
(Channel) และตัว ผู้รับสาร
(Reciever) ซึ่งมัก เรียกกันว่า
SMCR
วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร
การสื่อสารในชีวิตของแต่ละบุคคลนั้นล้วนมีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน
ออกไปและส่งผลต่อการ ดาเนินชีวิตได้คือ
ทาให้ไม่รู้สึกโดดเดี่ยว ทา ให้ทราบการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น สร้าง
ความสัมพันธ์ทางสังคม ทาให้เกิดการ
ประเภทของการสื่อสาร
การสื่อสารภายในบุคคล(Intrapersonal Communication)
การคิดหรือจินตนาการกับตัวเองเป็นการคิดไตร่ตรองกับตัวเองก่อนที่จะมีการ
สื่อสาร ประเภทอื่นต่อไป
1. การสื่อสารระหว่างบุคคล(Interpersonal Communica-
tion)
การที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปมาทาการสื่อสารกันอย่างมีวัตถุประสงค์ เช่น
การพูดคุย ปรึกษาหารือในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
2. การสื่อสารกลุ่มย่อย(Small-group) Communication)
การสื่อสารที่มีบุคคลร่วมกันทาการสื่อสารเพื่อทากิจกรรมร่วมกันแต่
จานวนไม่เกิน 25 คน เช่นชั้นเรียนขนาดเล็ก ห้องประชุมขนาดเล็ก
3. การสื่อสารกลุ่มใหญ่(Large-group Communication)
การสื่อสารระหว่างคนจานวนมาก เช่นภายในห้องประชุมใหญ่ โรง
ภาพยนตร์ โรงละครชั้นเรียนขนาดใหญ่
4. การสื่อสารในองค์กร(Organization Communication)
การสื่อสารระหว่างสมาชิกภายในหน่วยงานเพื่อปฏิบัติงานให้สาเร็จลุล่วง
เช่นการสื่อสารระหว่างเพื่อนร่วมงาน เจ้านายกับลูกน้อง
5. การสื่อสารมวลชน(Mass Communication)
การสื่อสารกับคนจานวนมากในหลายๆพื้นที่พร้อมกัน โดยใช้สื่อมวลชน
เช่น หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์เป็นสื่อกลาง เหมาะ
การประเมินผลการเรียนการสอนผ่านเว็บ
พอตเตอร์ (Potter, 19100) ได้เสนอวิธีการประเมินการเรียนการสอน
ผ่านเว็บ ซึ่งเป็นวิธีการที่ใช้ประเมินสาหรับการเรียนการสอนทางไกลผ่านเว็บของ
มหาวิทยาลัยจอร์จ เมสัน โดยแบ่งการประเมินออกเป็น 4 แบบ คือ
1.การประเมินด้วยเกรดในรายวิชา (Course Grades) เป็นการ
ประเมินที่ผู้สอนให้คะแนนกับผู้เรียน ซึ่งวิธีการนี้กาหนดองค์ประกอบของวิชา
ชัดเจน เช่น คะแนน 100 % แบ่งเป็นการสอบ 30% จากการมีส่วนร่วม 10% จาก
โครงงานกลุ่ม 30% และงานที่มอบหมายในแต่ละสัปดาห์อีก30% เป็นต้น
2.การประเมินรายคู่ (Peer Evaluation) เป็นการประเมินกันเอง
ระหว่างคู่ของผู้เรียนที่เลือกจับคู่กันในการเรียนทางไกลด้วยกันไม่เคยพบกันหรือ
ทางานด้วยกัน โดยให้ทาโครงงานร่วมกันให้ติดต่อกันผ่านเว็บและสร้างโครงงาน
เป็นเว็บที่เป็นแฟ้ มสะสมงาน โดยแสดงเว็บให้นักเรียนคนอื่นๆ ได้เห็น และจะ
ประเมินผลรายคู่จากโครงงาน
3.การประเมินต่อเนื่อง (Continuous Evaluation) เป็นการ
ประเมินที่ผู้เรียนต้องส่งงานทุกๆสัปดาห์ให้กับผู้สอนโดยผู้สอนจะให้ข้อเสนอแนะ
และตอบกลับในทันที ถ้ามีสิ่งที่ผิดพลาดกับผู้เรียนก็จะแก้ไขและประเมิน
ตลอดเวลาในช่วงระยะเวลาของวิชา
4.การประเมินท้ายภาคเรียน (Final Course Evaluation) เป็น
การประเมินผลปกติของการสอนที่ผู้เรียนนาส่งสอน โดยการทาแบบสอบถาม
ส่งผ่านไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่องมืออื่นใด บนเว็บตามแต่จะกาหนด เป็น
การประเมินตามแบบการสอนปกติที่จะต้องตรวจสอบความก้าวหน้า และ
ผลสัมฤทธิ์การเรียนของผู้เรียน
ประโยชน์การเรียนการสอนผ่านเว็บ
ปรัชญนันท์ นิลสุข (2543) ได้กล่าวถึงคุณลักษณะสาคัญของเว็บซึ่งเอื้อ
ประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอน มีอยู่ 7 ประการ ได้แก่
1.การที่เว็บเปิดโอกาสให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ (Interactive) ระหว่าง
ผู้เรียนกับผู้สอนและผู้เรียนกับผู้เรียนหรือผู้เรียนกับเนื้อหาบทเรียน
2.การที่เว็บสามารถนาเสนอเนื้อหาในรูปแบบของสื่อประสม
(Multimedia)
3.การที่เว็บเป็นระบบเปิด (Open System) ซึ่งอนุญาตให้ผู้ใช้มีอิสระ
ในการเข้าถึงข้อมูลได้ทั่วโลก
4.การที่เว็บอุดมไปด้วยทรัพยากร เพื่อการสืบค้นออนไลน์ (Online
Search/Resource)
5.ความไม่มีข้อจากัดทางสถานที่และเวลาของการสอนบนเว็บ (Device,
Distance and Time Independent) ผู้เรียนที่มีคอมพิวเตอร์ใน
ระบบใดก็ได้ ซึ่งต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ตจะสามารถเข้าเรียนจากที่ใดก็ได้ในเวลาใด
ก็ได้
6.การที่เว็บอนุญาตให้ผู้เรียนเป็นผู้ควบคุม (Learner Controlled)
ผู้เรียนสามารถเรียนตามความพร้อมความถนัดและความสนใจของตน
7.การที่เว็บมีความสมบูรณ์ในตนเอง (Self- contained) ทาให้เรา
สามารถจัดกระบวนการเรียนการสอนทั้งหมดผ่านเว็บได้ การที่เว็บอนุญาตให้มี
การติดต่อสื่อสารทั้งแบบเวลาเดียว (Synchronous Communica-
tion) เช่น Chat และต่างเวลากัน (Asynchronous Communica-
tion) เช่น Web Board เป็นต้น
6. การสื่อสารระหว่างประเทศ(International Communica-
tion)
การสื่อสารระหว่างบุคคลที่มีความแตกต่างกันใน เชื้อชาติ ภาษา
วัฒนธรรม การเมืองและสังคม เช่นการสื่อสารทางการทูต การสื่อสารเจรจา
ต่อรองเพื่อ การทา
ธุรกิจ
เว็บไซต์ (Web site)
(กิดานันท์ มลิทอง,2542)
เว็บไซต์ถูกเรียกเป็นตาแหน่งที่อยู่ของผู้ที่มีเว็บเพจเป็นของตัวเองบน
ระบบอินเทอร์เน็ตซึ่งได้จากการลงทะเบียนกับผู้ให้บริการเช่าพื้นที่บนระบบ
อินเทอร์เน็ต เมื่อลงทะเบียนในชื่อที่ต้องการแล้วก็สามารถจัดทาเว็บเพจและส่งให้
ศูนย์บริการนาขึ้นไปไว้บนอินเทอร์เน็ตซึ่งถือว่ามีเว็บไซต์เป็นของตนเองแล้วและ
เว็บไซต์ก็คือแหล่งที่รวบรวมเว็บเพจจานวนมากมายหลายหน้าในเรื่องเดียวกันมา
รวมอยู่ด้วยกันแต่สิ่งหนึ่งในการเสนอเรื่องราวที่อยู่บนเว็บไซต์ที่แตกต่างไปจาก
โปรแกรมโทรทัศน์เนื้อหาในนิตยสารหรือหนังสือพิมพ์เนื่องจากการทางานบนเว็บ
จะไม่มีวันสิ้นสุดทั้งนี้เนื่องจากเราสามารถเปลี่ยนแปลงและเพิ่มสารสนเทศบน
เว็บไซต์ได้ตลอดเวลาและแต่ละเว็บเพจจะมีการเชื่อมโยงกันภายในเว็บไซต์หรือ
ไปยังเว็บไซต์ อื่นๆเพื่อให้
ผู้อ่านสามารถ อ่านได้ใน
เวลาอันรวดเร็ว
ความสามารถของตนอีกทั้งยังช่วยให้ผู้เรียนสามารถปรับแนวทางวิธีการหรือ
พฤติกรรมให้ถูกต้องได้ผู้เรียนที่เรียนผ่านเว็บสามารถได้รับผลย้อนกลับจากทั้ง
ผู้สอนเองหรือแม้กระทั่งจากผู้เรียนคนอื่นๆ ได้ทันทีทันใด แม้ว่าผู้เรียนแต่ละคน
จะไม่ได้นั่งเรียนในชั้นเรียนแบบเผชิญหน้ากันก็ตาม
5.ควรสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนที่ไม่มีขีดจากัด สาหรับบุคคลที่
ใฝ่หาความรู้ การเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการขยายโอกาสให้กับทุกๆคนที่สนใจ
ศึกษา เนื่องจากผู้เรียนไม่จาเป็นจะต้องเดินทางไปเรียน ที่ใดที่หนึ่ง ผู้ที่สนใจ
สามารถเรียนได้ด้วยตนเองในเวลาที่สะดวก จะเห็นได้ว่าการเรียนการสอนผ่าน
เว็บนี้มีคุณลักษณะที่ช่วยสนับสนุนหลักพื้นฐานการจัดการเรียนการสอนทั้ง5
ประการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การออกแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บ
ในการออกแบบและพัฒนาเว็บการเรียนการสอนผ่านให้มีประสิทธิภาพนั้น
มีนักการศึกษาหลายท่านให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับกระบวนการที่จะใช้เป็น
แนวทางในการออกแบบการเรียนการสอน ดังนี้
ดิลลอน (Dillon,1991) ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับขั้นตอนในการสร้าง
บทเรียนที่มีลักษณะเป็นสื่อหลายมิติ (Hypermedia) ซึ่งหลักการนี้สามารถ
นาไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบและพัฒนาเว็บเพื่อการเรียนการสอนแนวคิด
ดังกล่าวมีขั้นตอน ดังนี้
1.ศึกษาเกี่ยวกับผู้เรียนและเนื้อหาที่จะนามาพัฒนาเพื่อกาหนด
วัตถุประสงค์และหาแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียน
2.วางแผนเกี่ยวกับการจัดรูปแบบโครงสร้างของเนื้อหาศึกษา
ซึ่งผู้ที่เข้ามาใช้ก็จะมีสื่อให้บริการอย่างรูปแบบอย่างเช่น เป็นข้อความ เป็น
ภาพกราฟิก การสื่อสารระหว่างบุคคล และการทาภาพเคลื่อนไหวต่างๆ เป็นต้น
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ
เองเจลโล (Angelo, 1993 อ้างใน วิชุดา รัตนเพียร, 2542) ได้สรุป
หลักการพื้นฐานของการจัดการเรียนการสอนกับการเรียนการสอนผ่านเว็บ 5
ประการดังนี้คือ
1.ในการจัดการเรียนการสอนโดยทั่วไปแล้ว ควรส่งเสริมให้ผู้เรียนและ
ผู้สอนสามารถติดต่อ สื่อสารกันได้ตลอดเวลา การติดต่อระหว่างผู้เรียนและ
ผู้สอนมีส่วนสาคัญในการสร้างความกระตือรือร้นกับการเรียนการสอนโดยผู้สอน
สามารถให้ความช่วยเหลือผู้เรียนได้ตลอดเวลาในขณะกาลังศึกษาทั้งยังช่วย
เสริมสร้างความคิดและความเข้าใจ
2.การจัดการเรียนการสอนควรสนับสนุนให้มีการพัฒนาความร่วมมือ
ระหว่างผู้เรียน ความร่วมมือระหว่างกลุ่มผู้เรียนจะช่วยพัฒนาความคิดความ
เข้าใจได้ดีกว่าการทางานคนเดียวทั้งยังสร้างความสัมพันธ์เป็นทีมโดยการ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันเพื่อหาแนวทางที่ดีที่สุด
