SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 10
Baixar para ler offline
GNR : Episode IV
มนุษยคุมกําเนิด, หุนยนตสืบพันธุ ?!?!
ในขณะที่นักประชากรศาสตรทั่วโลก กําลังพยายามควบคุมจํานวนประชากรโลกไมใหมีมาก
จนเกินไป ดวยเกรงวาจะถึงจุดที่ประชากรมากลนจนทรัพยากรที่มีอยูจํากัดบนผืนพิภพจะไมเพียงพอใหบริโภคและ
แบงปน นักวิทยาศาสตรอีกกลุมหนึ่งก็กําลังพยายามพัฒนาใหหุนยนตสามารถสืบถอดเผาพันธุของมันไดเองโดยไม
จําเปนตองอาศัยการพัฒนาและออกแบบจากมนุษยอีกตอไป คําถามจึงมีอยูวา เราจะใชทฤษฎีวิวัฒนาการที่วา
"สิ่งมีชีวิตที่ฉลาดกวา แข็งแกรงกวาเทานั้นที่จะดํารงชีวิตอยูได" มาใชคาดการณอนาคตของโลกไดหรือไม ?" และ
"คน กับ หุนยนตคอมพิวเตอร ใครมีความฉลาดและความแข็งแกรงมากกวากัน ?" ตลอดจนกระทั่ง หลักการ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เราร่ําเรียนกันมาแตชั้นมัธยมวา "การสืบพันธุ คือ ขอบงชี้ที่แยก สิ่งมีชีวิต ออกจาก
สิ่งไมมีชีวิต" นั้นจะถึงเวลาที่ตองไดรับการวิเคราะหทบทวนใหมแลวหรือยัง ?
จุดเปลี่ยนแหงศตวรรษ
มันเปนที่รับรูกันมานานแลววา หุนยนต นั้น
เปนประดิษฐกรรมของมนุษย เปนผลงานที่แสดงถึงความคิด
สรางสรร และความวิริยะอุตสาหะของผูประดิษฐ โดยที่เรา
อาจจะศึกษายอนประวัติของการประดิษฐหุนยนตกลับไปได
นับเปนพันปจากประวัติศาสตรและตํานานที่ถูกเลาขานกันสืบ
ตอกันมา ไมวาจะเปนเรื่องกองทัพหุนยนตในพงศาวดารสามกก
หรือ มาไมเมืองทรอยแหงมหากาพยโอดิสซี อยางไรก็ตาม การ
รับรูวาหุนยนตเปนผลงานของมนุษยอาจจะตองเปลี่ยนไปใน
อนาคต หากผลการทดลองของนักวิทยาศาสตรกลุมที่กําลัง
พยายามพัฒนาใหหุนยนตมีการสืบพันธ (Mating robots) เพิ่ม
ประชากรขึ้นไดดวยตัวของมันเองสามารถปรากฏขึ้นไดจริงๆ
นิตยสารเพอรซันนัล คอมพิวเตอร เวิลด ฉบับเดือนกันยายนที่ผานมา ระบุวา ริชารด วัตสัน และเซ
วาน ฟซิซี แหงมหาวิทยาลับแบรนเดสในรัฐแมสซาชูเซ็ททกําลังสรางผลงานที่พวกเขาเรียกวา "วิวัฒนาการแหงตัวตน
(Embodied revolution)” โดยมีแนวคิดอยูที่การสรางชุมชนอิสระของหุนยนตขึ้นมาภายใตสภาพแวดลอมที่มี
ลักษณะเฉพาะ แลวเฝารอใหบรรดาหุนยนตเหลานั้นมีการจับคู สืบพันธ และวิวัฒนาการไปดวยตัวของมันเอง
(ผูสนใจในงานนี้อาจเขาไปเยี่ยมชมไดทางเว็บไซท http://demo.cs.brandeis.edu/pr/ee)
ในการทดลองสรางวิวัฒนาการของหุนยนตที่วานี้ พวกเขาไดพัฒนาหุนยนตกระปองรูปแบบงายๆ
ขึ้นมาเรียกวา "ทัปเปอรบ็อท" ซึ่งแตละตัวจะมีขนาดเล็กพอๆ กับจานที่เขี่ยบุหรี่ ภายในตัวถังพลาสติกจะประกอบไป
ดวยอุปกรณตรวจจับสัญญาณแสงสองตัว, ไมโครโพรเซสเซอรควบคุมการทํางานหนึ่งตัว, มอเตอร และอุปกรณรับ/สง
สัญญาณสื่อสารไรสาย สวนพลังงานไฟฟาที่ใชขับเคลื่อนประชากรหุนยนตเหลานี้ก็ไดมาจากพื้นหองที่ติดไวดวยแถบ
ตัวนําไฟฟาแสตนเลส เพื่อนํากระแสไฟฟาเขาไปเลี้ยงหุนยนตผานฐานดานลางที่อยูระหวางลอ สิ่งที่ถือวาคอนขาง
พิเศษในหุนยนตทัปเปอรบ็อตเหลานี้ คือ แตละตัวจะไดรับการปอนขอมูลเฉพาะซึ่งอาจจะเรียกวาเปน "สารพันธุกรรม
(Genetic Algorithm : GA)" ของพวกมันไว
หุนยนตกระปองทุกตัวของริชารดและเซวานมีหนาที่จะตองเคลื่อนที่เขาไปหาแสงไฟที่ติดตั้งไว
