SlideShare a Scribd company logo
1 of 53
Download to read offline
การประชุมวิชาการเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ครั้งที่ ๑๓
   เวชศาสตร์ฉุกเฉินผสมผสาน (Harmonized Emergency Medicine)
     วันจันทร์ที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ ณ ห้องประชุมชั้น ๑๒ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลราชวิถี




การดูแลผู้สูงอายุในภาวะฉุกเฉิน
              รศ.ดร.จิราพร เกศพิชญวัฒนา
                ผศ.ดร.สุวิณี วิวัฒน์วานิช
         คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประเด็น
• สถานการณ์แนวโน้มผู้สูงอายุไทย
• ผู้สูงอายุและหน่วยฉุกเฉิน
• ลักษณะเฉพาะของผู้สูงอายุ
• สาเหตุที่ทาให้ผู้สูงอายุมารับบริการ
• หลักเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ
• การประเมิน
สถานการณ์ แนวโน้ม
   ผู้สูงอายุไทย
พีระมิดประชากรไทย พ.ศ. 2513 - 2573
            พ.ศ. 2513                                                   พ.ศ. 2533                                         พ.ศ. 2553                                             พ.ศ. 2573
         ชาย                            หญิง                             ชาย     90-94         หญิง                       ชาย                         หญิง                            ชาย                         หญิง
                      90-94
                                                                                 80-84                                                    90-94
                      80-84                                                                                                                                                                         90-94
                                                                                 70-74                                                    80-84
                      70-74                                                                                                                                                                         80-84
                                                                                                                                          70-74
                                                                                 60-64                                                                                                              70-74
                      60-64
                                                                                                                                          60-64
                                                                                 50-54                                                                                                              60-64
                      50-54
                                                                                                                                          50-54
                                                                                 40-44                                                                                                              50-54
                      40-44
                                                                                                                                          40-44
                                                                                 30-34                                                                                                              40-44
                      30-34                                                                                                               30-34
                                                                                                                                                                                                    30-34
                      20-24                                                      20-24
                                                                                                                                          20-24                                                     20-24
                      10-14                                                      10-14
                                                                                                                                          10-14                                                     10-14
                          0-4                                                      0-4                                                      0-4                                                       0-4
4,000 3,000 2,000 1,000         0   1,000 2,000 3,000 4,000   4,000 3,000 2,000 1,000 0 1,000 2,000 3,000 4,000   3,000   2,000   1,000           0   1,000   2,000   3,000 3,000   2,000   1,000           0   1,000   2,000   3,000
                แหล่งข้อมูล :
                  พ.ศ. 2513, 2533 สามะโนประชากรและเคหะ, สานักงานสถิติแห่งชาติ
                  พ.ศ. 2553, 2573 การฉายภาพประชากรของประเทศไทย, สถาบันวิจัยประชากรและสังคม
                                                                                                                                          ที่มา: ปราโมทย์ ประสาทกุล 2550
ระเบิดประชากร: ประชากรรุ่นเกิดล้าน
  จำนวนเกิด                                (พ.ศ. 2506 – 2526)
  1,400,000


  1,200,000


  1,000,000


    800,000
                                 “ประชากรรุ่นเกิด
    600,000                           ล้าน”
                                  ปัจจุบันอายุ 29 – 48 ปี
    400,000


    200,000


         0
                                                                                  พ.ศ.
          2480 2485 2490 2495 2500 2505 2510 2515 2520 2525 2530 2535 2540 2545

ที่มา: ปราโมทย์ ประสาทกุล และ ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์ “สถานการณ์ประชากรของประเทศไทย พ.ศ.
         2548” ใน กฤตยา อาชวนิจกุล และ ปราโมทย์ ประสาทกุล (บรรณาธิการ).2548.
ระเบิดประชากร: การเพิ่มขึนของประชากรสูงวัย
                          ้
ร้อยละของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป (ต่อประชากรทังหมด )
                                              ้
         %
      30.0

      25.0

      20.0
                                               ระเบิด
      15.0
                  สังคมสูงอายุ              ประชากรสูงวัย
      10.0

       5.0

       0.0
         2503   2513   2523   2533   2543   2553   2563   2573
                                ปี พ.ศ.
ประชากรวัยเด็กและผู้สูงอายุ พ.ศ. 2548 - 2583
จานวน (ล้านคน)




                                                                                                                                                26.9 %
 18.0




                                                                                                                               25.1 %
                                                                        16.8 %
         23.0 %




                                                                                                              22.7 %
 16.0                     20.7 %




                                                                                        19.8 %
                                              19.0 %




                                                               17.2 %
 14.0




                                                                                     16.0 %
 12.0




                                                                                                           15.1 %
                  66.7%               67.4%                 67.0%            66.0%                64.1%                62.2%            60.5%




                                                                                                                           14.4 %
                                                   14.0 %




                                                                                                                                            13.8 %
 10.0
                             11.8 %
            10.3 %




  8.0

  6.0

  4.0

  2.0

  0.0
        2548              2553                2558                  2563         2568                      2573            2578            2583 ปี พ.ศ.

                                          เด็ก                                                ผู้สูงอำยุ
Facts and Figures

• จานวนประชากรทั้งประเทศ 63,891,000 คน
• ชาย 31,445,000 คน หญิง 32,446,000 คน
• ประชากรสูงอายุ 7,790,000 คน
    คิดเป็นร้อยละ 12.19 ของประชากรทั้งประเทศ
               สารประชากร มหาวิทยาลัยมหิดล ปีที่ 18, มกราคม 2552
ข้อมูลล่าสุดอายุขัยเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด
         ของประชากรไทย
           ชาย 69.5 ปี
           หญิง 76.3 ปี
ในอนาคต
    เราจะพบ
เหตุการณ์อะไรที่
     พบเห็น
  โดยทั่วไป?
ผู้สูงอายุและหน่วยฉุกเฉิน