3.ควรสนับสนุนให้ผู้เรียนรู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง (A c t i v e
Learners) หลีกเลี่ยงการกากับให้ผู้สอนเป็นผู้ป้ อนข้อมูลหรือคาตอบผู้เรียน
ควรเป็นผู้ขวนขวายใฝ่หาข้อมูลองค์ความรู้ต่างๆ เองโดยการแนะนาของผู้สอน
เป็นที่ทราบดีอยู่แล้วว่าอินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งข้อมูลที่ใหญ่ที่สุดในโลก ดังนั้นการ
จัดการเรียนการสอนผ่านเว็บนี้ จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถหาข้อมูลได้ด้วยความ
สะดวกและรวดเร็ว ทั้งยังหาข้อมูลได้จากแหล่งข้อมูลทั่วโลกเป็นการสร้างความ
กระตือรือร้นในการใฝ่หาความรู้
4.การให้ผลย้อนกลับแก่ผู้เรียนโดยทันทีทันใดช่วยให้ผู้เรียนได้ทราบถึง
ประเภทของเว็บไซต์
แบ่งออกเป็ น 7 ประเภท ดังนี้
1. เว็บไซต์ส่วนตัว (Personal website) เป็นเว็บที่สร้างขึ้นเพื่อ
เผยแพร่ข้อมูลส่วนตัว เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับส่วนตัว การศึกษา การงาน ความสนใจ
เป็นต้น
2. เว็บไซต์เพื่อธุรกิจการค้า (Promotional website) เว็บไซต์นี้
มีจุดประสงค์ เพื่อการค้าขายสินค้า การโฆษณาสินค้า การส่งเสริมการขาย ใน
เว็บไซต์จะมีข้อมูลของสินค้า ราคาและการบริการต่างๆ ซึ่งในปัจจุบันตลาด
ประเภทนี้กาลังใช้กันมากขึ้น
3. เว็บไซต์ที่เสนอข่าวประจาวัน (Current website) เป็นเว็บที่
เสนอข้อมูลประเภทข่าว ซึ่งจะเปลี่ยนไปเป็นประจาวัน เช่น เว็บไซต์ของ
หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ เดลินิวส์ เป็นต้น
4. เว็บไซต์ส่งเสริมการบริการเป็นสื่อกลางของข้อมูล (Share Infor-
mation website) เป็นเว็บที่มีจุดประสงค์ที่จะใช้เป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูล
ตามกลุ่มสนใจ เช่น แบ่งตามอาชีพ ตามงานอดิเรก เป็นต้น
5. เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นเพื่อชักชวนหรือโฆษณาชวนเชื่อ (Persuasive
website) เป็นเว็บที่เชิญชวนหรือชักนาให้เห็นคล้อยตามในเรื่องที่ผู้สร้าง
ต้องการ
6. เว็บไซต์เพื่อการสอน (Instructional website) เป็นเว็บที่
สร้างขึ้นเป็นการสอนโดยเฉพาะเป็นรายวิชา (Course) อาจแยกย่อยเป็นหัว
เรื่องเรื่องย่อยๆ ก็ได้ สาหรับเว็บไซต์ประเภทนี้จะจากัดผู้ใช้เฉพาะราย
7. เว็บไซต์ที่จากัดเฉพาะสมาชิก (Registration website) เป็น
เว็บไซต์ที่บริการเฉพาะสมาชิกเท่านั้น ผู้ที่จะใช้ต้องลงทะเบียนตามราคาที่กาหนด
โดยบัตรเครดิต หรือผ่านธนาคาร ผู้ให้บริการจึงจะให้หมายเลขสมาชิกและ
รหัสผ่าน
สาหรับองค์ประกอบของเว็บไซต์จะเป็นปัจจัยหลักที่มีผลต่อเว็บไซต์ ๆ หนึ่ง
ในการที่จะประสบผลสาเร็จดังที่ตั้งวัตถุประสงค์ไว้หรือไม่ โดยทั่วไปประกอบด้วย
1. Domain Name :ชื่อและที่อยู่ของเว็บไซต์ในการเรียกข้อมูล
เว็บไซต์ของท่านมาแสดงผล เช่น www.yourcompany.com เป็นต้น
ปัจจุบันมักจดชื่อ domain name ให้เป็นชื่อที่สื่อถึงสินค้าหรือบริการหรือ
เป็นชื่อองค์กร และอาศัยการทาประชาสัมพันธ์ผ่าน Search Engine และ
Web Directory การเลือกใช้ชื่อเว็บไซต์ที่เหมาะสมก็มีส่วนในการทาให้
เว็บไซต์ของคุณประสบความสาเร็จเช่นกัน
2. Design & Development : การออกแบบและจัดทาเว็บไซต์
โดยทั่วไปแล้วสาหรับเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์องค์กรการออกแบบเว็บไซต์ เป็น
เพียงส่วนที่ทาหน้าที่นาเสนอข้อมูลขององค์กร หรือบริษัทให้แก่ผู้เยี่ยมชมได้อย่าง
การเรียนการสอนผ่านเว็บ
ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บ
พาร์สัน (Parson, 1997) ได้ให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่าน
เว็บว่า เป็นการสอนที่นาเอาสิ่งที่ต้องการส่งให้บางส่วนหรือทั้งหมดโดยอาศัยเว็บ
โดยเว็บสามารถกระทาได้ในหลากหลายรูปแบบและหลายขอบเขตที่เชื่อมโยงกัน
ทั้งการเชื่อมต่อบทเรียน วัสดุช่วยการเรียนรู้และการศึกษาทางไกล
ประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บ
พาร์สัน (Parson,1997) ได้แบ่งประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บ
ออกเป็น 3 ลักษณะคือ
1.เว็บช่วยสอนแบบรายวิชาอย่างเดียว (Stand - Alone
Courses) เป็นรายวิชาที่มีเครื่องมือและแหล่งที่เข้าไปถึงและเข้าหาได้โดย
ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตอย่างมากที่สุดถ้าไม่มีการสื่อสารก็สามารถที่จะไปผ่าน
ระบบคอมพิวเตอร์สื่อสารได้ ลักษณะของเว็บช่วยสอนแบบนี้มีลักษณะเป็นแบบ
วิทยาเขตมีนักศึกษาจานวนมากที่เข้ามาใช้จริงแต่จะมีการส่งข้อมูลจากรายวิชา
ทางไกล
2.เว็บช่วยสอนแบบเว็บสนับสนุนรายวิชา ( Web Supported
Courses) เป็นรายวิชาที่มีลักษณะเป็นรูปธรรมที่มีการพบปะระหว่างครูกับ
นักเรียนและมีแหล่งให้มาก เช่น การกาหนดงานที่ให้ทาบนเว็บ การกาหนดให้
อ่าน การสื่อสารผ่านระบบคอมพิวเตอร์ หรือการมีเว็บที่สามารถชี้ตาแหน่งของ
แหล่งบนพื้นที่ของเว็บไซต์โดยรวมกิจกรรมต่างๆ เอาไว้
3.เว็บช่วยสอนแบบศูนย์การศึกษา (Web Pedagogical
Resources) เป็นชนิดของเว็บไซต์ที่มีวัตถุดิบเครื่องมือ ซึ่งสามารถรวบรวม
รายวิชาขนาดใหญ่เข้าไว้ด้วยกันหรือเป็นแหล่งสนับสนุนกิจกรรมทางการศึกษา
3. ส่วนท้าย (Page Footer) จะอยู่บริเวณด้านล่างสุดของหน้าเว็บ
เพจ ส่วนมากใช้สาหรับลิงก์ข้อความสั้น ๆ เข้าใจง่าย หรือจะมีชื่อเจ้าของเว็บไซต์
อีเมลแอดเดรสของผู้ดูแลเว็บไซต์สาหรับติดต่อกับทางเว็บไซต์
แนวคิดในการออกแบบ
ดูจากเว็บไซต์อื่นเพื่อเป็นตัวอย่าง การดูจากเว็บไซต์อื่นบนอินเตอร์เน็ต
เพื่อศึกษาเป็นตัวอย่างนั้น นับเป็นวิธีการที่ง่ายที่สุด แต่ก็ควรนาไปประยุกต์ใช้ให้
เหมาะสมกับเนื้อหาและกลุ่มเป้ าหมายของเราด้วยศึกษาจากสื่อสิ่งพิมพ์ใน
รูปแบบต่าง ๆ สื่อสิ่งพิมพ์ในที่นี้ได้แก่ แมกกาซีน โปสเตอร์โฆษณา โบรชัวร์
หรือหนังสือบางเล่มที่มีรูปแบบและจุดดึงดูดความสนใจ สามารถนามา
ประยุกต์ใช้ในเว็บไซต์ของเราได้เช่นกัน
สะดวก
3. Content :เนื้อหาของเว็บไซต์ถือว่าเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดใน
องค์ประกอบของเว็บไซต์ เพราะคือสิ่งที่ผู้เยี่ยมชมค้นหาโดยปกติแล้วเราสามารถ
ใส่เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสินค้า หรือบริการขององค์กรของเราได้โดยละเอียด อีกทั้ง
จาต้องนาเสนออย่างชัดเจนอีกด้วย เช่น รูปภาพของสินค้า หรือสถานที่บริการ
เป็นต้น จึงจะทาให้ผู้เข้าเยี่ยมชมได้ประโยชน์จากการเข้าชมเว็บไซต์อย่างแท้จริง
อันจานามาซึ่งผลประโยชน์ทางธุรกิจในอนาคตได้
4.
Host- ing :
พื้นที่จัด วาง
และ ติดตั้ง
เว็บไซต์ เป็น
องค์ประกอบที่สาคัญมากไม่น้อยกว่าเนื้อหาของเว็บไซต์ (Content) เพราะ
การเลือกผู้ให้บริการโฮสติ้งที่ดีมีการซัพพอร์ตลูกค้าที่ดีและรวดเร็ว เซิร์ฟเวอร์มี
ความเสถียรภาพสูง สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่ที่ดูแลเซิร์ฟเวอร์ได้ตลอดเวลา คือ
การออกแบบเว็บไซต์
ออกแบบรูปร่างหน้าตาเว็บไซต์ โดยคานึงถึงความต้องการของผู้ใช้เป็น
หลัก เช่น การใช้กราฟิก ใช้สี จัดรูปแบบ ขนาดตัวอักษร ให้เหมาะสมกับ
เป้ าหมาย วัตถุประสงค์ และ ประเภทของเว็บไซต์ เราสามารถออกแบบเว็บไซต์
ตามความต้องการของลูกค้าได้อย่างไม่มีขีดจากัด
หลักการออกแบบเว็บไซต์ของเรา
- ออกแบบให้เรียบง่าย แต่ดูดีมีสไตล์ มีลักษณะเด่นเป็นที่น่าสนใจ
- ออกแบบให้มีรูปแบบเดียวกันในทุกๆ เว็บเพจที่อยู่ในเว็บไซต์เดียวกัน
- ออกแบบให้มีรูปแบบที่เหมาะสมกับประเภทของเว็บไซต์
- ออกแบบเนื้อหาที่มีประโยชน์ ทันสมัย ตรงกับความต้องการของผู้ใช้
- ออกแบบให้ใช้งานได้สะดวก ง่าย ไม่สับสน ใช้ได้กับทุกๆ คน
- ออกแบบให้มีชื่อเว็บไซต์ โลโก้ และ เมนูหลักทุกๆ เว็บเพจในตาแหน่ง
เดียวกัน
- ออกแบบให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งความเร็ว และ
ความถูกต้อง
ส่วนประกอบของหน้าเว็บไซต์
เราสามารถจาแนกส่วนประกอบของหน้าเว็บแบ่งเป็น 3 ส่วน ดังนี้
1. ส่วนหัว (Page Header) น่าจะอยู่บริเวณบนสุดของหน้าเว็บเพจ
เป็นส่วนที่แสดงชื่อเว็บไซต์ โลโก้ แบนเนอร์โฆษณาลิงก์สาหรับข้ามไปยังหน้าเว็บ
อื่น
2. ส่วนเนื้อหา (Page Body) จะอยู่บริเวณตอนกลางของหน้าเว็บเพจ
ซึ่งเป็นส่วนที่แสดงเนื้อหาภายในหน้าเว็บเพจนั้น โดยประกอบด้วยข้อความ
ข้อมูล ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น
เว็บเพจแต่ละส่วนไว้ด้วยกันตามความสัมพันธ์ของระบบงาน เพื่อให้ข้อมูล
เคลื่อนที่อย่างเป็นระบบจนผู้ใช้งานไม่รู้สึกสะดุดหรือข้ามขั้นตอนเมื่อเรียกใช้หน้า
เว็บนั้นโครงสร้างการนาเสนอเนื้อหาของเว็บมี 4 ชนิดได้แก่ Linear
Structrue, Hierarchical Structure, Grid Structure และ
Network Structure
4. การออกแบบโครงสร้างเว็บเพจ (Skeleton Plane) เป็นการ
จัดแบ่งพื้นที่บนหน้าเว็บเพื่อใช้วางองค์ประกอบส่วนต่างๆ และเริ่มต้นออกแบบ
ส่วนอินเตอร์เฟสกับผู้ใช้ โดยสร้างระบบนาทาง (Navigation System)
เพื่อเชื่อมโยงการทางานทุกส่วนเข้าไว้ด้วยกันโดยขั้นตอนนี้
ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย 3 กิจกรรม คือ
- การออกแบบส่วนอินเตอร์เฟส (Interface Design) เป็นการ
ออกแบบส่วนติดต่อระหว่างผู้ใช้กับเว็บไซต์เพื่อการนาเสนอ รับชมและใช้งาน
ข้อมูลบนเว็บนั้นด้วยการโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์การออกแบบอินเตอร์เฟสบน
เว็บไซต์ที่ดี มุ่งเน้นประสิทธิภาพหรือความสามารถในการใช้งานเว็บ(W e b
Usability)เป็นสาคัญ โดยจะต้องสามารถใช้งานได้ง่าย ใช้งานจริง และให้
ผลลัพธ์เป็นที่พอใจของผู้ใช้งาน
- การออกแบบระบบนาทาง (Navigation Design) เป็นการ
ออกแบบเส้นทางการเชื่อมโยงบนเว็บไซต์ เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถท่องเที่ยวไปใน
ไซต์ได้อย่างสมบูรณ์แบบและไม่หลงทาง โดยใช้เครื่องมือนาทางรูปแบบต่างๆ
เช่น รายการเมนูเชื่อม (Navigation Bar) ส่วนค้นหา (Search) หรือ
Drop-Down Menu เป็นต้น ซึ่งระบบที่ดีต้องช่วยเหลือผู้ใช้งานโดย
สามารถบอกตาแหน่งที่ผู้ใช้อยู่ในปัจจุบัน การเข้าถึงข้อมูลปลายทางข้อมูลใดที่
เคยผ่านการเข้าถึงแล้วและเส้นทางที่จะกลับไปยังตาแหน่งเดิมได้ (ศึกษา
การหลีกเลี่ยงในการออกแบบเว็บไซต์ของเรา
- ห ลี ก เ ลี่ ย ง ก า ร ใ ช้ รู ป แ บ บ ข น า ด สี
ของตัวอักษร ภาพเคลื่อนไหวหลากหลายในแต่ละเว็บเพจ
- ห ลี ก เ ลี่ ย ง ก า ร ใ ช้ โ ค ร ง ส ร้ า ง เ ว็ บ เ พ จ
ในแต่ละหน้าที่ไม่เหมือนกัน
- ห ลี ก เ ลี่ ย ง ก า ร ใ ช้ ข้ อ มู ล ที่ เ ก่ า ล้ า ส มั ย
ไม่มีการปรับปรุง และ ผู้ใช้ไม่ต้องการ
- ห ลี ก เ ลี่ ย ง ก า ร ใ ช้ ลู ก เ ล่ น เ ท ค โ น โ ล ยี
ใหม่ๆ ที่ผู้ใช้โดยทั่วไปไม่สามารถใช้งานได้
- ห ลี ก เ ลี่ ย ง ก า ร ใ ช้ ร ะ บ บ เ ฟ ร ม ที่ ท า ใ ห้
เกิดข้อผิดพลาดในการสั่งพิมพ์ การแสดงชื่อ URL เป็นต้น
- ห ลี ก เ ลี่ ย ง ก า ร ใ ช้ เ ม นู ที่ เ ป็ น รู ป ภ า พ ที่
ไม่สื่อความหมายควรใช้ตัวอักษรอธิบายประกอบ
- ห ลี ก เ ลี่ ย ง ก า ร ใ ช้ เ ว็ บ เ พ จ ที่ มี ค ว า ม
ยาวของหน้ามากๆเพราะจะทาให้แสดงผลช้า
การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์
คือ การจัดหมวดหมู่ และลาดับของเนื้อหา แล้วจัดทาเป็นแผนผัง
โครงสร้างเว็บไซต์ ซึ่งจะทาให้เรารู้ว่ามีเนื้อหาอะไรบ้างภายในเว็บไซต์ และแต่ละ
หน้าเว็บเพจนั้นมีการเชื่อมโยงกันอย่างไร
โครงสร้างเว็บไซต์ที่ดีจะช่วยให้ผู้ชมไม่สับสนและค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้
อย่างรวดเร็ว ไม่ควรเป็นลาดับที่ลึกหลายชั้นเกินไป เพราะผู้ใช้จะเบื่อเสียก่อน
กว่าจะค้นหาเจอหน้าที่ต้องการ
1. รวบรวมข้อมูล เนื้อหาที่จะนามาสร้างเว็บ แล้วนามาจัดหมวดหมู่
และลาดับเนื้อหาก่อนหลัง (ตัดส่วนที่ไม่จาเป็นออก) แล้ววางโครงสร้างเว็บไซต์
ในภาพรวมทั้งหมด
2. จัดทาแผนผังโครงสร้างการเชื่อมโยงไฟล์ เป็นแผนผังที่แสดง
โครงสร้างข้อมูล ลาดับชั้น และการเชื่อมโยงส่วนต่างๆ อย่างชัดเจน
3. ออกแบบหน้าแรกของเว็บไซต์ หรือที่เรียกว่า Home page
ขั้นตอนการออกแบบเว็บไซต์
ขั้น แรก
ออกแบบ โครงสร้าง
เว็บไซต์
การศึกษาหรือทาการสารวจจากผู้ใช้ที่เป็นกลุ่มเป้ าหมายเพื่อตอบคาถามว่า เมื่อ
ผู้ใช้เข้ามายังหน้าเว็บแล้ว ต้องการได้รับข้อมูลใดกลับไปบ้าง มีฟังก์ชันหรือการ
ใช้งานรูปแบบใดบนเว็บไซต์ที่ผู้ใช้ต้องการและปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดจาก
การใช้งานเว็บที่ได้พบ
- องค์กร (Organization) เป็นการวิเคราะห์เป้ าหมายทางธุรกิจ
(Business Goal) ทั้งในส่วนเงินทุน บุคลากรและความเป็นไปได้ที่จะ
พัฒนาเว็บไซต์ขึ้นมาเพื่อใช้งาน รวมทั้งการเก็บรวบรวมข้อมูลขององค์กรที่
จาเป็นต่อการออกแบบหน้าเว็บเช่น โลโก้ (Logo) แบนเนอร์ (Banner)
หรือการโฆษณาประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ เหล่านี้จะช่วยให้ผู้ใช้จดจาเว็บไซต์ได้
ง่ายขึ้น
- คู่แข่ง (Competitor) เป็นการประเมินขอบเขตข้อมูล รูปแบบ
นาเสนอและเป้ าหมายทางการค้าของบริษัทคู่แข่ง เพื่อพิจารณาจุดอ่อนและจุด
แข็งของการออกแบบเว็บ แล้วนามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเว็บของบริษัท
ต่อไป
3. การจัดทาโครงการสร้างข้อมูล (Structrue Plane) ภายหลังจาก
ที่ได้กาหนดขอบเขตข้อมูลแล้วก็เริ่มต้นกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาและ
หน้าที่งานบนเว็บไซต์โดยขั้นตอนนี้ประกอบด้วยงาน 2 ลักษณะ ดังนี้
- การออกแบบส่วนปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ (Interaction Design)
เป็นการออกแบบหน้าเว็บสาหรับงานที่มีลักษณะโต้ตอบกับผู้ใช้ เช่น การสั่งซื้อ
สินค้า การกรอกแบบฟอร์ม และการรับส่ง E-mail เป็นต้น
- สถาปัตยกรรมข้อมูล (Information Architecture) เป็น
การกาหนดโครงสร้างของเนื้อหาทั้งหมดที่จะนาเสนอบนเว็บไซต์ โดยเชื่อมโยง
กระบวนการในการพัฒนาเว็บไซต์
สิ่งแรกที่นักพัฒนาเว็บควรทาเมื่อเริ่มต้นพัฒนาเว็บไซต์ คือ กาหนดกรอบ
กระบวนการทางาน (Framework) ที่แสดมยุ่งยากงให้เห็นถึงขั้นตอนของ
การพัฒนาเว็บ และรายละเอียดของงานในแต่ละขั้นตอน ตั้งแต่เริ่มต้น
กระบวนการจนกระทั่งสิ้นสุด เพราะกรอบการทางานจะช่วยป้ องกันความ
ผิดพลาด และความสับสนในระหว่างการพัฒนาเว็บโดยนักพัฒนาเว็บสามารถ
ย้อนกลับมาตรวจสอบงานตามกรอบการทางานในภายหลังได้
กรอบการทางานหรือแบบจาลองกระบวนการ (Process Model)
ที่ใช้เพื่อพัฒนาเว็บมีหลายรูปแบบ ยกตัวอย่าง เช่น แบบจาลองกระบวนการใน
รูปแบบ Agile Process (XP, Scrum, DSDM, FDD และ AM)
แบบจาลองลาดับเชิงเส้น (Linear Sequential Model : LSM) เป็น
ต้น สาหรับในที่นี้จะขอแบบจาลองกระบวนการที่พัฒนาขึ้นโดย J e s s e
James Garrett ซึ่งจาแนกกระบวนการพัฒนาเว็บออกเป็น 5 ขั้นตอน
ได้แก่ การสร้างกลยุทธ์ในการออกแบบ (Strategy Plane)
1. การกาหนดขอบเขตของข้อมูล (Scope Plane) การทาโครงสร้าง
ข้อมูล (Structrue Plane) การออกแบบโครงร่างเว็บเพจ (Skeleton
Plane) และการออกแบบรูปลักษณ์ของเว็บเพจ (Surface Plane)
2. การสร้างกลยุทธ์ในการออกแบบ (Strategy Plane) เป็นขั้นตอน
การวิเคราะห์ปัจจัยหลัก 3 ประการ คือ ผู้ใช้ องค์กร และคู่แข่ง เพื่อทราบ
เป้ าหมายหรือแนวทางในการพัฒนาเว็บไซต์โดยปัจจัยทั้ง 3 ประการ มี
รายละเอียดดังนี้
- ผู้ใช้ (User) เป็นการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ โดย
ขั้นที่สองออกแบบการเชื่อมโยงไฟล์
ขั้นที่สามออกแบบหน้าโฮมเพ็จ (Home Page)
กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์
กระบวนการในการสร้างและออกแบบเว็บมีกระบวนการพื้นฐานอยู่ด้วย
กัน 5 ขั้นตอนคือ
1. การวางแผน (Planning) เป็นขั้นตอนที่ผู้สร้างเว็บจะต้องรวบรวม
ข้อมูลที่ต้องการจะนามาสร้างเว็บ กาหนดวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้ าหมาย
จากนั้นกาหนดขอบเขตและความต้องการของเว็บว่าจะต้องมีอะไรบ้าง เช่น
ขนาดของหน้าจอภาพ บราวเซอร์ที่จะใช้ ฯลฯ องค์ประกอบและเครื่องมือที่
จะต้องใช้ ต้องการมีกระดานข่าว ห้องสนทนา ฯลฯ รวมถึงขั้นตอนและ
กระบวนการในการบารุงรักษาอย่างเป็นระบบการวางแผนเบื้องต้นของการสร้าง
เว็บสาหรับ Dreamweaver คือ
- ก า ห น ด พื้ น ที่ จั ด เ ก็ บ เ ว็ บ ใ น เ ค รื่ อ ง
คอมพิวเตอร์
- ก า ห น ด พื้ น ที่ ติ ด ตั้ ง เ ว็ บ เ มื่ อ ส ร้ า ง
เสร็จ
2. การออกแบบ (Design) เป็นขั้นตอนที่นาข้อมูลและแผนที่วางไว้ไป
ปฏิบัติ โดยการลงมือปฏิบัติโดยจัดพิมพ์เนื้อหา กาหนดการเชื่อมโยง และ
คุณลักษณะอื่นที่ต้องใช้ในเว็บ การออกแบบก็จะเน้นที่การจัดหน้าจอของเว็บให้
สอดคล้องกันและระมัดระวังปัญหาต่าง ๆ ในการออกแบบ
- ก า ร เ ลื อ ก เ นื้ อ ห า เ ป็ น ส่ ว น ส า คั ญ
ของการเริ่มต้นสร้างเว็บเพจ ผู้เยี่ยมชนแต่ละกลุ่มจะค้นหาข้อมูลที่แตกต่างกัน
เว็บเพจแต่ละหน้าจะสนองตอบต่อผู้ชมไม่เหมือนกัน การเลือกเนื้อหาที่ดีเนื้อหา
น่าสนใจและใหม่เสมอจะทาให้ผู้ชมกลับมาเยี่ยมใหม่อีกครั้ง การใส่ข้อมูล
ปริมาณมากเกินความจาเป็นจะทาให้เว็บเพจดูหนาแน่น ผู้ชมอึดอัด ไม่ดึงดูด
ความสนใจ
3. การพัฒนา (Development) เป็นขั้นตอนที่ต่อเนื่องจากการ
ออกแบบและการสร้าง โดยเน้นไปที่การตกแต่งและเสริมเครื่องมือต่าง ๆ สาหรับ
เว็บ เช่น การกาหนดสี ภาพ การใช้ Flash ช่วยให้เว็บเร้าความสนใจ และ
เพิ่มเติมเทคนิคต่าง ๆ ของโปรแกรมสนับสนุนการสร้างเว็บ
4. การติดตั้ง (Publishing) เป็นขั้นตอนที่จะนาเอาเว็บที่ได้สร้างขึ้น
เข้าไปติดตั้งในเว็บSever เพื่อให้แสดงผลได้ในระบบอินเทอร์เน็ต หรือจะ
เรียกว่า การอับโหลด (Up load) ซึ่งเป็นขั้นตอนที่จะต้องดาเนินการอยู่เสมอ
เมื่อสร้างเว็บเสร็จ
5. การบารุงรักษา (Maintenance) เป็นขั้นตอนประเมินผลและ
ติดตามผลการติดตั้งเว็บไซต์ว่ามีข้อขัดข้องหรือต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเว็บ
เพิ่มเติมให้ทันสมัยอยู่เสมอ อาจจะเรียกได้ว่าขั้นตอนการอัพเดท (Update)