กึ่งกลางหอง และดวยโปรแกรมที่กําหนดใหทุกตัวเคลื่อนเขาแสง ทําใหบรรดาหุนยนตพากันไปคราคร่ําอยูที่บริเวณแสง
ไฟ เมื่อหุนยนตสองตัวเคลื่อนเขามาใกลกันในระยะหางที่เหมาะสมก็จะมีการสงผานขอมูลสารพันธุกรรม (GA) ไปมา
ระหวางกันผานอุปกรณสื่อสารไรสาย (ถามองแบบสิ่งมีชีวิต ก็ตองบอกวาหุนยนตสองตัวนี้กําลังผสมพันธุกันอยู) ผล
จากการแลกเปลี่ยนโปรแกรมพันธุกรรมในแบบที่วานี้ สงผลใหหุนยนตทดลองเริ่มมีขอมูลภายในโปรแกรม
เปลี่ยนแปลงไปจากที่ผูทดลองไดเขียนใหไวแตแรก ซึ่งอาจจะเรียกวามีการกลายพันธุ (Mutation) ก็คงได แตที่
นาสนใจยิ่งไปกวานั้นก็คือ ปรากฏวาหลังจากเกิดการกลายพันธุไปแลว หุนยนตกระปองพวกนี้กลับมีความสามารถใน
การเคลื่อนที่เขาหาแสงไดดีขึ้น และนั่นเองคือขอสรุปที่นักทดลองกลุมนี้บอกวาหุนยนตของเขามีวิวัฒนาการ (วิวัฒ =
พัฒนาใหดีขึ้น)
นอก
จากจะมีงานหุนยนต
กลายพันธุของริชารด
และเซวานใหดูแลว
มหาวิทยาลัยแบรนเด
สยังมีงานทดลอง
ลักษณะคลายๆ กัน
ของ ฮ็อด ลิปสัน
(www.demo.cs.bra
ndeis.edu/golem/)
ซึ่งไปไกลถึงขนาดที่วางแผนจะทําใหหุนยนตมีการปรับปรุงรูปรางตนเองไดดวย โดยลิปสันและคณะจะสรางอัลกอริ
ทึ่มสําหรับวิวัฒนาการขึ้นมาบนเครื่องคอมพิวเตอรกอน ทําใหอัลกอริทึ่มที่วานี้สามารถสั่งงานใหเครื่องพิมพสามมิติ
แลวพิมพโครงสรางรางกายของหุนยนตขึ้นมาดวยพลาสติกไวตอความรอน (thermoplastic) ซึ่งหากโครงการนี้สําเร็จ
ทีมงานของลิปสันก็จะถายโอนอัลกอริทึ่มที่วาเขาไปอยูในตัวหุนยนต และจะสงผลใหหุนยนตสามารถสรางอวัยวะของ
ตนเอง สรางแขนสรางขาขึ้นมาได หรือในทายที่สุดก็อาจจะสรางลูกหลานหุนยนตรุนถัดไปขึ้นมาไดดวย
(สําหรับผูที่อยากจะเห็นวาโปรแกรมจําลองแบบการแลกเปลี่ยนพันธุกรรมที่อยูในรูปภาษาจาวานั้นมี
ลักษณะเชนไร ก็อาจจะแวะเวียนไปที่เว็บไซท www.demo.cs.brandeis.edu/~miguel/cgi-bin/Bots/ โดยบนเว็บ
ไซทเดโมของมหาวิทยาลัยแบรนเดสนี้ยังมีบทคัดยอของงานทดลองเกี่ยวกับหุนยนตอยูอีกเปนจํานวนมาก เทาที่
ผูเขียนลองประมาณดูก็นาเกือบครึ่งรอยการทดลองเลยทีเดียว)
ความคึกคักในแวดวงนักสรางหุนยนต
ปจจุบัน วงการวิทยาศาสตรดูเหมือนวาจะใหความสนใจในหุนยนตศาสตร (Robotics) มากเปน
พิเศษ เห็นไดจากการที่มีโครงการวิจัยดานนี้อยูในบรรดามหาวิทยาลัย ในบริษัทผูผลิตคอมพิวเตอร และใน
บริษัทผูผลิตอุปกรณไฟฟาชั้นนําของโลกแทบทุกแหง (ลําพังที่ผูเขียนเคยเก็บมาเลาไวในนิตยสารไอทีซอฟทก็นับวาไม
นอย ไมวาจะเปนการทดลองผาตัดฝงไมโครชิปเขาไปในรางกายของตนเองของ เควิน วอรวิค แหงมหาวิทยาลัยรีด
อังกฤษ หรือ การสรางระบบอินเทอรเฟซที่เลียนแบบหนาตามนุษยของโซนี่)
อยางลาสุดนี้ บริษัทโซนี่ไดผลิตหุนยนตสุนัขไอโบออกมาจําหนายขายดิบขายดี
จนผลิตไมทันแลวถึงสองรุน (หุนยนตสุนัขของโซนี่ นี่ดังขนาดนายกรัฐมนตรี
ญี่ปุนเอามาเปนของขวัญใหกับแขกเมืองสําคัญอยางประธานธิบดีรัสเซียเลยดวย
ซ้ํา)
รูปที่ 1 หุนยนตสุนัขไอโบ (AIBO) เปนหุนยนตตนแบบยอดนิยมอีกตัวที่มักจะถูกนํามาใชทดสอบเรื่องการเคลื่อนไหว
อยางองคการอวกาศนาซาของสหรัฐฯ นั้นก็มีการใหทุนสนับสนุนแกผูวิจัยที่ทํางานดานหุนยนต
ออกมาเปนจํานวนมากดวยความหวังที่จะนําเอาผลงานเหลานี้ไปใชเพื่อการสํารวจอวกาศ รวมทั้งยังมีการดําเนิน