      Older patients (≥65 years) usually treated
  by ED physicians are estimated to be “near 40%”.
In contrast, international epidemiological data show a
prevalence of elderly patients (about 18% of all users,
             ranging between 11 and 23%)
                            Salvi, F., et al., Intern Emerg med 2007
ผู้สูงอายุและหน่วยฉุกเฉิน



 Only infants go to the emergency department at a higher rate
 than people 75 and older, according to a recent US. Federal
                      Government Survey.
Many hospitals have set up separate emergency rooms just for
   kids. Now, several hospitals set up an ER specifically for
                      patients 65 and older.
Issues related to Elderly &
       Emergency care
• Older people are referred to the ED for
  medical reasons rather than for injuries
• Takes longer to triage them and they spend
  more time in the ED
• Consume more resources (laboratory studies,
  X-ray studies) during a clinical course
• They are also more frequently admitted (30–
  50% vs. 10–20% of young/adults
ลักษณะเฉพาะของผู้สูงอายุ
• วัยที่มีการเปลี่ยนแปลงในทางเสื่อมถอย
  เสี่ยงในการได้รับภยันตราย บาดเจ็บ
  จากอุบัติเหตุได้ง่าย
• มีข้อจากัดเรื่องการมองเห็น การได้ยิน
• มักมีโรคประจาตัว หรือโรคเรื้อรังที่ได้รับ
  การรักษาอยู่ก่อน
• รับประทานยาหลายอย่าง จากหลายโรค
ลักษณะเฉพาะของผู้สูงอายุ
• ผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่กับบุคคลในครอบครัว
  ซึ่งอาจเป็นญาติ หรือผู้ดูแล
• ผู้สูงอายุที่มีความเจ็บป่วย อาการแสดงของการ
  เจ็บป่วยไม่ชัดเจน ตรงไปตรงมา
• อาการทางกายอาจเกี่ยวข้องกับปัญหาจิตใจ หรือ
  ปัญหาสุขภาพทางกายอาจแสดงออกเหมือนมี
  ปัญหาทางด้านจิตใจ
สาเหตุที่ทาให้ผู้สูงอายุมารับบริการ
• การหกล้ม (Fall) เป็นอุบัติเหตุที่พบบ่อย
  ที่สุดในกลุ่มผู้สูงอายุ ผลทาให้เกิด
  Fracture, Head injury
• อาการสับสนเฉียบพลัน
  (Delirium/Acute confusional
  state)
• การกาเริบอาการ (Exacerbation) ของ
  โรคประจาตัว
สาเหตุที่ทาให้ผู้สูงอายุมารับบริการ
• การติดเชื้อ (Infection)
• โรคลมปัจจุบัน หรือโรคเกี่ยวกับ
  ระบบหลอดเลือดและระบบ
  ไหลเวียนโลหิต
• ความปวด (Pain)
• การกระทารุนแรงต่อผู้สูงอายุ
  (Elder abuse)
Case history: Mrs. A
• 1991 - ED visit - Hip Contusion
• 1992 - ED visit - Jaw Contusion
• 1992 - ED visit - Colles’ Fracture
• 1993 - ED visit - Low back pain
                 Falls - Clumsiness
                 ED treatment of injury
• 1995 - Hip Fracture

    Home Visit - Elder Abuse
How many cases of elder abuse have you
   reported over the past year?
Is an elder abuse protocol available in
   your emergency department?
Elder Abuse
 • Estimated 1 -2 million victims each year
   in the U.S.
 • Less than 10% are reported
    – How does this model of care contrast
      to our approach to child abuse?

  ประเทศไทยยังมีการรายงานน้อยเรื่อง Physical Abuse
ส่วนใหญ่เป็น Psychological Abuse และ Neglect
หลักการของเวชศาสตร์ฉกเฉินผู้สูงอายุ
                    ุ
 • ผู้สูงอายุที่มารับบริการ ณ.หน่วยอุบัติเหตุและ
   ฉุกเฉินส่วนใหญ่มีปัญหาที่ซับซ้อน
 • โรคทั่วไป (Common diseases) ที่พบในวัย
   ผู้สูงอายุ มักจะปรากฏอาการที่ไม่ตรงไปตรงมา
 • พึงระลึกเสมอว่าผู้สูงอายุมักมีโรคร่วมอยู่ก่อน (Co-
   morbid diseases) ซึ่งทาให้เกิดความซับซ้อนใน
   การดูแลช่วยเหลือ
หลักการของเวชศาสตร์ฉกเฉินผู้สูงอายุ
                    ุ
 • ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ได้รับยาหลายชนิด (Poly-pharmacy)
   ซึ่งอาจส่งผลต่ออาการและอาการแสดง การวินิจฉัย และ
   การดูแลรักษา
 • ผู้สูงอายุอาจมีปัญหาเรื่องความคิด ความจา (Cognitive
   impairment) ดังนั้นการซักประวัติหรือการได้ซึ่งข้อมูล
   ต้องระมัดระวัง
 • ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ค่าปกติของการตรวจบาง
   ตัวอาจใช้ค่า Normal values ที่ต่างไป
หลักการของเวชศาสตร์ฉกเฉินผู้สูงอายุ
                    ุ
 • ผู้สูงอายุมีพลังสารองที่น้อย ลดถอยกว่าวัยอื่น
 • ครอบครัว/ ผู้ดูแลหรือผู้ที่คอยช่วยเหลือ รวมทั้งระบบ
   สนับสนุน (Support system) มีความสาคัญต่อภาวะ
   สุขภาพ การเจ็บป่วยของผู้สูงอายุ
 • มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องประเมิน/ทราบถึง Baseline
   functional status จากผู้ดูแลผู้สูงอายุ เพื่อทราบและ
   เปรียบเทียบกับปัญหาที่กาลังเกิดขึ้น
 • การประเมินปัญหาทางสุขภาพของผู้สูงอายุควรคานึงถึงการ
   ประเมินสภาพทางจิตสังคมของผู้สูงอายุด้วย
Older Patients in the Emergency
Department…What Are the Risks?
              Margaret R. Nolan, MSN, GNP-C
สิ่งแวดล้อมของหน่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
           ED Environment
•   Uncomfortable for older persons
•   High volume, high stress
•   Anxious, worried patients
•   Little privacy
•   Limited ED provider time
•   Beds, lighting, noise
•   Modifications can make a difference
                       26
ทัศนคติและการมองผู้สูงอายุเชิงลบ
      Attitudes and Ageism
• Negative View of Aging
     • frail, disabled elderly
     • language
     • distorted view of elderly persons
• Aging - deterioration to be avoided and
  feared
• Aging - state of life
• Misperceptions i.e., incontinence, confusion
ED Assessment
       of Elderly Patients
 Functional         Clinical        Cognitive
 Assessment       indication       Assessment
• ADLs, IADLs   • Chief           • Delirium ,
• Bedside         complaint         confusion
  performance   • Abuse,          • Dementia
  of simple       depression,     • Depression
  tasks           alcohol use,
                  malnutrition,
                  suicide risk
                       28
Functional Impairments
                         IADLs
ADLs                       การใช้โทรศัพท์ Using telephone
  อาบน้้า Bathing          การจ่ายตลาด ไปซื้อของ Shopping
  แต่งตัว Dressing         การเตรียมอาหาร Food
  ไปห้องน้้า Toileting     preparation
  เคลื่อนที่ Transfers     การดูแลบ้าน ท้าความสะอาด
  การควบคุมการขับถ่าย      Housekeeping
  Continence               การซักผ้า Laundry
  การรับประทานอาหาร        การเดินทาง Transportation
  Feeding                  การดูแลเรื่องยา Medications
                           การจัดการเรื่องเงิน Managing money
ED Mental Status Exam
•   Delirium/Dementia missed in ED
•   Reliability of history
•   Symptom of medical emergency
•   Reversible causes