More Related Content

Similar to Ced9 การออกแบบเว็บไซต์

Social Media in business practice
Social Media in business practiceSocial Media in business practice
Social Media in business practicePatchara Kerdsiri
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct mediapawineeyooin
 
Customer from role models การมุ่งเน้นลูกค้า
Customer from role models การมุ่งเน้นลูกค้าCustomer from role models การมุ่งเน้นลูกค้า
Customer from role models การมุ่งเน้นลูกค้าmaruay songtanin
 
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman clothe...
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman  clothe...Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman  clothe...
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman clothe...LoRy7
 
Social network, Social networking,Social network marketing
Social network, Social networking,Social network marketing  Social network, Social networking,Social network marketing
Social network, Social networking,Social network marketing social network marketing
 

Similar to Ced9 การออกแบบเว็บไซต์ (16)

Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5
 
Social Media in business practice
Social Media in business practiceSocial Media in business practice
Social Media in business practice
 
บทที่ 2 ทวีชัย
บทที่ 2 ทวีชัยบทที่ 2 ทวีชัย
บทที่ 2 ทวีชัย
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct media
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
ประชาสัมพันธ์111
ประชาสัมพันธ์111ประชาสัมพันธ์111
ประชาสัมพันธ์111
 
Group9
Group9Group9
Group9
 
Customer from role models การมุ่งเน้นลูกค้า
Customer from role models การมุ่งเน้นลูกค้าCustomer from role models การมุ่งเน้นลูกค้า
Customer from role models การมุ่งเน้นลูกค้า
 
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman clothe...
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman  clothe...Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman  clothe...
Behavioral style and factors in on line purchasing of plus-size woman clothe...
 
Social network, Social networking,Social network marketing
Social network, Social networking,Social network marketing  Social network, Social networking,Social network marketing
Social network, Social networking,Social network marketing
 

More from Ta'May Pimkanok

ความรู้การออกแบบเว็บไซต์1
ความรู้การออกแบบเว็บไซต์1ความรู้การออกแบบเว็บไซต์1
ความรู้การออกแบบเว็บไซต์1Ta'May Pimkanok
 
ความรู้การออกแบบเว็บไซต์
ความรู้การออกแบบเว็บไซต์ความรู้การออกแบบเว็บไซต์
ความรู้การออกแบบเว็บไซต์Ta'May Pimkanok
 
เว็บไซต์
เว็บไซต์เว็บไซต์
เว็บไซต์Ta'May Pimkanok
 
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์Ta'May Pimkanok
 
การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์Ta'May Pimkanok
 
วิเคราะห์เว็บไซต์
วิเคราะห์เว็บไซต์วิเคราะห์เว็บไซต์
วิเคราะห์เว็บไซต์Ta'May Pimkanok
 
การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์Ta'May Pimkanok
 

More from Ta'May Pimkanok (7)

ความรู้การออกแบบเว็บไซต์1
ความรู้การออกแบบเว็บไซต์1ความรู้การออกแบบเว็บไซต์1
ความรู้การออกแบบเว็บไซต์1
 
ความรู้การออกแบบเว็บไซต์
ความรู้การออกแบบเว็บไซต์ความรู้การออกแบบเว็บไซต์
ความรู้การออกแบบเว็บไซต์
 