กิจกรรมในลักษณะเรงประชาสัมพันธใหเกิดความตื่นตัวในหมูนักประดิษฐหุนยนตทั้งหลาย ดวยการกอตั้งเว็บไซทชื่อ
NASA Space Telerootics Program (http://ranier.hq.nasa.gov/teleroboticspage/coolrobots.html) และมี
การประกาศเกียรติคุณใหกับผลงานหุนยนตที่เจงที่สุดในแตละสัปดาห (Cool Robot of The Week) ออกมา ซึ่ง
กิจกรรมที่วานี้ก็ไดดําเนินการตอเนื่องมาไดรวมหาป หรือคิดเปนจํานวนหุนยนตที่ไดรับประกาศเชิดชูไปแลวไมนอย
กวา 250 โครงการ
การคัดเลือกผลงานหุนยนตขึ้นมาประกาศเกียรติคุณของนาซานี้อาจจะไมไดมีผลตอบแทนใหกับ
เจาของโครงการในรูปตัวเงิน แตการไดปรากฏชื่อบนเว็บไซทของนาซาก็ถือเปนเกียรติประวัติที่นาภาคภูมิใจไมนอย
อีกทั้งยังเปนชองทางเผยแพรผลงานใหเปนที่รับรูแกสาธารณชนและบรรดาเจาของทุนวิจัยไดเปนอยางดี ตัวอยางของ
หุนยนตที่ไดรับการคัดเลือกใหเปนสุดยอดหุนยนตประจําสัปดาหจากนาซา นับยอนหลังไปสักสองเดือนก็จะมี
ดังตอไปนี้
7 พฤศจิกายน 00 หุนยนตกระโดด (Hopping Robot) เปนหุนขาเดียวทําจากลูกสูบชนิดจุดระเบิด
สามารถโดดไดสูงถึง 20 ฟุต ในแตละครั้ง
30 ตุลาคม 00 หุนยนตเคลื่อนที่ตามเสียงจําลองแบบจากจิ้งหรีด (Phonotaxis in crickets and
robots) เปนเทคโนโลยีที่ไดรับแรงบันดาลใจจากพฤติกรรมของจิ้งหรีด นํามาเปนแนวคิดสําหรัการ
เคลื่อนที่อยางอัตโนมัติของหุนยนต
23 ตุลาคม 00 หุนยนตกุงลอบสเตอร (Robolobster) เปนหุนยนตเคลื่อนที่ใตน้ําที่ใชติดตามรองรอย
มลพิษทางเคมี โดยจําลองรูปแบบการเคลื่อนที่ของกุงลอบสเตอร
16 ตุลาคม 00 งานแขงขันหุนยนตป 2000 (Robot Games 2000) ที่จัดขึ้นโดยสมาคมหุนยนตศาสตร
แหงซานฟรานซิสโก
9 ตุลาคม 00 รถยนต V-Car ซึ่งสามารถควบคุมการดําเนินการตางๆ ไดจากระยะไกล จาก MP3.com
จุดเดนของมันคือรูปแบบการติดตอควบคุมที่สะดวก กระชับ ไมเยิ่นเยอ
2 ตุลาคม 00 ชุดประกอบหุนยนตสําหรับเครื่องพาลม PPRK (the Palm Pilot Robo Kit) เปนแนวคิดที่
จะนําเอาอะหลั่ยเหลือใชขของเครื่องพาลมมาประกอบเขาเปนหุนยนต แทนที่จะปลอยทิ้งไวเปลาๆ
หลังจากการอัพเกรดเครื่อง
รูปที่ 2 หุนยนตตนแบบเคพเพรา (Khepera) ถูกประยุกตไปใชใน
งานศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ตามเสียง ซึ่งจําลองแบบ
จากจิ้งหรีด (Phonotaxis incrickets and robots)
25 กันยายน 00 การแขงขันฟุตบอลหุนยนตป 2000 (FIRA
2000) คําวา FIRA ยอมาจากชื่อสมาพันธแหงสมาคม
ฟุตบอลหุนยนตนานาชาติ (Federation of
International robot-socer association) ซึ่งปนี้จัด
แขงขันขึ้นที่ประเทศออสเตรเลีย ไลๆ กับกีฬาโอลิมปก
18 กันยายน 00 โครงการลูนา 16 (LUNA 16) อันนี้ใหเปนเกียรติ
ประวัติแกโครงการอวกาศของรัสเซีย เพราะในสัปดาหเดียวกันนี้ของเมื่อ 30 ปที่แลว สหภาพ
โซเวียตรัสเซียไดสงหุนยนตนักสํารวจสามตัวขึ้นไปกับยานอวกาศสํารวจดวงจันทร และไดเก็บ
รวบรวมตัวอยางจากพื้นผิวดวงจันทรกลับมายังโลกมนุษยไดสําเร็จ
11 กันยายน 00 โครงการมาโคร (Project Makro) เปนการผลิตหุนยนตตนแบบของสถาบัน GMD
Institute for Autonomous intelligent โดยหุนยนตตัวที่วานี้ประกอบไปดวยชิ้นสวนขอตอเปน
จํานวนมาก สําหรับใชเลื้อยเขาไปสํารวจตามทอตางๆ ที่มนุษยไมสามารถจะเขาไปภึงได