    Delirium - acute confusional state
    Dementia - impairment in memory
         and intellectual function
Most probable cause of delirium




Three clinically useful acronyms to take into account the most probable cause of delirium:
       the 7 I’s (left), DELIRIUMS(centre) and VINDICATE (right) ที่มา Salvi, F., et al., 2007
CAM Assessment
• History - consistency from patient, family,
  caregiver, medical record
• Observation over time
• Structured questions
     • Orientation
     • Three-item recall
     • Days of week backward
     • Months of year backward
CAM Criteria
•   Acute onset or Fluctuating Course
•   Inattention
•   Disorganized thinking
•   Altered level of consciousness
CAM Worksheet
I. ACUTE ONSET OR FLUCTUATING COURSE
• Is there evidence of an acute change in mental status
    from the patient’s baseline?
                                 OR
• Did the (abnormal) behavior fluctuate during the day
        (I.e., tend to come and go or increase and decrease in
  severity)?                                                  NO      YES


II. INATTENTION
• Did the patient have difficulty focusing attention (e.g.,
  being easily distractible or having difficulty keeping track
  of what was being said)?                                       NO   YES
CAM Worksheet
III. DISORGANIZED THINKING
• Was the patient’s thinking dis-
  organized or incoherent (e.g.,
  rambling or irrelevant conversa-
  tion, unclear or illogical flow of
  ideas, or unpredictable switching
  from subject to subject)?            No   Yes
CAM Worksheet
IV. ALTERED LEVEL OF CONSCIOUSNESS
Overall, how would you rate the patient’s level of consciousness?
____ Alert (normal)
____   Vigilant (hyperalert)
____   Lethargic (drowsy, easily aroused)
____   Stupor (difficult to arouse)
____   Coma (unarousable)
Do any checks appear in this box?                             No            Yes

From Inouye SK, van Dyck CH, Alessi CA, et al. Clarifying confusion: the confusion assessment
   method-a new method for detection of delirium. Ann Intern Med 1990;113:941-948
Mini-Mental State
      Examination (MMSE)
Add points for each correct response    Score   Points
Orientation
 1. What is the : Year?                ____       1
                     Season?           ____       1
                     Date?             ____       1
                     Day?              ____       1
                     Month?            ____       1
 2. Where are we? State?               ____       1
                     County?           ____       1
                     Town or city?     ____       1
                      Hospital?        ____       1
                      Floor?           ____       1
Mini-Mental State
       Examination (MMSE)
Registration                                        Score   Points
3. Name three objects, taking one second to
    say each. Then ask the patient to repeat
    all three after you have said them.             ____      3

   Give one point for each correct answer.
   Repeat the answers until patient learns all
   three.
Attention and calculation
4. Serial sevens. Give one point for each correct
   answer. Stop after five answers. Alternate:      ____      5
   Spell WORLD backwards.
Mini-Mental State
  Examination (MMSE)
Recall                                           Score   Points
5. Ask for names of three objects learned in
   question 3. Give one point for each correct            ____    3
   answer.

Language
6. Point to a pencil and a watch. Have the patient
   name them as you point.                                ____    2
7. Have the patient repeat “No ifs, ands
   or buts”                                               ____    1
Mini-Mental State
           Examination (MMSE)
                                                  Score    Points
8. Have the patient follow a three-stage command:
   “Take a paper in your right hand. Fold the paper
    in half. Put the paper on the floor.            ____     3
9. Have the patient read and obey the following
   “CLOSE YOUR EYES.” (write it in large letters)   ____     1
10. Have the patient write a sentence of his or her
    choice. (The sentence should contain a subject
    and an object and should make sense. Ignore     ____     1
    spelling errors when scoring.)




Instructor’s Manual-Case Study      40
Mini-Mental State
       Examination (MMSE)
                                                                   Score          Points
11. Have the patient copy the design. (Give one
    point if all sides and angles are preserved and                ____             1
    if the intersecting sides form a quadrangle.)



                                                                   ___ = Total           30

   In validation studies using a cutoff acore of 23 below, the MMSE has a sensitivity of 87% , a
   specificity of 82%, a false-positive ratio of 39.4%, and a false-negative ratio of 4.7%. These
   ratios refer to the MMSE’s capacity to accurately distinguish patients with clinically diagnosed
   dementia or delirium from patients without these syndromes.