เว็บไซต์
เว็บไซต์เว็บไซต์
เว็บไซต์
 
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
 
การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์
 
วิเคราะห์เว็บไซต์
วิเคราะห์เว็บไซต์วิเคราะห์เว็บไซต์
วิเคราะห์เว็บไซต์
 
การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์
 

Ced9 การออกแบบเว็บไซต์

  • 1.
  • 2. รายชื่อผู้จัดทา นางสาววนิดาคาผา รหัส533410080323 นางสาวศิริพรพรมจารี รหัส533410080326 นางสาวอังสุมา ภาระจ่ารหัส533410080333 นายภัทร เรืองชาญรหัส533410080350 ปี 4 หมู่ 3 สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 การโปรโมทเว็บไซต์ กรอบเกียรติ สระอุบล. (2554) การโปรโมทเว็บไซต์ที่หน้าเว็บเพจควรใส่คีย์เวิร์ดไว้และเพื่อใช้ชื่อเว็บไซต์ ของเราเข้าไปอยู่ในสารระบบและเป็นที่รู้จักมากควรกรอกข้อมูลและชื่อเว็บไซต์ เข้าไปที่เว็บไซต์ค้นหาหรือ Search Engine เช่น http://www.google.com/addur/ http://search.yahoo.com/info/submit.html http://www.addme.com/ แต่ละแห่งจะมีหลักการคล้ายกันคือ กรอกรายละเอียดเกี่ยวกับเว็บไซต์ สาหรับตัวอย่างต่อไปนี้แสดงการกรอกชื่อเว็บเข้าไปที่ Google 1. เปิดเว็บ (หรือเว็บอื่นๆก็หาคลิกลิงค์ที่ให้กรอก submit URL เช่น suggest site, submit ฯลฯ) 2. กรอกรายละเอียดต่างๆเข้าในแบบฟอร์ม เช่น ชื่อเว็บและรายละเอียด เกี่ยวกับเว็บ เป็นต้น 3. พิมพ์รหัสอักขระให้เหมือนกับช่องด้านบน 4.คลิกปุ่มส่งข้อมูล
  • 3. การประเมินเว็บไซด์ การออกแบบและพัฒนาเว็บได้เพิ่มขึ้นโดยลาดับและนับวันจะยิ่งทวี จานวนขึ้น ในปัจจุบันมีเว็บเพจออนไลน์ในระบบอินเทอร์เน็ตนับร้อย ๆ ล้านเว็บ แต่มีคาถามสาคัญที่ต้องมาหาคาตอบก็คือ เว็บแบบไหนที่มีคุณภาพดี เว็บแบบ ใดจึงจะถือว่าเป็นเว็บที่มีคุณค่า และเหมาะสมสาหรับนามาใช้ประโยชน์ เป็น เรื่องที่ต้องตอบคาถามกันอยู่เสมอและยังไม่มีคาตอบที่ชัดเจน เมื่อพิจารณาแบบ ประเมินเว็บเพจของ ดร.แนนซี อีเวอร์ฮาร์ท (Everhart, 1996) ภาควิชา บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น รัฐนิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา ซึ่งกาหนดระดับการให้คะแนนเอาไว้อย่างน่าสนใจและน่าจะนามา ขยายความ เพื่อประโยชน์ในการประเมินคุณภาพของเว็บสาหรับนักออกแบบ และพัฒนาเว็บ รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดสารสนเทศผ่านระบบอินเทอร์เน็ต จะได้มีแนวทางในการตรวจสอบและประเมินคุณภาพที่สามารถอธิบายเหตุผลได้ โดยแนวคิดของอีเวอร์ฮาร์ท จะมีด้วยกัน 9 ด้านคือ 1. ความทันสมัย (Currency) 2. เนื้อหาและข้อมูล (Content and Information) 3. ความน่าเชื่อถือ (Authority) 4. การเชื่อมโยงข้อมูล (Navigation) 5. การปฏิบัติจริง (Experience) 6. ความเป็นมัลติมีเดีย (Multimedia) 7. การให้ข้อมูล (treatment)
  • 4. หลักและทฤษฏีการสื่อสาร กมลรัฐ อินทรทัศน์ และ พรทิพย์ เย็นจะบก การสื่อสาร ชีวิตเป็นเรื่องของการเรียนรู้และสิ่งหนึ่งที่สาคัญและต้องมีการเรียนรู้คือ ความสัมพันธ์ หรือ มนุษย์สัมพันธ์ เพราะทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้มักเป็นบทเรียน ของกันและกัน ถ้าไม่ใส่ใจเรียนรู้ซึ่งกันและกันก็จะอยู่ในโลกนี้ด้วยความ ยากลาบาก เพราะชีวิตจะมีคุณค่าและรู้สึกมีความสุขเมื่อได้แสดงออกอย่างที่ รู้สึก มีโอกาสเรียนรู้เรื่องราวและสิ่งใหม่ๆตามที่เราต้องการ ดังนั้นความสาเร็จของมนุษย์ในการดารงชีวิตทั่วไปจึงมักมีข้อกาหนดไว้ อย่างกว้างๆว่า เราจะต้องเข้ากับคนที่เราติดต่อด้วยให้ได้และต้องเข้าให้ได้ดี ด้วย การเรียนรู้ที่จะสร้างความสัมพันธ์ร่วมกัน โดยอาศัยวิธีการสื่อสารและหลัก จิตวิทยา ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์โดยทั่วไปมักถูกมองว่าเป็นเรื่องของศิลปะ (Arts) มากกว่าศาสตร์(Science) ซึ่งก็หมายความว่า การเรียนรู้เกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ของบุคคลแต่เพียงอย่างเดียว โดยขาดศาสตร์ของการสื่อสาร ย่อม ขาดศิลปะในการนาไปปรับใช้ในชีวิตจริงให้ประสบความสาเร็จได้ ความหมายของการสื่อสาร ได้มีนักวิชาการหลายท่านให้ความหมายของการสื่อสารไว้ในหลายแง่มุม เช่น จอร์จ เอ มิลเลอร์: เป็นการถ่ายทอดข่าวสารจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง จอร์จ เกิร์บเนอร์: เป็นการแสดงกริยาสัมพันธ์ทางสังคมโดยใช้สัญลักษณ์ และระบบสาร 3. สื่อประชาสัมพันธ์ ได้แก่ เรื่องราวที่เป็นเนื้อหา สาระ รูปภาพ สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมาย อาจจะเป็นสื่อฯ ซึ่งเป็นสื่อที่สามารถสื่อสารความเข้าใจได้ การเลือกใช้สื่อในการ ประชาสัมพันธ์มีความสาคัญ ถ้าเป็นบุคคลภายในอาจใช้โทรทัศน์วงจรปิด เสียง ตามสาย ประกาศข่าว จดหมายข่าว ถ้าเป็นประชาชนทั่วไป สื่อประชาสัมพันธ์ จะต้องเผยแพร่ข้อมูลได้ในวงกว้าง เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ 4. กลุ่มประชาชนเป้ าหมายในการประชาสัมพันธ์ ได้แก่ กลุ่มบุคคลหรือประชาชนที่เป็นเป้ าหมายในการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ครั้งนั้น ๆ ดังนี้ 4.1 กลุ่มประชาชนภายใน หมายถึง กลุ่มบุคลากร เจ้าหน้าที่ พนักงาน ขององค์กร สถาบันหรือหน่วยงาน 4.2 กลุ่มประชาชนภายนอก หมายถึง กลุ่มบุคคลที่อยู่ภายนอก องค์กร สถาบันหรือหน่วยงาน อันได้แก่ กลุ่มประชาชนที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน องค์การหรือสถาบันโดยตรง กลุ่มประชาชนในท้องถิ่น และกลุ่มประชาชนทั่วไป
  • 5. การประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์ หมายถึง การสื่อสารความคิดเห็น ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ต่าง ๆ ไปสู่กลุ่มประชาชน เป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดี ระหว่างหน่วยงาน องค์การ สถาบันกับกลุ่ม ประชาชนเป้ าหมายและประชาชนที่ เกี่ยวข้อง เพื่อหวังผลในความร่วมมือ สนับสนุนจากประชาชน รวมทั้งมีส่วนช่วย เสริมสร้างภาพลักษณ์ ที่ดีให้แก่หน่วยงาน องค์การ สถาบันด้วย ทาให้ประชาชน เกิดความนิยม เลื่อมใส ศรัทธาต่อหน่วยงาน ตลอดจนค้นหาและกาจัดแหล่ง เข้าใจผิด ช่วยลบล้างปัญหา เพื่อสร้างความสาเร็จในการดาเนินงานของ หน่วยงานนั้น องค์ประกอบของการประชาสัมพันธ์ ถ้าหากพิจารณาจากกระบวนการสื่อสารเพื่อการประชาสัมพันธ์แล้วก็ สามารถจาแนกองค์ประกอบ สาคัญของการประชาสัมพันธ์ออกเป็น 4 ประการ คือ 1. องค์กร สถาบันหรือหน่วยงาน ได้แก่ กิจการที่บุคคลหรือคณะบุคคลได้จัดทาขึ้นเป็นแหล่งข่าว แหล่งข้อมูลในการเผยแพร่ข้อมูลต่าง ๆ โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะดาเนินการใด ๆ ให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดีกิจการเหล่านี้อาจจะเป็นกิจการของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ องค์การสาธารณกุศล และธุรกิจเอกชน เช่น รัฐบาล กระทรวง ทบวง กรม หน่วย ราชการหรือหน่วยรัฐวิสาหกิจต่าง ๆ มูลนิธิ บริษัทห้างร้าน ธนาคารพาณิชย์ เป็น ต้น 2. ข่าวสารประชาสัมพันธ์ เป็นข้อมูลข่าวสารที่องค์กร สถาบันหรือหน่วยงานต้องการเผยแพร่ได้แก่ วิลเบอร์ ชแรมส์: เป็นการมีความเข้าใจร่วมกันต่อเครื่องหมายที่แสดง ข่าวสาร ซึ่งสามารถสรุปให้เข้าใจได้ง่ายๆคือ การถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารจากบุคคล ฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่าผู้ส่งสารไปยังยังบุคคลอีกฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่าผู้รับสารโดยผ่าน ช่องทางในการสื่อสารโดยมีองค์ประกอบที่สาคัญคือ ผู้ส่งสาร(Sender) สาร(M e s s a g e ) ช่องทาง (Channel) และตัว ผู้รับสาร (Reciever) ซึ่งมัก เรียกกันว่า SMCR วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร การสื่อสารในชีวิตของแต่ละบุคคลนั้นล้วนมีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน ออกไปและส่งผลต่อการ ดาเนินชีวิตได้คือ ทาให้ไม่รู้สึกโดดเดี่ยว ทา ให้ทราบการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น สร้าง ความสัมพันธ์ทางสังคม ทาให้เกิดการ