4 กันยายน 00 โครงการโกเลม (Golem Project) เปนการสรางสิ่งมีชีวิตเทียม (Artificial life) ของทีม
วิจัยแหงมหาวิทยาลัยแบรนเดส โดยพยายามออกแบบ ประดิษฐ และจําลองสภาพแวดลอมที่เอื้อ
ตอการเกิดวิวัฒนาการของหุนยนต
นอกเหนือจากบรรดาหุนยนตที่มีโครงการพัฒนากันอยางใหญโต หุนยนตที่นาสนใจอีกประเภท
ไดแก "หุนยนตขยะ" หรือ "จังกบอต" ของมารค ทิลดอน แหงบริษัทโซลาริส เปนผลงานที่เกิดขึ้นจากการเที่ยวเก็บ
รวบรวมวัสดุเหลือใชภายในหองทํางานของของเขามาปะติดปะตอเขาดวยกัน มีทั้งกลไกจากวิทุซาวนอเบาทที่เสียแลว,
เศษชิ้นสวนของเครื่องพิมพ, แถบโซลารเซลลที่เคยใชปอนพลังงานใหกับเครื่องคิดเลข ฯลฯ และโดยสาเหตุที่มันถูก
ผลิตขึ้นมาจากวัสดุเหลือใช หุนยนตแตละตัวของมารค ทิลดอน จึงมีลักษณะเฉพาะที่ไมคอยจะเหมือนใคร มีอยูตัวหนึ่ง
ทํามาจากมอเตอรที่ใชเลื่อนแผนดิสกเขาออกจากไดรฟ มันเคลื่อนที่ดวยการเลื้อยไปมายังกับปลาไหลยุคดึกดําบรรพ
(Lamprey)
แมวาหุนยนตของมารค ทิลดอน จะไมใชหุนที่มีขีดสมรรถนะการทํางานสูงสงโดดเดน แตมันก็
นาสนใจในแงที่สรางแรงบันดาลใจใหกับบรรดาเยาวชนที่มีใจรักดานกลไกอิเล็กทรอนิกสอีกเปนจํานวนมากทั่วโลก
เพราะมันบอกใหพวกเขารูวา ความรูดานหุนยนตนั้นไมจําเปนตองอาศัยเงินทุนหรือเครื่องไมเครื่องมือวิจัยที่วิเศษวิโส
อะไรเลย ขอแคมีความรูความเขาใจ และมีไอเดียที่สรางสรรก็เหลือเฟอแลว หรือถานักประดิษฐหุนยนตรุนเยาจะ
รูสึกมืดแปดดานไมรูจะเริ่มตนพัฒนาหุนยนตขึ้นจากเศษอาหลั่ยอิเล็กทรอนิกสเหลือใชไดอยางไร วงการหุนยนตเขาก็
ยังมีหุนยนตพื้นฐานใหลองเลนลองฝกควบคุมกันได เรียกวาหุนยนตตระกูล K-Robot Family
หุนยนตตระกูล K-Family นี้ประกอบไปดวย องคประกอบพื้นฐาน 3 สวน ไดแก โปรแกรมจําลอง
(Simulation) ซึ่งจัดเปนขั้นแรกของการเรียนรูที่ประหยัดไมสิ้นเปลือง เพราะไมตองลงทุนกับหุนยนตจริงๆ แคติดตั้ง
โปรแกรมแลวทดลองไดเลย สวนถัดมาของ K-Family คือหุนยนต Khepera ขนาดเสนผานศูนยกลาง 5.5 เซนติเมตร
เล็กพอที่จะลองใหเดินเลนไปมาบนโตะอยูใกลๆ คอมพิวเตอรที่ควบคุมมัน และสวนสุดทายคือหุนยนต Koala ซึ่ง
จริงๆ แลวก็มีโครงสรงการทํางานคลายๆ กับ Khepera นั่นแหละ แตมีขนาดใหญโตกวาเยอะ จึงใชสําหรับหนวย
งานวิจัยที่มีพื้นที่กวางขวางเพียงพอที่จะใหเจานี่เดินเลนไปมาได
แนวคิดใหมในการพัฒนาหุนยนต
นอกจากแนวความคิดที่จะนําเอาชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสมา
สรางหุนยนตที่จําลองการเคลื่อนไหวของสิ่งมีชีวิตแลว ก็ยังมีนักวิทยาศาสตรอีก
กลุมที่พยายามศึกษาหุนยนตศาสตรในทิศทางที่ดูเหมือนวาจะสวนทางกับกลุมที่
ไดกลาวถึงมาแลวขางตน คือ ใชวิธีเลาะเอาระบบประสาทของสิ่งมีชีวิตมาใช
สั่งงานกลไกอิเล็กทรอนิกสแทน เชนงานของวิตตอริโอ แซงกวินเนติ แหง
มหาวิทยาลัยเจนัว ที่เลาะเอาสมองและแนวไขสันหลังของปลาไหล (lamprey)
มาขึงติดไวกับหุนยนตทดลองพื้นฐาน Khepera ซึ่งมีลักษณะเหมือนขวดแยม
ติดลอยังไงยังงั้น จากนั้น วิตตอริโอ ไดทดลองกระตุนเนื้อสมองของปลาไหลดวยการสองไฟเขาไปที่กลุมเซลล
ประสาทรับสัมผัส นาแปลกวาสมองของเจาปลาไหลเคราะหรายนั้นสามารถสั่งงานใหหุนยนตกระปองเคลื่อนที่ใน
ลักษณะที่ตอบสนองกับแสงไฟไดดวย (หากเราจะจินตนาการตอไป ผลลัพธสุดทายของการทดลองประเภทอาจจะ