                                                41
Cognitive Testing



         Normal placement of hands




                 Abnormal
              “concrete” clock.
Thai MMSE 2002
DEPRESSION
• Single Question: Do You Often Feel Sad Or
  Depressed? (Sen/spe-.85/.65)
• 5 Item Geriatric Depression Scale (Sen/spe-
  .97/.85)
• 15 Item GDS (Sen/spec-.94/.83)
Geriatric Depression Scale:
     GDS-Short Form
Choose the best answer for how you felt over the past week.
1. Are you basically satisfied with your life?             yes/no
2. Have you dropped many of your activities and interests? yes/no
3. Do you feel that your life is empty?                    yes/no
4. Do you often get bored?                                 yes/no
5. Are you in good spirits most of the time?               yes/no
6. Are you afraid that something bad is going to
   happen to you?                                          yes/no
7. Do you feel happy most of the time?                     yes/no

                               45
Geriatric Depression Scale:
     GDS-Short Form
8. Do you feel helpless?                                      yes/no
9. Do you prefer to stay at home, rather than going our and
   doing new things?                                          yes/no
10. Do you feel you have more problems with memory
    than most?                                                yes/no
11. Do you think it is wonderful to be alive now?             yes/no
12. Do you feel pretty worthless the way you are now?         yes/no
13. Do you feel full of energy?                               yes/no
14. Do you feel that your situation is hopeless?              yes/no
15. Do you think that most people are better off than
    you are?                                                  yes/no



                                      46
Geriatric Depression Scale:
     GDS-Short Form
This is the scoring for the scale. One point for each of these
answers. Cutoff: normal (0-5), above 5 suggests depression.

        1. No            6.Yes           11. No
        2.Yes            7. No           12.Yes
        3.Yes            8.Yes           13. No
        4.Yes            9.Yes           14.Yes
        5. No            10.Yes          15.Yes

                                         Courtesy Jerome A Yessvage, MD.

                                  47
5 ITEM GDS
                                                                           Yes          No
(1) Are you basically satisfied with
                                                                                         
    your life?
(2) Do you often get bored?
                                       
(3) Do you often feel helpless?        
(4) Do you prefer to stay at home rather                                                 
    than going out and doing new things?
(5) Do you feel pretty worthless
    the way you are now?               

                0- 1 = not depressed                       > 2 = depressed

*Sens. 97 (.94)/Spec. 85(.83) PPV - .85 (.82) NPV - .97 (.94)
Single Question Sen .85/Spec.65
Hoyl, MT et al. Development and Testing of a Five-item Version of the Geriatric Depression Scale. JAGS.
     47:873-78, 1999.
ประเมินผู้ดูแลและความ
  รุนแรงต่อผู้สูงอายุ
Caregiver Stress
  and Abuse
ข้อมูลที่พึงสังเกต
• ผู้สูงอายุที่ไม่มาตามนัด ผู้ดูแลไม่พามาตรวจ
• ผู้ดูแลที่ติดสุรา สารเสพติด มีปัญหาสุขภาพจิต
• ครอบครัวที่มีปัญหาเศรษฐกิจ ปากกัดตีนถีบ
• ผู้ดูแลที่มีลักษณะคุกคาม ข่มขู่ผู้สูงอายุ ไม่ยอมให้ซักถาม
  ผู้สูงอายุ
• ผู้ดูแลที่มีข้อแก้ตัว หงุดหงิดไม่เป็นมิตร ก้าวร้าว
• ผู้สูงอายุที่ช่วยตนเองไม่ได้ อยู่ในภาวะพึ่งพา ไม่มีรายได้
บทสรุป
• ผู้สูงอายุมีลักษณะเฉพาะทางสรีรวิทยา การเจ็บป่วย
  รวมทั้งจิตใจสังคม มีผลต่อการเจ็บป่วย
• การดูแลผูสูงอายุในภาวะฉุกเฉิน ต้องการการดูแลที่
              ้
  ครอบคลุม
• อย่าลืม ! การให้ความสาคัญกับ functional
  status และ cognitive function ของ ผู้สูงอายุ
  การประเมินเฉพาะที่เหมาะสม จาเป็นสาหรับผู้สูงอายุ
  แต่ละราย
บทสรุป
• การให้ความเอาใจใส่ การมีทัศนะคติที่ดีกับ
  ผู้ป่วยสูงวัย
• การจัดสิงแวดล้อม ส่วนพัก หรือเตียงรอตรวจ
            ่
  ที่เหมาะสม Ageing friendly environment
• บุคลากร มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการ
  สูงอายุ ผู้สูงอายุ
Emergency care for elderly

More Related Content

What's hot

Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Aiman Sadeeyamu
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556
ครู กรุณา
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2
แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2
แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2
Nattaporn Chayapanja
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำ
Prathan Somrith
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
Papawee Laonoi
 
แบบบันทึกข้อมูล
แบบบันทึกข้อมูลแบบบันทึกข้อมูล
แบบบันทึกข้อมูล
patta8881
 

What's hot (20)

Đề tài: Nguồn nhân lực trong hệ thống báo chí Công an Nhân dân
Đề tài: Nguồn nhân lực trong hệ thống báo chí Công an Nhân dânĐề tài: Nguồn nhân lực trong hệ thống báo chí Công an Nhân dân
Đề tài: Nguồn nhân lực trong hệ thống báo chí Công an Nhân dân
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
 
Apex beat
Apex beatApex beat
Apex beat
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital
 
แบบทดสอบคิดเร็วป.3
แบบทดสอบคิดเร็วป.3แบบทดสอบคิดเร็วป.3
แบบทดสอบคิดเร็วป.3
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556
 
Pdf 2b3b3f0b6ebbc8a2a150721eceec1f1f 2
Pdf 2b3b3f0b6ebbc8a2a150721eceec1f1f 2Pdf 2b3b3f0b6ebbc8a2a150721eceec1f1f 2
Pdf 2b3b3f0b6ebbc8a2a150721eceec1f1f 2
 
CXR and abdominal film interpretation for medical student
CXR and abdominal film interpretation for medical studentCXR and abdominal film interpretation for medical student
CXR and abdominal film interpretation for medical student
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptoms
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
 
แบบทดสอบคิดเร็วป5 6
แบบทดสอบคิดเร็วป5 6แบบทดสอบคิดเร็วป5 6
แบบทดสอบคิดเร็วป5 6
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...
 