  • 6. ประเภทของการสื่อสาร การสื่อสารภายในบุคคล(Intrapersonal Communication) การคิดหรือจินตนาการกับตัวเองเป็นการคิดไตร่ตรองกับตัวเองก่อนที่จะมีการ สื่อสาร ประเภทอื่นต่อไป 1. การสื่อสารระหว่างบุคคล(Interpersonal Communica- tion) การที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปมาทาการสื่อสารกันอย่างมีวัตถุประสงค์ เช่น การพูดคุย ปรึกษาหารือในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง 2. การสื่อสารกลุ่มย่อย(Small-group) Communication) การสื่อสารที่มีบุคคลร่วมกันทาการสื่อสารเพื่อทากิจกรรมร่วมกันแต่ จานวนไม่เกิน 25 คน เช่นชั้นเรียนขนาดเล็ก ห้องประชุมขนาดเล็ก 3. การสื่อสารกลุ่มใหญ่(Large-group Communication) การสื่อสารระหว่างคนจานวนมาก เช่นภายในห้องประชุมใหญ่ โรง ภาพยนตร์ โรงละครชั้นเรียนขนาดใหญ่ 4. การสื่อสารในองค์กร(Organization Communication) การสื่อสารระหว่างสมาชิกภายในหน่วยงานเพื่อปฏิบัติงานให้สาเร็จลุล่วง เช่นการสื่อสารระหว่างเพื่อนร่วมงาน เจ้านายกับลูกน้อง 5. การสื่อสารมวลชน(Mass Communication) การสื่อสารกับคนจานวนมากในหลายๆพื้นที่พร้อมกัน โดยใช้สื่อมวลชน เช่น หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์เป็นสื่อกลาง เหมาะ การประเมินผลการเรียนการสอนผ่านเว็บ พอตเตอร์ (Potter, 19100) ได้เสนอวิธีการประเมินการเรียนการสอน ผ่านเว็บ ซึ่งเป็นวิธีการที่ใช้ประเมินสาหรับการเรียนการสอนทางไกลผ่านเว็บของ มหาวิทยาลัยจอร์จ เมสัน โดยแบ่งการประเมินออกเป็น 4 แบบ คือ 1.การประเมินด้วยเกรดในรายวิชา (Course Grades) เป็นการ ประเมินที่ผู้สอนให้คะแนนกับผู้เรียน ซึ่งวิธีการนี้กาหนดองค์ประกอบของวิชา ชัดเจน เช่น คะแนน 100 % แบ่งเป็นการสอบ 30% จากการมีส่วนร่วม 10% จาก โครงงานกลุ่ม 30% และงานที่มอบหมายในแต่ละสัปดาห์อีก30% เป็นต้น 2.การประเมินรายคู่ (Peer Evaluation) เป็นการประเมินกันเอง ระหว่างคู่ของผู้เรียนที่เลือกจับคู่กันในการเรียนทางไกลด้วยกันไม่เคยพบกันหรือ ทางานด้วยกัน โดยให้ทาโครงงานร่วมกันให้ติดต่อกันผ่านเว็บและสร้างโครงงาน เป็นเว็บที่เป็นแฟ้ มสะสมงาน โดยแสดงเว็บให้นักเรียนคนอื่นๆ ได้เห็น และจะ ประเมินผลรายคู่จากโครงงาน 3.การประเมินต่อเนื่อง (Continuous Evaluation) เป็นการ ประเมินที่ผู้เรียนต้องส่งงานทุกๆสัปดาห์ให้กับผู้สอนโดยผู้สอนจะให้ข้อเสนอแนะ และตอบกลับในทันที ถ้ามีสิ่งที่ผิดพลาดกับผู้เรียนก็จะแก้ไขและประเมิน ตลอดเวลาในช่วงระยะเวลาของวิชา 4.การประเมินท้ายภาคเรียน (Final Course Evaluation) เป็น การประเมินผลปกติของการสอนที่ผู้เรียนนาส่งสอน โดยการทาแบบสอบถาม ส่งผ่านไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่องมืออื่นใด บนเว็บตามแต่จะกาหนด เป็น การประเมินตามแบบการสอนปกติที่จะต้องตรวจสอบความก้าวหน้า และ ผลสัมฤทธิ์การเรียนของผู้เรียน
  • 7. ประโยชน์การเรียนการสอนผ่านเว็บ ปรัชญนันท์ นิลสุข (2543) ได้กล่าวถึงคุณลักษณะสาคัญของเว็บซึ่งเอื้อ ประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอน มีอยู่ 7 ประการ ได้แก่ 1.การที่เว็บเปิดโอกาสให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ (Interactive) ระหว่าง ผู้เรียนกับผู้สอนและผู้เรียนกับผู้เรียนหรือผู้เรียนกับเนื้อหาบทเรียน 2.การที่เว็บสามารถนาเสนอเนื้อหาในรูปแบบของสื่อประสม (Multimedia) 3.การที่เว็บเป็นระบบเปิด (Open System) ซึ่งอนุญาตให้ผู้ใช้มีอิสระ ในการเข้าถึงข้อมูลได้ทั่วโลก 4.การที่เว็บอุดมไปด้วยทรัพยากร เพื่อการสืบค้นออนไลน์ (Online Search/Resource) 5.ความไม่มีข้อจากัดทางสถานที่และเวลาของการสอนบนเว็บ (Device, Distance and Time Independent) ผู้เรียนที่มีคอมพิวเตอร์ใน ระบบใดก็ได้ ซึ่งต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ตจะสามารถเข้าเรียนจากที่ใดก็ได้ในเวลาใด ก็ได้ 6.การที่เว็บอนุญาตให้ผู้เรียนเป็นผู้ควบคุม (Learner Controlled) ผู้เรียนสามารถเรียนตามความพร้อมความถนัดและความสนใจของตน 7.การที่เว็บมีความสมบูรณ์ในตนเอง (Self- contained) ทาให้เรา สามารถจัดกระบวนการเรียนการสอนทั้งหมดผ่านเว็บได้ การที่เว็บอนุญาตให้มี การติดต่อสื่อสารทั้งแบบเวลาเดียว (Synchronous Communica- tion) เช่น Chat และต่างเวลากัน (Asynchronous Communica- tion) เช่น Web Board เป็นต้น 6. การสื่อสารระหว่างประเทศ(International Communica- tion) การสื่อสารระหว่างบุคคลที่มีความแตกต่างกันใน เชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรม การเมืองและสังคม เช่นการสื่อสารทางการทูต การสื่อสารเจรจา ต่อรองเพื่อ การทา ธุรกิจ
  • 8. เว็บไซต์ (Web site) (กิดานันท์ มลิทอง,2542) เว็บไซต์ถูกเรียกเป็นตาแหน่งที่อยู่ของผู้ที่มีเว็บเพจเป็นของตัวเองบน ระบบอินเทอร์เน็ตซึ่งได้จากการลงทะเบียนกับผู้ให้บริการเช่าพื้นที่บนระบบ อินเทอร์เน็ต เมื่อลงทะเบียนในชื่อที่ต้องการแล้วก็สามารถจัดทาเว็บเพจและส่งให้ ศูนย์บริการนาขึ้นไปไว้บนอินเทอร์เน็ตซึ่งถือว่ามีเว็บไซต์เป็นของตนเองแล้วและ เว็บไซต์ก็คือแหล่งที่รวบรวมเว็บเพจจานวนมากมายหลายหน้าในเรื่องเดียวกันมา รวมอยู่ด้วยกันแต่สิ่งหนึ่งในการเสนอเรื่องราวที่อยู่บนเว็บไซต์ที่แตกต่างไปจาก โปรแกรมโทรทัศน์เนื้อหาในนิตยสารหรือหนังสือพิมพ์เนื่องจากการทางานบนเว็บ จะไม่มีวันสิ้นสุดทั้งนี้เนื่องจากเราสามารถเปลี่ยนแปลงและเพิ่มสารสนเทศบน เว็บไซต์ได้ตลอดเวลาและแต่ละเว็บเพจจะมีการเชื่อมโยงกันภายในเว็บไซต์หรือ ไปยังเว็บไซต์ อื่นๆเพื่อให้ ผู้อ่านสามารถ อ่านได้ใน เวลาอันรวดเร็ว ความสามารถของตนอีกทั้งยังช่วยให้ผู้เรียนสามารถปรับแนวทางวิธีการหรือ พฤติกรรมให้ถูกต้องได้ผู้เรียนที่เรียนผ่านเว็บสามารถได้รับผลย้อนกลับจากทั้ง ผู้สอนเองหรือแม้กระทั่งจากผู้เรียนคนอื่นๆ ได้ทันทีทันใด แม้ว่าผู้เรียนแต่ละคน จะไม่ได้นั่งเรียนในชั้นเรียนแบบเผชิญหน้ากันก็ตาม 5.ควรสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนที่ไม่มีขีดจากัด สาหรับบุคคลที่ ใฝ่หาความรู้ การเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการขยายโอกาสให้กับทุกๆคนที่สนใจ ศึกษา เนื่องจากผู้เรียนไม่จาเป็นจะต้องเดินทางไปเรียน ที่ใดที่หนึ่ง ผู้ที่สนใจ สามารถเรียนได้ด้วยตนเองในเวลาที่สะดวก จะเห็นได้ว่าการเรียนการสอนผ่าน เว็บนี้มีคุณลักษณะที่ช่วยสนับสนุนหลักพื้นฐานการจัดการเรียนการสอนทั้ง5 ประการได้อย่างมีประสิทธิภาพ การออกแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บ ในการออกแบบและพัฒนาเว็บการเรียนการสอนผ่านให้มีประสิทธิภาพนั้น มีนักการศึกษาหลายท่านให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับกระบวนการที่จะใช้เป็น แนวทางในการออกแบบการเรียนการสอน ดังนี้ ดิลลอน (Dillon,1991) ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับขั้นตอนในการสร้าง บทเรียนที่มีลักษณะเป็นสื่อหลายมิติ (Hypermedia) ซึ่งหลักการนี้สามารถ นาไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบและพัฒนาเว็บเพื่อการเรียนการสอนแนวคิด ดังกล่าวมีขั้นตอน ดังนี้ 1.ศึกษาเกี่ยวกับผู้เรียนและเนื้อหาที่จะนามาพัฒนาเพื่อกาหนด วัตถุประสงค์และหาแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียน 2.วางแผนเกี่ยวกับการจัดรูปแบบโครงสร้างของเนื้อหาศึกษา
  • 9. ซึ่งผู้ที่เข้ามาใช้ก็จะมีสื่อให้บริการอย่างรูปแบบอย่างเช่น เป็นข้อความ เป็น ภาพกราฟิก การสื่อสารระหว่างบุคคล และการทาภาพเคลื่อนไหวต่างๆ เป็นต้น การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ เองเจลโล (Angelo, 1993 อ้างใน วิชุดา รัตนเพียร, 2542) ได้สรุป หลักการพื้นฐานของการจัดการเรียนการสอนกับการเรียนการสอนผ่านเว็บ 5 ประการดังนี้คือ 1.ในการจัดการเรียนการสอนโดยทั่วไปแล้ว ควรส่งเสริมให้ผู้เรียนและ ผู้สอนสามารถติดต่อ สื่อสารกันได้ตลอดเวลา การติดต่อระหว่างผู้เรียนและ ผู้สอนมีส่วนสาคัญในการสร้างความกระตือรือร้นกับการเรียนการสอนโดยผู้สอน สามารถให้ความช่วยเหลือผู้เรียนได้ตลอดเวลาในขณะกาลังศึกษาทั้งยังช่วย เสริมสร้างความคิดและความเข้าใจ 2.การจัดการเรียนการสอนควรสนับสนุนให้มีการพัฒนาความร่วมมือ ระหว่างผู้เรียน ความร่วมมือระหว่างกลุ่มผู้เรียนจะช่วยพัฒนาความคิดความ เข้าใจได้ดีกว่าการทางานคนเดียวทั้งยังสร้างความสัมพันธ์เป็นทีมโดยการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันเพื่อหาแนวทางที่ดีที่สุด 3.ควรสนับสนุนให้ผู้เรียนรู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง (A c t i v e Learners) หลีกเลี่ยงการกากับให้ผู้สอนเป็นผู้ป้ อนข้อมูลหรือคาตอบผู้เรียน ควรเป็นผู้ขวนขวายใฝ่หาข้อมูลองค์ความรู้ต่างๆ เองโดยการแนะนาของผู้สอน เป็นที่ทราบดีอยู่แล้วว่าอินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งข้อมูลที่ใหญ่ที่สุดในโลก ดังนั้นการ จัดการเรียนการสอนผ่านเว็บนี้ จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถหาข้อมูลได้ด้วยความ สะดวกและรวดเร็ว ทั้งยังหาข้อมูลได้จากแหล่งข้อมูลทั่วโลกเป็นการสร้างความ กระตือรือร้นในการใฝ่หาความรู้ 4.