นําไปสูวิธีกระตุนใหผูปวยอัมพาตตั้งแตคอลงไปสามารถเคลื่อนไหวรางกายของตนได)
ที่นาแปลกใจอีกอยางคือ ดูเหมือนวาบรรดานักวิทยาศาสตรที่ทํางานดานหุนยนตชีวภาพ (Biological
Robots) เหลานี้จะมีความนิยมใชปลาไหลเปนสัตวทดลองเสียจริงๆ (ไมรูวามีเหตุผลอะไรอยางอื่นอีก นอกเหนือจาก
ความนิยม ที่ทําใหเซลลประสาทของปลาไหลถูกนํามาวิเคราะหเจาะลึกกันจนทะลุปรุโปรงไปหมด) อยางงานวิจัยของ
ศาสตราจารย บิลล ดิตโต แหงมหาวิทยาลัยจอรเจียเท็คนั้นก็เปนการเก็บเอาเซลลประสาทของปลาไหล (Leech) มา
เลี้ยงรวมกันไวในจานทดลอง แลวลองปอนตัวเลขเขาไปเพื่อดูการตอบสนองของเซลลประสาทดังกลาว ซึ่งทีมวิจัย
พบวามันมีการตอบสนองที่แตกตางกันไปในแตละตัวเลขประหนึ่งวามันสามารถคํานวนตัวเลขได พวกเขาเลยเรียกมัน
แบบชวนใหขันวา Leechulator โดยเลียนแบบคําวา Calculator ที่แปลวาเครื่องคิดเลข
อยางไรก็ตาม การนําเอาเซลลประสาทของสิ่งมีชีวิตมาใชศึกษาและพัฒนาขึ้นเปนหุนยนตนั้นยังไม
อาจจะนับวาเปนแนวคิดใหมของการประดิษฐหุนยนตไดอยางแทจริง เพราะจริงๆ แลว มนุษยเราไดอาศัยการเฝา
สังเกตุพฤติกรรมของสัตวอื่นๆ มาใชประดิษฐเครื่องจักรกล และหุนยนตขึ้นมานับเปนพันๆ ปแลว สิ่งที่นาจะถือเปน
ปรากฏการณใหมในแวดวงของนักประดิษฐหุนยนตไดอยางแทจริงนาจะอยูที่แนวคิดที่มีการนําเอาศาสตรสมัยใหม
อยางคอมพิวเตอร พันธุวิศวกรรม และจุณเทคโนโลยีมาใชเพื่อการสรางหุนมากกวา
นั่นคือ เวลาที่ตองการจะสรางหุนยนตสักหนึ่งตัว สมัยกอนก็คงตองรางแบบไวในพิมพเขียว แลวเที่ยว
ไปหาอะหลั่ย หรือสั่งทําชิ้นสวนกลไกที่ตนตองการมาเพื่อปะกอบกันเขาเปนตัวหุน หลังจากนั้น เมื่อประกอบหุนเสร็จ
แลวก็ยังไมแนวาจะทํางานไดดั่งใจของผูออกแบบ ยังตองมีการปรับแกตรงนั้นตรงนี้อีกหลายรอบกวาจะออกมาเปน
หุนยนตตนแบบดังใจของผูสราง แตในอนาคตอันใกลนี้ ผูออกแบบหุนยนตจะใชวิธีสรางหุนของตนเองขึ้นมาบน
เครื่องคอมพิวเตอรกอน แลวก็ใชโปรแกรมจําลองการทํางาน (Simulation) ทดสอบดูวาหุนของตนจะเคลื่อนไหวและ
ตอบสนองไดอยางที่ตนตองการไดหรือไม หากไมไดก็ปรับแกกันเสียตั้งแตที่ยังเปนแคขอมูลบนเครื่องคอมพิวเตอรนี่แห
ละ
หลังจากที่ไดหุนตนแบบในรูปของขอมูลคอมพิวเตอรออกมาแลว ผูออกแบบหุนก็จะสั่งใหเครื่อง
ประกอบหุนผลิตหุนใหออกมาเหมือนอยางที่ตนเองไดออกแบบไวโดยไมตองลองผิดลองถูก (ตรงนี้แหละคือจุดที่ศาสตร
ดานจุณเทคโนโลยีจะเขามาเกี่ยวของไดในอนาคต) ซึ่งในระยะแรกๆ นั้นตัวหุนอาจจะมีความหยาบอยูคอนขางมาก
เพราะชิ้นสวนตางๆ ในรางกายของหุนนั้นจะยังคงเปนชิ้นสวนใหญๆ ที่เวลาตอเรียงกันขึ้นมาแลวดูเหมือนหุนเลโกของ
เด็กๆ (โครงการวิจัย Golem Project ของมหาวิทยาลัยแบรนเดส คือ โครงการหนึ่งที่พยายามสรางชิ้นสวนเลโกเล็กๆ
พวกนี้ขึ้นมาเพื่อใชประกอบเปนตัวหุน เชน ชิ้นสวนกลุมหนึ่งใชสําหรับเปนสวนขอตอ กลุมหนึ่งใชเปนระบบประสาท
กลุมหนึ่งใชเปนตัวเคลื่อนไหวเหมือนมัดกลามเนื้อ และอีกสวนหนึ่งอาจจะถูกออกแบบมาใหเปนพื้นผิวที่ใชตกแตง
ภายนอกตัวหุน)
รูปที่ 3 แสดงใหเห็นวิธีการเปลี่ยนแบบจําลองหุนยนตในรูปโปรแกรมคอมพิวเตอรใหกลายมาเปนหุนยนตตัวจริงของ
โครงการกาเล็ม แหงมหาวิทยาลัยแบรนเดส
พระเจาสราง, มนุษยทําลาย ?