คณิตศาสตร์ ป.6 แบบทดสอบ pre o-net
คณิตศาสตร์ ป.6 แบบทดสอบ pre o-netคณิตศาสตร์ ป.6 แบบทดสอบ pre o-net
คณิตศาสตร์ ป.6 แบบทดสอบ pre o-net
 
Hệ thống bài tập Tiếng Việt theo hướng phát triển tư duy cho học sinh
Hệ thống bài tập Tiếng Việt theo hướng phát triển tư duy cho học sinhHệ thống bài tập Tiếng Việt theo hướng phát triển tư duy cho học sinh
Hệ thống bài tập Tiếng Việt theo hướng phát triển tư duy cho học sinh
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2
แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2
แผนการเรียนรู้ที่ 1 2 ป2
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำ
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
แบบบันทึกข้อมูล
แบบบันทึกข้อมูลแบบบันทึกข้อมูล
แบบบันทึกข้อมูล
 

Viewers also liked

นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์
taem
 
ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56
ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56
ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56
Dpc Phitsanulok
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
taem
 
ศัพท์การแพทย์ฉุกเฉิน
ศัพท์การแพทย์ฉุกเฉินศัพท์การแพทย์ฉุกเฉิน
ศัพท์การแพทย์ฉุกเฉิน
taem
 
คนฉุกเฉินตามทันมั้ย อ.ศรีทัย สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั้ย อ.ศรีทัย สีทิพย์คนฉุกเฉินตามทันมั้ย อ.ศรีทัย สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั้ย อ.ศรีทัย สีทิพย์
taem
 
1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุ
1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุ1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุ
1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุ
taem
 
นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์
นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์
นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์
taem
 
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
Yupin Jitbumrung
 
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
taem
 

Viewers also liked (20)

นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์
 
ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56
ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56
ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
Pop oui
Pop ouiPop oui
Pop oui
 
Generation z
Generation zGeneration z
Generation z
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
 
ศัพท์การแพทย์ฉุกเฉิน
ศัพท์การแพทย์ฉุกเฉินศัพท์การแพทย์ฉุกเฉิน
ศัพท์การแพทย์ฉุกเฉิน
 
คนฉุกเฉินตามทันมั้ย อ.ศรีทัย สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั้ย อ.ศรีทัย สีทิพย์คนฉุกเฉินตามทันมั้ย อ.ศรีทัย สีทิพย์
คนฉุกเฉินตามทันมั้ย อ.ศรีทัย สีทิพย์
 
1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุ
1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุ1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุ
1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุ
 
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agenda
 
นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์
นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์
นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์
 
งานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมงานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรม
 
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษการแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
 
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
 
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
 
TAEM10:Pain management for nurse
TAEM10:Pain management for nurseTAEM10:Pain management for nurse
TAEM10:Pain management for nurse
 
Prachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage ScalePrachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage Scale
 
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านคู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
 
Morbidity & mortality
Morbidity & mortalityMorbidity & mortality
Morbidity & mortality
 

More from taem

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
taem
 

More from taem (20)

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
 
Thai EMS legislation
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislation
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulation
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk management
 
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zone
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast track
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED director
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED design
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
 
ACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
ACTEP2014: Ceiling supply unit in EDACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
ACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
 