การให้ผลย้อนกลับแก่ผู้เรียนโดยทันทีทันใดช่วยให้ผู้เรียนได้ทราบถึง ประเภทของเว็บไซต์ แบ่งออกเป็ น 7 ประเภท ดังนี้ 1. เว็บไซต์ส่วนตัว (Personal website) เป็นเว็บที่สร้างขึ้นเพื่อ เผยแพร่ข้อมูลส่วนตัว เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับส่วนตัว การศึกษา การงาน ความสนใจ เป็นต้น 2. เว็บไซต์เพื่อธุรกิจการค้า (Promotional website) เว็บไซต์นี้ มีจุดประสงค์ เพื่อการค้าขายสินค้า การโฆษณาสินค้า การส่งเสริมการขาย ใน เว็บไซต์จะมีข้อมูลของสินค้า ราคาและการบริการต่างๆ ซึ่งในปัจจุบันตลาด ประเภทนี้กาลังใช้กันมากขึ้น 3. เว็บไซต์ที่เสนอข่าวประจาวัน (Current website) เป็นเว็บที่ เสนอข้อมูลประเภทข่าว ซึ่งจะเปลี่ยนไปเป็นประจาวัน เช่น เว็บไซต์ของ หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ เดลินิวส์ เป็นต้น 4. เว็บไซต์ส่งเสริมการบริการเป็นสื่อกลางของข้อมูล (Share Infor- mation website) เป็นเว็บที่มีจุดประสงค์ที่จะใช้เป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูล ตามกลุ่มสนใจ เช่น แบ่งตามอาชีพ ตามงานอดิเรก เป็นต้น 5. เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นเพื่อชักชวนหรือโฆษณาชวนเชื่อ (Persuasive website) เป็นเว็บที่เชิญชวนหรือชักนาให้เห็นคล้อยตามในเรื่องที่ผู้สร้าง ต้องการ
  • 10. 6. เว็บไซต์เพื่อการสอน (Instructional website) เป็นเว็บที่ สร้างขึ้นเป็นการสอนโดยเฉพาะเป็นรายวิชา (Course) อาจแยกย่อยเป็นหัว เรื่องเรื่องย่อยๆ ก็ได้ สาหรับเว็บไซต์ประเภทนี้จะจากัดผู้ใช้เฉพาะราย 7. เว็บไซต์ที่จากัดเฉพาะสมาชิก (Registration website) เป็น เว็บไซต์ที่บริการเฉพาะสมาชิกเท่านั้น ผู้ที่จะใช้ต้องลงทะเบียนตามราคาที่กาหนด โดยบัตรเครดิต หรือผ่านธนาคาร ผู้ให้บริการจึงจะให้หมายเลขสมาชิกและ รหัสผ่าน สาหรับองค์ประกอบของเว็บไซต์จะเป็นปัจจัยหลักที่มีผลต่อเว็บไซต์ ๆ หนึ่ง ในการที่จะประสบผลสาเร็จดังที่ตั้งวัตถุประสงค์ไว้หรือไม่ โดยทั่วไปประกอบด้วย 1. Domain Name :ชื่อและที่อยู่ของเว็บไซต์ในการเรียกข้อมูล เว็บไซต์ของท่านมาแสดงผล เช่น www.yourcompany.com เป็นต้น ปัจจุบันมักจดชื่อ domain name ให้เป็นชื่อที่สื่อถึงสินค้าหรือบริการหรือ เป็นชื่อองค์กร และอาศัยการทาประชาสัมพันธ์ผ่าน Search Engine และ Web Directory การเลือกใช้ชื่อเว็บไซต์ที่เหมาะสมก็มีส่วนในการทาให้ เว็บไซต์ของคุณประสบความสาเร็จเช่นกัน 2. Design & Development : การออกแบบและจัดทาเว็บไซต์ โดยทั่วไปแล้วสาหรับเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์องค์กรการออกแบบเว็บไซต์ เป็น เพียงส่วนที่ทาหน้าที่นาเสนอข้อมูลขององค์กร หรือบริษัทให้แก่ผู้เยี่ยมชมได้อย่าง การเรียนการสอนผ่านเว็บ ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บ พาร์สัน (Parson, 1997) ได้ให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่าน เว็บว่า เป็นการสอนที่นาเอาสิ่งที่ต้องการส่งให้บางส่วนหรือทั้งหมดโดยอาศัยเว็บ โดยเว็บสามารถกระทาได้ในหลากหลายรูปแบบและหลายขอบเขตที่เชื่อมโยงกัน ทั้งการเชื่อมต่อบทเรียน วัสดุช่วยการเรียนรู้และการศึกษาทางไกล ประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บ พาร์สัน (Parson,1997) ได้แบ่งประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บ ออกเป็น 3 ลักษณะคือ 1.เว็บช่วยสอนแบบรายวิชาอย่างเดียว (Stand - Alone Courses) เป็นรายวิชาที่มีเครื่องมือและแหล่งที่เข้าไปถึงและเข้าหาได้โดย ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตอย่างมากที่สุดถ้าไม่มีการสื่อสารก็สามารถที่จะไปผ่าน ระบบคอมพิวเตอร์สื่อสารได้ ลักษณะของเว็บช่วยสอนแบบนี้มีลักษณะเป็นแบบ วิทยาเขตมีนักศึกษาจานวนมากที่เข้ามาใช้จริงแต่จะมีการส่งข้อมูลจากรายวิชา ทางไกล 2.เว็บช่วยสอนแบบเว็บสนับสนุนรายวิชา ( Web Supported Courses) เป็นรายวิชาที่มีลักษณะเป็นรูปธรรมที่มีการพบปะระหว่างครูกับ นักเรียนและมีแหล่งให้มาก เช่น การกาหนดงานที่ให้ทาบนเว็บ การกาหนดให้ อ่าน การสื่อสารผ่านระบบคอมพิวเตอร์ หรือการมีเว็บที่สามารถชี้ตาแหน่งของ แหล่งบนพื้นที่ของเว็บไซต์โดยรวมกิจกรรมต่างๆ เอาไว้ 3.เว็บช่วยสอนแบบศูนย์การศึกษา (Web Pedagogical Resources) เป็นชนิดของเว็บไซต์ที่มีวัตถุดิบเครื่องมือ ซึ่งสามารถรวบรวม รายวิชาขนาดใหญ่เข้าไว้ด้วยกันหรือเป็นแหล่งสนับสนุนกิจกรรมทางการศึกษา
  • 11. 3. ส่วนท้าย (Page Footer) จะอยู่บริเวณด้านล่างสุดของหน้าเว็บ เพจ ส่วนมากใช้สาหรับลิงก์ข้อความสั้น ๆ เข้าใจง่าย หรือจะมีชื่อเจ้าของเว็บไซต์ อีเมลแอดเดรสของผู้ดูแลเว็บไซต์สาหรับติดต่อกับทางเว็บไซต์ แนวคิดในการออกแบบ ดูจากเว็บไซต์อื่นเพื่อเป็นตัวอย่าง การดูจากเว็บไซต์อื่นบนอินเตอร์เน็ต เพื่อศึกษาเป็นตัวอย่างนั้น นับเป็นวิธีการที่ง่ายที่สุด แต่ก็ควรนาไปประยุกต์ใช้ให้ เหมาะสมกับเนื้อหาและกลุ่มเป้ าหมายของเราด้วยศึกษาจากสื่อสิ่งพิมพ์ใน รูปแบบต่าง ๆ สื่อสิ่งพิมพ์ในที่นี้ได้แก่ แมกกาซีน โปสเตอร์โฆษณา โบรชัวร์ หรือหนังสือบางเล่มที่มีรูปแบบและจุดดึงดูดความสนใจ สามารถนามา ประยุกต์ใช้ในเว็บไซต์ของเราได้เช่นกัน สะดวก 3. Content :เนื้อหาของเว็บไซต์ถือว่าเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดใน องค์ประกอบของเว็บไซต์ เพราะคือสิ่งที่ผู้เยี่ยมชมค้นหาโดยปกติแล้วเราสามารถ ใส่เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสินค้า หรือบริการขององค์กรของเราได้โดยละเอียด อีกทั้ง จาต้องนาเสนออย่างชัดเจนอีกด้วย เช่น รูปภาพของสินค้า หรือสถานที่บริการ เป็นต้น จึงจะทาให้ผู้เข้าเยี่ยมชมได้ประโยชน์จากการเข้าชมเว็บไซต์อย่างแท้จริง อันจานามาซึ่งผลประโยชน์ทางธุรกิจในอนาคตได้ 4. Host- ing : พื้นที่จัด วาง และ ติดตั้ง เว็บไซต์ เป็น องค์ประกอบที่สาคัญมากไม่น้อยกว่าเนื้อหาของเว็บไซต์ (Content) เพราะ การเลือกผู้ให้บริการโฮสติ้งที่ดีมีการซัพพอร์ตลูกค้าที่ดีและรวดเร็ว เซิร์ฟเวอร์มี ความเสถียรภาพสูง สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่ที่ดูแลเซิร์ฟเวอร์ได้ตลอดเวลา คือ
  • 12. การออกแบบเว็บไซต์ ออกแบบรูปร่างหน้าตาเว็บไซต์ โดยคานึงถึงความต้องการของผู้ใช้เป็น หลัก เช่น การใช้กราฟิก ใช้สี จัดรูปแบบ ขนาดตัวอักษร ให้เหมาะสมกับ เป้ าหมาย วัตถุประสงค์ และ ประเภทของเว็บไซต์ เราสามารถออกแบบเว็บไซต์ ตามความต้องการของลูกค้าได้อย่างไม่มีขีดจากัด หลักการออกแบบเว็บไซต์ของเรา - ออกแบบให้เรียบง่าย แต่ดูดีมีสไตล์ มีลักษณะเด่นเป็นที่น่าสนใจ - ออกแบบให้มีรูปแบบเดียวกันในทุกๆ เว็บเพจที่อยู่ในเว็บไซต์เดียวกัน - ออกแบบให้มีรูปแบบที่เหมาะสมกับประเภทของเว็บไซต์ - ออกแบบเนื้อหาที่มีประโยชน์ ทันสมัย ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ - ออกแบบให้ใช้งานได้สะดวก ง่าย ไม่สับสน ใช้ได้กับทุกๆ คน - ออกแบบให้มีชื่อเว็บไซต์ โลโก้ และ เมนูหลักทุกๆ เว็บเพจในตาแหน่ง เดียวกัน - ออกแบบให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งความเร็ว และ ความถูกต้อง ส่วนประกอบของหน้าเว็บไซต์ เราสามารถจาแนกส่วนประกอบของหน้าเว็บแบ่งเป็น 3 ส่วน ดังนี้ 1. ส่วนหัว (Page Header) น่าจะอยู่บริเวณบนสุดของหน้าเว็บเพจ เป็นส่วนที่แสดงชื่อเว็บไซต์ โลโก้ แบนเนอร์โฆษณาลิงก์สาหรับข้ามไปยังหน้าเว็บ อื่น 2. ส่วนเนื้อหา (Page Body) จะอยู่บริเวณตอนกลางของหน้าเว็บเพจ ซึ่งเป็นส่วนที่แสดงเนื้อหาภายในหน้าเว็บเพจนั้น โดยประกอบด้วยข้อความ ข้อมูล ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น