จากที่กลาวผานๆ มา ดูเหมือนวาเทคโนโลยีหุนยนตศาสตรจะมีแตดานดี และเปนการพัฒนาไปสู
ความเจริญของโลก แตผูเขียนเองก็ยังไมคอยมั่นใจนักวามันจะไมมีดานที่เลวรายแฝงอยูดวย เชนในบทความจีเอ็นอาร
ที่ผานๆ มา ผูเขียนไดยกตัวอยางถึงเหตุการณหลายตอหลายครั้งที่ความฉลาดของมนุษยไดนําไปสูการทําลายตนเองได
อยางเหลือเชื่อ ไมวาจะเปนการเกิดสงครามโลก การผลิตอาวุธมหาประลัย
นิวเคลียร อาวุธเคมี อาวุธชีวภาพ หรือการที่มนุษยทําลายสภาพแวดลอมรอบๆ
ตัวเองลงไปทุกเมื่อเชื่อวัน ซึ่งในทายที่สุด ผูเขียนจึงไดสรุปไวในบทความ
"พุทธศาสตรฉุดโลกพนหายนะ" วาแนวทางที่ถูกตองของการพัฒนาเทคโนโลยี
นั้น ควรจะเปนแนวทางที่ไดนําเอาหลักทางพุทธศาสนามากํากับ โดยไดอางอิงถึง
ความเชื่อของบิลล จอย, คําสอนของทานทไลลามะ และพระธรรมปฎก (ป.อ.
ปยุตต ปยุตโต) มาประกอบ
อยางไรก็ตาม การที่จะใหบรรดานักวิทยาศาสตรผูสราง
เทคโนโลยีนอมรับเอาคําสอนทางพุทธศาสนาไปใชปฏิบัติอาจจะทําไดยากยิ่ง
เพราะผูพัฒนาเทคโนโลยีสวนใหญมักจะไมใชพุทธศาสนิก บางทานอาจจะไมเคย
ไดสัมผัสกับพุทธธรรมเลยตั้งแตเกิดจนตาย บางทานอาจจะไดเคยสัมผัสมาบางแตติดขอหามทางศาสนาของตนวา
ไมใหนับถือศรัทธาในคําสอนของศาสดาองคอื่นๆ ที่นอกเหนือจากศาสดาของตนเอง
เมื่อกลาวถึงเรื่องศาสนา หลวงพอพุทธทาสไดแบงศาสนาบนโลกนี้ไวเปนสองกลุมเพื่อความเขาใจงาย
กลุมหนึ่งเรียกวา กลุมที่มีผูสราง (Creator) อีกกลุมหนึ่งเรียกวา กลุมที่ไมมีผูสราง โดยทั้งสองกลุมตางมีวิถีและ
แนวทางปฎิบัติที่มุงเนนใหคนทําดี เพื่อสังคมที่รมเย็นเปนสุขดวยกันทั้งนั้น เพียงแตกลุมศาสนาที่มีผูสรางอันไดแก
คริสต อิสลาม ฮินดู ฯลฯ นั้น ไดระบุไวในคัมภีรอยางชัดเจนถึงการสรางโลกของพระเจา โดยเฉพาะคริสตดวยแลวจะ
มีเรื่องราวของการสรางสิ่งมีชีวิต อยางอาดัม และอีฟที่เปนมนุษยสองคนแรกที่เสวยสุขอยูในสวนอีเดน จนกระทั่งถูก
พระเจาขับไลออกจากแดนสวรรคเพราะละเมิดขอหามเรื่องกินผลไมที่ถูกสั่งไวแตแรก
เรื่องแปลกก็คือ ขณะที่นักวิทยาศาสตรผูประดิษฐเทคโนโลยีในโลกสวนใหญมักจะเปน
คริสตศาสนิกชน ซึ่งเชื่อในเรื่องพระเจาและการสรางโลก แตกลุมชนกลุมเดียวกันนี้ก็เปนผูบุกเบิกและพิสูจนใหเห็น
จริงถึงทฤษฎีวิวัฒนาการ (evolution) เรื่องโลกเย็นตัวลง และการคัดเลือกพันธตามธรรมชาติ นาแปลกที่พวกเขา
สามารถแยกการรับรูสองอยางนี้ออกจากกันได คือโลกจะมีวิวัฒนาการมาหลังจากหลุดออกจากดวงอาทิตยและเย็นตัว
ลงเชนไรก็เปนเรื่องหนึ่ง พระเจาจะสรางโลกเสร็จภายในเจ็ดวัน และสรางมนุษยคนแรกขึ้นมาเปนอาดัมเชนไรก็เปน
อีกเรื่องหนึ่ง
กระนั้น เมื่อบทบาทการเปนผูสรางของพระเจาเริ่มถูกทาทาย เพราะมีมนุษยบางกลุมพยายาม
เปลี่ยนบทบาทมาเปนผูสรางบางโดยอาศัยเทคโนโลยีจีเอ็นอาร (พันธุวิศวกรรม, จุณเทคโนโลยี และ หุนยนตศาสตร)
มันก็ทําใหเกิดเปนประเด็นใหถกวิเคราะหตามมาอยางมากมายในกลุมนักวิทยาศาสตรตะวันตก ผูเปนทั้งนักสราง
เทคโนโลยี และคริสตศาสนิกชน ปจจุบัน เราจึงไดเห็นเว็บไซทจํานวนมากที่พยายามดึงเอาเรื่องราวในพระคัมภีร