Emergency care for elderly

  • 1. การประชุมวิชาการเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ครั้งที่ ๑๓ เวชศาสตร์ฉุกเฉินผสมผสาน (Harmonized Emergency Medicine) วันจันทร์ที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ ณ ห้องประชุมชั้น ๑๒ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลราชวิถี การดูแลผู้สูงอายุในภาวะฉุกเฉิน รศ.ดร.จิราพร เกศพิชญวัฒนา ผศ.ดร.สุวิณี วิวัฒน์วานิช คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 2.
  • 3. ประเด็น • สถานการณ์แนวโน้มผู้สูงอายุไทย • ผู้สูงอายุและหน่วยฉุกเฉิน • ลักษณะเฉพาะของผู้สูงอายุ • สาเหตุที่ทาให้ผู้สูงอายุมารับบริการ • หลักเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ • การประเมิน
  • 4. สถานการณ์ แนวโน้ม ผู้สูงอายุไทย
  • 5. พีระมิดประชากรไทย พ.ศ. 2513 - 2573 พ.ศ. 2513 พ.ศ. 2533 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2573 ชาย หญิง ชาย 90-94 หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง 90-94 80-84 90-94 80-84 90-94 70-74 80-84 70-74 80-84 70-74 60-64 70-74 60-64 60-64 50-54 60-64 50-54 50-54 40-44 50-54 40-44 40-44 30-34 40-44 30-34 30-34 30-34 20-24 20-24 20-24 20-24 10-14 10-14 10-14 10-14 0-4 0-4 0-4 0-4 4,000 3,000 2,000 1,000 0 1,000 2,000 3,000 4,000 4,000 3,000 2,000 1,000 0 1,000 2,000 3,000 4,000 3,000 2,000 1,000 0 1,000 2,000 3,000 3,000 2,000 1,000 0 1,000 2,000 3,000 แหล่งข้อมูล : พ.ศ. 2513, 2533 สามะโนประชากรและเคหะ, สานักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2553, 2573 การฉายภาพประชากรของประเทศไทย, สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ที่มา: ปราโมทย์ ประสาทกุล 2550
  • 6. ระเบิดประชากร: ประชากรรุ่นเกิดล้าน จำนวนเกิด (พ.ศ. 2506 – 2526) 1,400,000 1,200,000 1,000,000 800,000 “ประชากรรุ่นเกิด 600,000 ล้าน” ปัจจุบันอายุ 29 – 48 ปี 400,000 200,000 0 พ.ศ. 2480 2485 2490 2495 2500 2505 2510 2515 2520 2525 2530 2535 2540 2545 ที่มา: ปราโมทย์ ประสาทกุล และ ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์ “สถานการณ์ประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2548” ใน กฤตยา อาชวนิจกุล และ ปราโมทย์ ประสาทกุล (บรรณาธิการ).2548.
  • 7. ระเบิดประชากร: การเพิ่มขึนของประชากรสูงวัย ้ ร้อยละของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป (ต่อประชากรทังหมด ) ้ % 30.0 25.0 20.0 ระเบิด 15.0 สังคมสูงอายุ ประชากรสูงวัย 10.0 5.0 0.0 2503 2513 2523 2533 2543 2553 2563 2573 ปี พ.ศ.
  • 8. ประชากรวัยเด็กและผู้สูงอายุ พ.ศ. 2548 - 2583 จานวน (ล้านคน) 26.9 % 18.0 25.1 % 16.8 % 23.0 % 22.7 % 16.0 20.7 % 19.8 % 19.0 % 17.2 % 14.0 16.0 % 12.0 15.1 % 66.7% 67.4% 67.0% 66.0% 64.1% 62.2% 60.5% 14.4 % 14.0 % 13.8 % 10.0 11.8 % 10.3 % 8.0 6.0 4.0 2.0 0.0 2548 2553 2558 2563 2568 2573 2578 2583 ปี พ.ศ. เด็ก ผู้สูงอำยุ
  • 9. Facts and Figures • จานวนประชากรทั้งประเทศ 63,891,000 คน • ชาย 31,445,000 คน หญิง 32,446,000 คน • ประชากรสูงอายุ 7,790,000 คน คิดเป็นร้อยละ 12.19 ของประชากรทั้งประเทศ สารประชากร มหาวิทยาลัยมหิดล ปีที่ 18, มกราคม 2552
  • 10. ข้อมูลล่าสุดอายุขัยเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ของประชากรไทย ชาย 69.5 ปี หญิง 76.3 ปี
  • 11. ในอนาคต เราจะพบ เหตุการณ์อะไรที่ พบเห็น โดยทั่วไป?
  • 12.
  • 13. ผู้สูงอายุและหน่วยฉุกเฉิน Older patients (≥65 years) usually treated by ED physicians are estimated to be “near 40%”. In contrast, international epidemiological data show a prevalence of elderly patients (about 18% of all users, ranging between 11 and 23%) Salvi, F., et al., Intern Emerg med 2007
  • 14. ผู้สูงอายุและหน่วยฉุกเฉิน Only infants go to the emergency department at a higher rate than people 75 and older, according to a recent US. Federal Government Survey. Many hospitals have set up separate emergency rooms just for kids. Now, several hospitals set up an ER specifically for patients 65 and older.
  • 15. Issues related to Elderly & Emergency care • Older people are referred to the ED for medical reasons rather than for injuries • Takes longer to triage them and they spend more time in the ED • Consume more resources (laboratory studies, X-ray studies) during a clinical course • They are also more frequently admitted (30– 50% vs. 10–20% of young/adults
  • 16. ลักษณะเฉพาะของผู้สูงอายุ • วัยที่มีการเปลี่ยนแปลงในทางเสื่อมถอย เสี่ยงในการได้รับภยันตราย บาดเจ็บ จากอุบัติเหตุได้ง่าย • มีข้อจากัดเรื่องการมองเห็น การได้ยิน • มักมีโรคประจาตัว หรือโรคเรื้อรังที่ได้รับ การรักษาอยู่ก่อน • รับประทานยาหลายอย่าง จากหลายโรค
  • 17. ลักษณะเฉพาะของผู้สูงอายุ • ผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่กับบุคคลในครอบครัว ซึ่งอาจเป็นญาติ หรือผู้ดูแล • ผู้สูงอายุที่มีความเจ็บป่วย อาการแสดงของการ เจ็บป่วยไม่ชัดเจน ตรงไปตรงมา • อาการทางกายอาจเกี่ยวข้องกับปัญหาจิตใจ หรือ ปัญหาสุขภาพทางกายอาจแสดงออกเหมือนมี ปัญหาทางด้านจิตใจ
  • 18. สาเหตุที่ทาให้ผู้สูงอายุมารับบริการ • การหกล้ม (Fall) เป็นอุบัติเหตุที่พบบ่อย ที่สุดในกลุ่มผู้สูงอายุ ผลทาให้เกิด Fracture, Head injury • อาการสับสนเฉียบพลัน (Delirium/Acute confusional state) • การกาเริบอาการ (Exacerbation) ของ โรคประจาตัว
  • 19. สาเหตุที่ทาให้ผู้สูงอายุมารับบริการ • การติดเชื้อ (Infection) • โรคลมปัจจุบัน หรือโรคเกี่ยวกับ ระบบหลอดเลือดและระบบ ไหลเวียนโลหิต • ความปวด (Pain) • การกระทารุนแรงต่อผู้สูงอายุ (Elder abuse)