  • 13. เว็บเพจแต่ละส่วนไว้ด้วยกันตามความสัมพันธ์ของระบบงาน เพื่อให้ข้อมูล เคลื่อนที่อย่างเป็นระบบจนผู้ใช้งานไม่รู้สึกสะดุดหรือข้ามขั้นตอนเมื่อเรียกใช้หน้า เว็บนั้นโครงสร้างการนาเสนอเนื้อหาของเว็บมี 4 ชนิดได้แก่ Linear Structrue, Hierarchical Structure, Grid Structure และ Network Structure 4. การออกแบบโครงสร้างเว็บเพจ (Skeleton Plane) เป็นการ จัดแบ่งพื้นที่บนหน้าเว็บเพื่อใช้วางองค์ประกอบส่วนต่างๆ และเริ่มต้นออกแบบ ส่วนอินเตอร์เฟสกับผู้ใช้ โดยสร้างระบบนาทาง (Navigation System) เพื่อเชื่อมโยงการทางานทุกส่วนเข้าไว้ด้วยกันโดยขั้นตอนนี้ ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย 3 กิจกรรม คือ - การออกแบบส่วนอินเตอร์เฟส (Interface Design) เป็นการ ออกแบบส่วนติดต่อระหว่างผู้ใช้กับเว็บไซต์เพื่อการนาเสนอ รับชมและใช้งาน ข้อมูลบนเว็บนั้นด้วยการโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์การออกแบบอินเตอร์เฟสบน เว็บไซต์ที่ดี มุ่งเน้นประสิทธิภาพหรือความสามารถในการใช้งานเว็บ(W e b Usability)เป็นสาคัญ โดยจะต้องสามารถใช้งานได้ง่าย ใช้งานจริง และให้ ผลลัพธ์เป็นที่พอใจของผู้ใช้งาน - การออกแบบระบบนาทาง (Navigation Design) เป็นการ ออกแบบเส้นทางการเชื่อมโยงบนเว็บไซต์ เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถท่องเที่ยวไปใน ไซต์ได้อย่างสมบูรณ์แบบและไม่หลงทาง โดยใช้เครื่องมือนาทางรูปแบบต่างๆ เช่น รายการเมนูเชื่อม (Navigation Bar) ส่วนค้นหา (Search) หรือ Drop-Down Menu เป็นต้น ซึ่งระบบที่ดีต้องช่วยเหลือผู้ใช้งานโดย สามารถบอกตาแหน่งที่ผู้ใช้อยู่ในปัจจุบัน การเข้าถึงข้อมูลปลายทางข้อมูลใดที่ เคยผ่านการเข้าถึงแล้วและเส้นทางที่จะกลับไปยังตาแหน่งเดิมได้ (ศึกษา การหลีกเลี่ยงในการออกแบบเว็บไซต์ของเรา - ห ลี ก เ ลี่ ย ง ก า ร ใ ช้ รู ป แ บ บ ข น า ด สี ของตัวอักษร ภาพเคลื่อนไหวหลากหลายในแต่ละเว็บเพจ - ห ลี ก เ ลี่ ย ง ก า ร ใ ช้ โ ค ร ง ส ร้ า ง เ ว็ บ เ พ จ ในแต่ละหน้าที่ไม่เหมือนกัน - ห ลี ก เ ลี่ ย ง ก า ร ใ ช้ ข้ อ มู ล ที่ เ ก่ า ล้ า ส มั ย ไม่มีการปรับปรุง และ ผู้ใช้ไม่ต้องการ - ห ลี ก เ ลี่ ย ง ก า ร ใ ช้ ลู ก เ ล่ น เ ท ค โ น โ ล ยี ใหม่ๆ ที่ผู้ใช้โดยทั่วไปไม่สามารถใช้งานได้ - ห ลี ก เ ลี่ ย ง ก า ร ใ ช้ ร ะ บ บ เ ฟ ร ม ที่ ท า ใ ห้ เกิดข้อผิดพลาดในการสั่งพิมพ์ การแสดงชื่อ URL เป็นต้น - ห ลี ก เ ลี่ ย ง ก า ร ใ ช้ เ ม นู ที่ เ ป็ น รู ป ภ า พ ที่ ไม่สื่อความหมายควรใช้ตัวอักษรอธิบายประกอบ - ห ลี ก เ ลี่ ย ง ก า ร ใ ช้ เ ว็ บ เ พ จ ที่ มี ค ว า ม ยาวของหน้ามากๆเพราะจะทาให้แสดงผลช้า
  • 14. การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ คือ การจัดหมวดหมู่ และลาดับของเนื้อหา แล้วจัดทาเป็นแผนผัง โครงสร้างเว็บไซต์ ซึ่งจะทาให้เรารู้ว่ามีเนื้อหาอะไรบ้างภายในเว็บไซต์ และแต่ละ หน้าเว็บเพจนั้นมีการเชื่อมโยงกันอย่างไร โครงสร้างเว็บไซต์ที่ดีจะช่วยให้ผู้ชมไม่สับสนและค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้ อย่างรวดเร็ว ไม่ควรเป็นลาดับที่ลึกหลายชั้นเกินไป เพราะผู้ใช้จะเบื่อเสียก่อน กว่าจะค้นหาเจอหน้าที่ต้องการ 1. รวบรวมข้อมูล เนื้อหาที่จะนามาสร้างเว็บ แล้วนามาจัดหมวดหมู่ และลาดับเนื้อหาก่อนหลัง (ตัดส่วนที่ไม่จาเป็นออก) แล้ววางโครงสร้างเว็บไซต์ ในภาพรวมทั้งหมด 2. จัดทาแผนผังโครงสร้างการเชื่อมโยงไฟล์ เป็นแผนผังที่แสดง โครงสร้างข้อมูล ลาดับชั้น และการเชื่อมโยงส่วนต่างๆ อย่างชัดเจน 3. ออกแบบหน้าแรกของเว็บไซต์ หรือที่เรียกว่า Home page ขั้นตอนการออกแบบเว็บไซต์ ขั้น แรก ออกแบบ โครงสร้าง เว็บไซต์ การศึกษาหรือทาการสารวจจากผู้ใช้ที่เป็นกลุ่มเป้ าหมายเพื่อตอบคาถามว่า เมื่อ ผู้ใช้เข้ามายังหน้าเว็บแล้ว ต้องการได้รับข้อมูลใดกลับไปบ้าง มีฟังก์ชันหรือการ ใช้งานรูปแบบใดบนเว็บไซต์ที่ผู้ใช้ต้องการและปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดจาก การใช้งานเว็บที่ได้พบ - องค์กร (Organization) เป็นการวิเคราะห์เป้ าหมายทางธุรกิจ (Business Goal) ทั้งในส่วนเงินทุน บุคลากรและความเป็นไปได้ที่จะ พัฒนาเว็บไซต์ขึ้นมาเพื่อใช้งาน รวมทั้งการเก็บรวบรวมข้อมูลขององค์กรที่ จาเป็นต่อการออกแบบหน้าเว็บเช่น โลโก้ (Logo) แบนเนอร์ (Banner) หรือการโฆษณาประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ เหล่านี้จะช่วยให้ผู้ใช้จดจาเว็บไซต์ได้ ง่ายขึ้น - คู่แข่ง (Competitor) เป็นการประเมินขอบเขตข้อมูล รูปแบบ นาเสนอและเป้ าหมายทางการค้าของบริษัทคู่แข่ง เพื่อพิจารณาจุดอ่อนและจุด แข็งของการออกแบบเว็บ แล้วนามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเว็บของบริษัท ต่อไป 3. การจัดทาโครงการสร้างข้อมูล (Structrue Plane) ภายหลังจาก ที่ได้กาหนดขอบเขตข้อมูลแล้วก็เริ่มต้นกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาและ หน้าที่งานบนเว็บไซต์โดยขั้นตอนนี้ประกอบด้วยงาน 2 ลักษณะ ดังนี้ - การออกแบบส่วนปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ (Interaction Design) เป็นการออกแบบหน้าเว็บสาหรับงานที่มีลักษณะโต้ตอบกับผู้ใช้ เช่น การสั่งซื้อ สินค้า การกรอกแบบฟอร์ม และการรับส่ง E-mail เป็นต้น - สถาปัตยกรรมข้อมูล (Information Architecture) เป็น การกาหนดโครงสร้างของเนื้อหาทั้งหมดที่จะนาเสนอบนเว็บไซต์ โดยเชื่อมโยง
  • 15. กระบวนการในการพัฒนาเว็บไซต์ สิ่งแรกที่นักพัฒนาเว็บควรทาเมื่อเริ่มต้นพัฒนาเว็บไซต์ คือ กาหนดกรอบ กระบวนการทางาน (Framework) ที่แสดมยุ่งยากงให้เห็นถึงขั้นตอนของ การพัฒนาเว็บ และรายละเอียดของงานในแต่ละขั้นตอน ตั้งแต่เริ่มต้น กระบวนการจนกระทั่งสิ้นสุด เพราะกรอบการทางานจะช่วยป้ องกันความ ผิดพลาด และความสับสนในระหว่างการพัฒนาเว็บโดยนักพัฒนาเว็บสามารถ ย้อนกลับมาตรวจสอบงานตามกรอบการทางานในภายหลังได้ กรอบการทางานหรือแบบจาลองกระบวนการ (Process Model) ที่ใช้เพื่อพัฒนาเว็บมีหลายรูปแบบ ยกตัวอย่าง เช่น แบบจาลองกระบวนการใน รูปแบบ Agile Process (XP, Scrum, DSDM, FDD และ AM) แบบจาลองลาดับเชิงเส้น (Linear Sequential Model : LSM) เป็น ต้น สาหรับในที่นี้จะขอแบบจาลองกระบวนการที่พัฒนาขึ้นโดย J e s s e James Garrett ซึ่งจาแนกกระบวนการพัฒนาเว็บออกเป็น 5 ขั้นตอน ได้แก่ การสร้างกลยุทธ์ในการออกแบบ (Strategy Plane) 1. การกาหนดขอบเขตของข้อมูล (Scope Plane) การทาโครงสร้าง ข้อมูล (Structrue Plane) การออกแบบโครงร่างเว็บเพจ (Skeleton Plane) และการออกแบบรูปลักษณ์ของเว็บเพจ (Surface Plane) 2. การสร้างกลยุทธ์ในการออกแบบ (Strategy Plane) เป็นขั้นตอน การวิเคราะห์ปัจจัยหลัก 3 ประการ คือ ผู้ใช้ องค์กร และคู่แข่ง เพื่อทราบ เป้ าหมายหรือแนวทางในการพัฒนาเว็บไซต์โดยปัจจัยทั้ง 3 ประการ มี รายละเอียดดังนี้ - ผู้ใช้ (User) เป็นการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ โดย ขั้นที่สองออกแบบการเชื่อมโยงไฟล์ ขั้นที่สามออกแบบหน้าโฮมเพ็จ (Home Page)
  • 16. กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์ กระบวนการในการสร้างและออกแบบเว็บมีกระบวนการพื้นฐานอยู่ด้วย กัน 5 ขั้นตอนคือ 1. การวางแผน (Planning) เป็นขั้นตอนที่ผู้สร้างเว็บจะต้องรวบรวม ข้อมูลที่ต้องการจะนามาสร้างเว็บ กาหนดวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้ าหมาย จากนั้นกาหนดขอบเขตและความต้องการของเว็บว่าจะต้องมีอะไรบ้าง เช่น ขนาดของหน้าจอภาพ บราวเซอร์ที่จะใช้ ฯลฯ องค์ประกอบและเครื่องมือที่ จะต้องใช้ ต้องการมีกระดานข่าว ห้องสนทนา ฯลฯ รวมถึงขั้นตอนและ กระบวนการในการบารุงรักษาอย่างเป็นระบบการวางแผนเบื้องต้นของการสร้าง เว็บสาหรับ Dreamweaver คือ - ก า ห น ด พื้ น ที่ จั ด เ ก็ บ เ ว็ บ ใ น เ ค รื่ อ ง คอมพิวเตอร์ - ก า ห น ด พื้ น ที่ ติ ด ตั้ ง เ ว็ บ เ มื่ อ ส ร้ า ง เสร็จ 2. การออกแบบ (Design) เป็นขั้นตอนที่นาข้อมูลและแผนที่วางไว้ไป ปฏิบัติ โดยการลงมือปฏิบัติโดยจัดพิมพ์เนื้อหา กาหนดการเชื่อมโยง และ คุณลักษณะอื่นที่ต้องใช้ในเว็บ การออกแบบก็จะเน้นที่การจัดหน้าจอของเว็บให้ สอดคล้องกันและระมัดระวังปัญหาต่าง ๆ ในการออกแบบ - ก า ร เ ลื อ ก เ นื้ อ ห า เ ป็ น ส่ ว น ส า คั ญ ของการเริ่มต้นสร้างเว็บเพจ ผู้เยี่ยมชนแต่ละกลุ่มจะค้นหาข้อมูลที่แตกต่างกัน เว็บเพจแต่ละหน้าจะสนองตอบต่อผู้ชมไม่เหมือนกัน การเลือกเนื้อหาที่ดีเนื้อหา น่าสนใจและใหม่เสมอจะทาให้ผู้ชมกลับมาเยี่ยมใหม่อีกครั้ง การใส่ข้อมูล ปริมาณมากเกินความจาเป็นจะทาให้เว็บเพจดูหนาแน่น ผู้ชมอึดอัด ไม่ดึงดูด ความสนใจ 3. การพัฒนา (Development) เป็นขั้นตอนที่ต่อเนื่องจากการ ออกแบบและการสร้าง โดยเน้นไปที่การตกแต่งและเสริมเครื่องมือต่าง ๆ สาหรับ เว็บ เช่น การกาหนดสี ภาพ การใช้ Flash ช่วยให้เว็บเร้าความสนใจ และ เพิ่มเติมเทคนิคต่าง ๆ ของโปรแกรมสนับสนุนการสร้างเว็บ 4. การติดตั้ง (Publishing) เป็นขั้นตอนที่จะนาเอาเว็บที่ได้สร้างขึ้น เข้าไปติดตั้งในเว็บSever เพื่อให้แสดงผลได้ในระบบอินเทอร์เน็ต หรือจะ เรียกว่า การอับโหลด (Up load) ซึ่งเป็นขั้นตอนที่จะต้องดาเนินการอยู่เสมอ เมื่อสร้างเว็บเสร็จ 5. การบารุงรักษา (Maintenance) เป็นขั้นตอนประเมินผลและ ติดตามผลการติดตั้งเว็บไซต์ว่ามีข้อขัดข้องหรือต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเว็บ เพิ่มเติมให้ทันสมัยอยู่เสมอ อาจจะเรียกได้ว่าขั้นตอนการอัพเดท (Update)