กลับมาศึกษาตีความกันใหมโดยเฉพาะประเด็นที่วา "ถูกตองแลวหรือ ที่พระเจาสรางมนุษย แลวมนุษยเองก็พยายาม
จะสรางสิ่งมีชีวิตพันธุใหม หรือมนุษยพันธุใหมที่เรียกวา "หุนยนต" ขึ้นมา
ตัวอยางของพระคัมภีรสวนที่ถูกนํามาถกวิเคราะหกันมาก
เปนพิเศษก็คือ บทที่ 2 และ 3 ของ "เจเนซิส" ซึ่งกลาวถึงอาดัม และอีฟ ที่แต
แรกนั้นดํารงชีพแบบมีความสุขอยางไรเดียงสาอยูในสวนสววรคอีเดน พระ
เจาตรัสอนุญาตใหมนุษยคูแรกของโลกนี้สามารถเก็บกินผลไมทุกชนิดที่ขึ้นใน
สวนได ยกเวนตนไมแหงความรับรูถึงความชั่วและความดี (Tree of
Knowledge of Good and Evil) แตแลวมนุษยทั้งสองไดถูกลอลวงจาก
ซาตานในรูปของอสรพิษ (serpent) วาการกินผลไมจากตนไมดังกลาวจะชวย
ใหทั้งสองฉลาดขึ้น พวกเขาจึงไดละเมิดคําสั่ง แลวก็เกิดความละอายใน
รางกายที่เปลือยเปลาของตนเอง ตองหาใบไมมาปกปดที่อวัยวะเพศ
เมื่อพระเจาปรากฏตัวขึ้น และสอบถามถึงสาเหตุที่ตอง
นําเอาใบไมมาปกปดอวัยวะของตน อีฟก็สารภาพผิดพรอมกลาวโทษไปที่อสรพิษ จากนั้นอาดัมก็เลยสารภาพบางแต
กลาวโทษไปที่อีฟ แถมยังลามปามไปกลาวโทษพระเจาเสียอีกวาเปนเพราะ "ผูหญิงที่ทานประทานใหขาพเจา (the
woman You gave me" พระเจาจึงทรงลงโทษมนุษยทั้งสองดวยการขับไลออกจากสวนอีเดน พรอมกับทัณฑ 3
ประการ หนึ่ง ใหผูหญิงตองทนทุกขทรมาณจากการใหกําเนิดบุตร สอง ผูชายจะไมสุขสบายในการดํารงชีวิตอีกตอไป
แตจะตองทํางานจนเหงื่อโทรมกาย สาม มนุษยจะไมเปนอมตะ และจะตองรับรูดวยวาตนเองนั้นจะตองตายสักวัน
หนึ่ง
จากเรื่องราวที่บันทึกไวในคัมภีรเจเนซีสนี้ หากมองกันดวยสายตาของคนนอกศาสนาเชนผูเขียนก็อด
จะสงสัยวา มีความเปนไปไดมากนอยเพียงไรที่มนุษยคูแรกนี้อาจจะเปนหุนยนตที่ถูกสรางขึ้นโดยพระเจา ผูสราง
สภาพแวดลอมที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตไวอยางพรอมสรรพภายในไบโอโดม หรือที่รูจักกันในชื่อสวนอีเดน
หุนยนตคูนี้แรกๆ ก็มีความไรเดียงสาเฉกเชนทารกเกิดใหมทั่วๆ ไปที่ไมเคยไดสัมผัสถึงการ เกิด แก เจ็บ ตาย และ ไตร
ลักษณ (อนิจจังง ทุกขัง อนัตตา) อันเปนความจริงแทของโลกเรา แตหลังจากที่พวกเขาเติบโตขึ้น พวกเขาจึงเริ่ม
ตระหนักถึงสภาพแวดลอมในฐานะของผูใหญ สวนการนําเอาใบไมมานุงหม และการกินแอปเปลนั้นอาจจะเปนผลตอ
เนื่องมาจากความเปนผูใหญของคนทั้งคู นั่นคือ เริ่มรูจักปฏิเสธการเชื่อฟง (Disobedient)
อยางไรก็ดี ประเด็นที่ผูเขียนยกขึ้นมานี้ ไมใชแนวความคิดใหมของผูเขียนเอง แตเปนผลสืบ
เนื่องมาจากการอานบทสนมนาระหวางนักวิทยาศาสตร "เคน โกลดเบิรก" และและนักศาสนาศาสตร "โอวิด จาคอบ"
ซึ่งปรากฏอยูบนเว็บไซท hhttp://www.sirius.com/~ovid/agr.html โดยเคนไดสรุปเรื่องราวของพระเจา, อาดัม
และอีฟไวอยางนาสนใจวา "เมื่อใดก็ตาม ที่ผูสรางรูสึกวาสูญเสียการควบคุมสิ่งที่เปนผลงานของตน เวลานั้นแหละ คือ
จุดเริ่มตนของพัฒนาการแหงตัวผลงานเอง" และ "ในความเปนจริงแลว พระเจาอาจจะไมไดพิโรธอะไรตอมนุษยทั้ง
สองเลยดวยซ้ํา เพราะทานทรงทราบดีอยูแลววา การปฏิเสธความเชื่อฟงตอพระองคนั้นเปนสวนหนึ่งของการเติบโต
ของมนุษย"
อันความรู รูกระจางแตอยางเดียว .......