  • 20. Case history: Mrs. A • 1991 - ED visit - Hip Contusion • 1992 - ED visit - Jaw Contusion • 1992 - ED visit - Colles’ Fracture • 1993 - ED visit - Low back pain Falls - Clumsiness ED treatment of injury • 1995 - Hip Fracture Home Visit - Elder Abuse How many cases of elder abuse have you reported over the past year? Is an elder abuse protocol available in your emergency department?
  • 21. Elder Abuse • Estimated 1 -2 million victims each year in the U.S. • Less than 10% are reported – How does this model of care contrast to our approach to child abuse? ประเทศไทยยังมีการรายงานน้อยเรื่อง Physical Abuse ส่วนใหญ่เป็น Psychological Abuse และ Neglect
  • 22. หลักการของเวชศาสตร์ฉกเฉินผู้สูงอายุ ุ • ผู้สูงอายุที่มารับบริการ ณ.หน่วยอุบัติเหตุและ ฉุกเฉินส่วนใหญ่มีปัญหาที่ซับซ้อน • โรคทั่วไป (Common diseases) ที่พบในวัย ผู้สูงอายุ มักจะปรากฏอาการที่ไม่ตรงไปตรงมา • พึงระลึกเสมอว่าผู้สูงอายุมักมีโรคร่วมอยู่ก่อน (Co- morbid diseases) ซึ่งทาให้เกิดความซับซ้อนใน การดูแลช่วยเหลือ
  • 23. หลักการของเวชศาสตร์ฉกเฉินผู้สูงอายุ ุ • ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ได้รับยาหลายชนิด (Poly-pharmacy) ซึ่งอาจส่งผลต่ออาการและอาการแสดง การวินิจฉัย และ การดูแลรักษา • ผู้สูงอายุอาจมีปัญหาเรื่องความคิด ความจา (Cognitive impairment) ดังนั้นการซักประวัติหรือการได้ซึ่งข้อมูล ต้องระมัดระวัง • ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ค่าปกติของการตรวจบาง ตัวอาจใช้ค่า Normal values ที่ต่างไป
  • 24. หลักการของเวชศาสตร์ฉกเฉินผู้สูงอายุ ุ • ผู้สูงอายุมีพลังสารองที่น้อย ลดถอยกว่าวัยอื่น • ครอบครัว/ ผู้ดูแลหรือผู้ที่คอยช่วยเหลือ รวมทั้งระบบ สนับสนุน (Support system) มีความสาคัญต่อภาวะ สุขภาพ การเจ็บป่วยของผู้สูงอายุ • มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องประเมิน/ทราบถึง Baseline functional status จากผู้ดูแลผู้สูงอายุ เพื่อทราบและ เปรียบเทียบกับปัญหาที่กาลังเกิดขึ้น • การประเมินปัญหาทางสุขภาพของผู้สูงอายุควรคานึงถึงการ ประเมินสภาพทางจิตสังคมของผู้สูงอายุด้วย
  • 25. Older Patients in the Emergency Department…What Are the Risks? Margaret R. Nolan, MSN, GNP-C
  • 26. สิ่งแวดล้อมของหน่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ED Environment • Uncomfortable for older persons • High volume, high stress • Anxious, worried patients • Little privacy • Limited ED provider time • Beds, lighting, noise • Modifications can make a difference 26
  • 27. ทัศนคติและการมองผู้สูงอายุเชิงลบ Attitudes and Ageism • Negative View of Aging • frail, disabled elderly • language • distorted view of elderly persons • Aging - deterioration to be avoided and feared • Aging - state of life • Misperceptions i.e., incontinence, confusion
  • 28. ED Assessment of Elderly Patients Functional Clinical Cognitive Assessment indication Assessment • ADLs, IADLs • Chief • Delirium , • Bedside complaint confusion performance • Abuse, • Dementia of simple depression, • Depression tasks alcohol use, malnutrition, suicide risk 28
  • 29. Functional Impairments IADLs ADLs การใช้โทรศัพท์ Using telephone อาบน้้า Bathing การจ่ายตลาด ไปซื้อของ Shopping แต่งตัว Dressing การเตรียมอาหาร Food ไปห้องน้้า Toileting preparation เคลื่อนที่ Transfers การดูแลบ้าน ท้าความสะอาด การควบคุมการขับถ่าย Housekeeping Continence การซักผ้า Laundry การรับประทานอาหาร การเดินทาง Transportation Feeding การดูแลเรื่องยา Medications การจัดการเรื่องเงิน Managing money
  • 30. ED Mental Status Exam • Delirium/Dementia missed in ED • Reliability of history • Symptom of medical emergency • Reversible causes Delirium - acute confusional state Dementia - impairment in memory and intellectual function
  • 31. Most probable cause of delirium Three clinically useful acronyms to take into account the most probable cause of delirium: the 7 I’s (left), DELIRIUMS(centre) and VINDICATE (right) ที่มา Salvi, F., et al., 2007
  • 32. CAM Assessment • History - consistency from patient, family, caregiver, medical record • Observation over time • Structured questions • Orientation • Three-item recall • Days of week backward • Months of year backward
  • 33. CAM Criteria • Acute onset or Fluctuating Course • Inattention • Disorganized thinking • Altered level of consciousness
  • 34. CAM Worksheet I. ACUTE ONSET OR FLUCTUATING COURSE • Is there evidence of an acute change in mental status from the patient’s baseline? OR • Did the (abnormal) behavior fluctuate during the day (I.e., tend to come and go or increase and decrease in severity)? NO YES II. INATTENTION • Did the patient have difficulty focusing attention (e.g., being easily distractible or having difficulty keeping track of what was being said)? NO YES
  • 35. CAM Worksheet III. DISORGANIZED THINKING • Was the patient’s thinking dis- organized or incoherent (e.g., rambling or irrelevant conversa- tion, unclear or illogical flow of ideas, or unpredictable switching from subject to subject)? No Yes
  • 36. CAM Worksheet IV. ALTERED LEVEL OF CONSCIOUSNESS Overall, how would you rate the patient’s level of consciousness? ____ Alert (normal) ____ Vigilant (hyperalert) ____ Lethargic (drowsy, easily aroused) ____ Stupor (difficult to arouse) ____ Coma (unarousable) Do any checks appear in this box? No Yes From Inouye SK, van Dyck CH, Alessi CA, et al. Clarifying confusion: the confusion assessment method-a new method for detection of delirium. Ann Intern Med 1990;113:941-948
  • 37. Mini-Mental State Examination (MMSE) Add points for each correct response Score Points Orientation 1. What is the : Year? ____ 1 Season? ____ 1 Date? ____ 1 Day? ____ 1 Month? ____ 1 2. Where are we? State? ____ 1 County? ____ 1 Town or city? ____ 1 Hospital? ____ 1 Floor? ____ 1
  • 38. Mini-Mental State Examination (MMSE) Registration Score Points 3. Name three objects, taking one second to say each. Then ask the patient to repeat all three after you have said them. ____ 3 Give one point for each correct answer. Repeat the answers until patient learns all three. Attention and calculation 4. Serial sevens. Give one point for each correct answer. Stop after five answers. Alternate: ____ 5 Spell WORLD backwards.
  • 39. Mini-Mental State Examination (MMSE) Recall Score Points 5. Ask for names of three objects learned in question 3. Give one point for each correct ____ 3 answer. Language 6. Point to a pencil and a watch. Have the patient name them as you point. ____ 2 7. Have the patient repeat “No ifs, ands or buts” ____ 1
  • 40. Mini-Mental State Examination (MMSE) Score Points 8. Have the patient follow a three-stage command: “Take a paper in your right hand. Fold the paper in half. Put the paper on the floor. ____ 3 9. Have the patient read and obey the following “CLOSE YOUR EYES.” (write it in large letters) ____ 1 10. Have the patient write a sentence of his or her choice. (The sentence should contain a subject and an object and should make sense. Ignore ____ 1 spelling errors when scoring.) Instructor’s Manual-Case Study 40
  • 41. Mini-Mental State Examination (MMSE) Score Points 11. Have the patient copy the design. (Give one point if all sides and angles are preserved and ____ 1 if the intersecting sides form a quadrangle.) ___ = Total 30 In validation studies using a cutoff acore of 23 below, the MMSE has a sensitivity of 87% , a specificity of 82%, a false-positive ratio of 39.4%, and a false-negative ratio of 4.7%. These ratios refer to the MMSE’s capacity to accurately distinguish patients with clinically diagnosed dementia or delirium from patients without these syndromes. 41
  • 42. Cognitive Testing Normal placement of hands Abnormal “concrete” clock.
  • 44. DEPRESSION • Single Question: Do You Often Feel Sad Or Depressed? (Sen/spe-.85/.65) • 5 Item Geriatric Depression Scale (Sen/spe- .97/.85) • 15 Item GDS (Sen/spec-.94/.83)
  • 45. Geriatric Depression Scale: GDS-Short Form Choose the best answer for how you felt over the past week. 1. Are you basically satisfied with your life? yes/no 2. Have you dropped many of your activities and interests? yes/no 3. Do you feel that your life is empty? yes/no 4. Do you often get bored? yes/no 5. Are you in good spirits most of the time? yes/no 6. Are you afraid that something bad is going to happen to you? yes/no 7. Do you feel happy most of the time? yes/no 45
  • 46. Geriatric Depression Scale: GDS-Short Form 8. Do you feel helpless? yes/no 9. Do you prefer to stay at home, rather than going our and doing new things? yes/no 10. Do you feel you have more problems with memory than most? yes/no 11. Do you think it is wonderful to be alive now? yes/no 12. Do you feel pretty worthless the way you are now? yes/no 13. Do you feel full of energy? yes/no 14. Do you feel that your situation is hopeless? yes/no 15. Do you think that most people are better off than you are? yes/no 46
  • 47. Geriatric Depression Scale: GDS-Short Form This is the scoring for the scale. One point for each of these answers. Cutoff: normal (0-5), above 5 suggests depression. 1. No 6.Yes 11. No 2.Yes 7. No 12.Yes 3.Yes 8.Yes 13. No 4.Yes 9.Yes 14.Yes 5. No 10.Yes 15.Yes Courtesy Jerome A Yessvage, MD. 47
  • 48. 5 ITEM GDS Yes No (1) Are you basically satisfied with  your life? (2) Do you often get bored?  (3) Do you often feel helpless?  (4) Do you prefer to stay at home rather  than going out and doing new things? (5) Do you feel pretty worthless the way you are now?  0- 1 = not depressed > 2 = depressed *Sens. 97 (.94)/Spec. 85(.83) PPV - .85 (.82) NPV - .97 (.94) Single Question Sen .85/Spec.65 Hoyl, MT et al. Development and Testing of a Five-item Version of the Geriatric Depression Scale. JAGS. 47:873-78, 1999.
  • 50. ข้อมูลที่พึงสังเกต • ผู้สูงอายุที่ไม่มาตามนัด ผู้ดูแลไม่พามาตรวจ • ผู้ดูแลที่ติดสุรา สารเสพติด มีปัญหาสุขภาพจิต • ครอบครัวที่มีปัญหาเศรษฐกิจ ปากกัดตีนถีบ • ผู้ดูแลที่มีลักษณะคุกคาม ข่มขู่ผู้สูงอายุ ไม่ยอมให้ซักถาม ผู้สูงอายุ • ผู้ดูแลที่มีข้อแก้ตัว หงุดหงิดไม่เป็นมิตร ก้าวร้าว • ผู้สูงอายุที่ช่วยตนเองไม่ได้ อยู่ในภาวะพึ่งพา ไม่มีรายได้
  • 51. บทสรุป • ผู้สูงอายุมีลักษณะเฉพาะทางสรีรวิทยา การเจ็บป่วย รวมทั้งจิตใจสังคม มีผลต่อการเจ็บป่วย • การดูแลผูสูงอายุในภาวะฉุกเฉิน ต้องการการดูแลที่ ้ ครอบคลุม • อย่าลืม ! การให้ความสาคัญกับ functional status และ cognitive function ของ ผู้สูงอายุ การประเมินเฉพาะที่เหมาะสม จาเป็นสาหรับผู้สูงอายุ แต่ละราย
  • 52. บทสรุป • การให้ความเอาใจใส่ การมีทัศนะคติที่ดีกับ ผู้ป่วยสูงวัย • การจัดสิงแวดล้อม ส่วนพัก หรือเตียงรอตรวจ ่ ที่เหมาะสม Ageing friendly environment • บุคลากร มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการ สูงอายุ ผู้สูงอายุ