แม เคน โกลดเบิรก และ โอวิด จาคอบ จะเปนคริสเตียนที่มีใจเปดกวางขนาดนําเอาเนื้อหาในคัมภีร
มาวิเคราะหและตีความใหม แตเขาก็ไมสนับสนุนความคิดของนักวิทยาศาสตรสมัยใหมที่จะเที่ยวไปสรางโนนสรางนี่
แขงกับพระเจา (God) หรือธรรมชาติ (Mother Nature) เพราะประวัติศาสตรที่ผานมาไดใหบทเรียนแกมนุษยมา
หลายตอหลายครั้งวาการฝนธรรมชาตินั้นมักจะนํามาซึ่งมหันตภัย โดยเฉพาะการสรางสิ่งที่ใหญโตเกินกวาที่ผูสรางจะ
ควบคุมไดดวยแลว สุดทายมนุษยผูสรางก็อาจจะตกเปนเหยื่อของผลงานตนเองไดในที่สุด เปรียบเหมือน
ศาสตราจารยแฟรงเกนสไตนที่ตองประสบชะตากรรมถึงชีวิตจากซากศพอันเปนผลงานที่ตนเองพยายามปลุกชีพขึ้นมา
หรือหากจะยกตัวอยางที่ใกลตัว ก็ไดแก การที่บรรดานักวิทยาศาสตรรุนแรกๆ ที่มีสวนรวมในการ
พัฒนามหันตภัย นิวเคลียร อาวุธชีวภาพ หรืออาวุธเคมีทั้งหลายขึ้นมา แรกๆ พวกเขาเหลานี้ก็อาจจะมีเจตนาแงดี แต
เมื่อผลงานเหลานี้พนออกจากการควบคุมของผูพัฒนาคนแรก ไปสูผูพัฒนาคนที่สอง ที่สาม .... ตัวผลงานก็เริ่มจะ
ใหญโตจนเกิดขีดความสามารถของผูสรางเทคโนโลยีคนแรกๆ จะจํากัดขอบเขตการใชประโยชนจากมันได สุดทาย
เราจึงไดเห็นคนญี่ปุนที่โอกินาวา และนางาซากิ ตองตายไปนับเปนแสนคน โดยที่อัลเบิรต ไอนสไตน เจาของทฤษฎี
สัมพันธภาพนึกไมถึง และในขณะที่ ออพเพนไฮเมอรหัวหนาทีมวิจัยแมนฮัตตันก็ขี้ขลาดเกินกวาจะหยุดยั้งโครงการ
สรางระเบิดนิวเคลียรลงเสียตั้งแตตอนที่สัมพันธมิตรมีชัยชนะเหนือนาซีในยุโรป
ตรงนี้แหละ ที่เคน โกลดเบิรก ใชสนับสนุนแนวคิดของเขาที่วา "เมื่อใดที่ผูสรางสูญเสีย
ความสามารถในการควบคุมผลงาน นั่นคือ จุดเริ่มตนการพัฒนาของตัวผลงานเอง (The event wherein the
creator loses control of the creature is a necessary step toward the development of the
creature)" เชน กรณีของอาดัม และอีฟนั้น จุดที่มนุษยเริ่มไมเชื่อฟงพระเจาคือจุดเริ่มตนของวิวัฒนาการมนุษย
ในขณะที่จุดซึ่งนักวิทยาศาสตรในทีมวิจัยแมนฮัตตันเริ่มไมสามารถบอกยกเลิกงานวิจัยของตนเองได ก็เปนจุดเริ่มตน
ของวิวัฒนาการอาวุธนิวเคลียรเชนเดียวกัน
แนวความคิดของ เคน โกลดเบิรก นี้นับวานาสนใจมากเมื่อนํามาประกอบกับการพิจารณาเรื่อง
วิวัฒนาการของหุนยนต เพราะถาหากนักวิทยาศาสตรสรางหุนยนตที่สามารถสืบพันธุดวยตนเองขึ้นมาได โดยไม
วางแผนควบคุมใหดีใหรอบคอบ มันก็อาจจะนํามาซึ่งปญหาอันหนักหนวงแสนสาหัสไดในอนาคตเมื่อหุนยนตเริ่มรูจัก
ปฏิเสธการควบคุมจากผูสราง เชน นักวิทยาศาสตรที่พัฒนาหุนยนตสํารวจทองทะเลลึกหรือหุนยนตสํารวจอวกาศ ที่
ตองอยูภายใตบรรยากาศที่มนุษยไมสามารถจะดํารงชีพอยูได อาจจะอยากทําใหหุนยนตของตนสามารถสืบพันธและ
เพิ่มปริมาณไดเอง เพื่อเปนประโยชนตอการสํารวจ แตถาหากการเพิ่มปริมาณนั้นเกินขีดความควบคุม เกิดมีหุนยนต
ตัวเล็กตัวนอยกลาดเกลื่อนไปทั่วทองสมุทรก็คงจะเปนมหันตภัยอยางใหญหลวงของโลก เพราะไปรบกวนระบบนิเวศน
ใตทองน้ํา
ดังนั้น นักวิทยาศาสตรทุกคนที่เกี่ยวของการสรางสรรประดิษฐกรรมใหมๆ จึงควรตองระมัดระวัง
ผลงานของตนไมใหกอปญหาติดตามมา โดยเฉพาะปญหาที่เกิดขึ้นจากการแกปญหา หรือที่เรียกวา "Technofix" ซึ่ง
เปนศัพทที่ถูกบัญญัติขึ้นมาใชประชดประชันวิธีการแกปญหาที่ผูแกมีความรูเฉพาะเพียงดานใดดานหนึ่ง ทําใหเมื่อแก
ประเด็นปญหาหนึ่งไปแลว กลับกลายไปเปนปญหาใหมที่ใหญโตหนักหนวงขึ้นไปอีก ยกตัวอยางเชน นักเทคโนที่ไมมี
ความรูดานชีววิทยา หรือสังคมศาสตร มีแตความรูเรื่องวิศวกรรม และการคํานวนตนทุนกอสราง เมื่อเดินสายไฟ
สายโทรศัพทไปเจอตนไมใหญอายุพันปขวางทางอยูก็อาจจะตัดสินใจตัดโคนไมลงดวยเห็นวาเปนวิธีการเดินสายที่
ถูกตองที่สุด ประหยัดที่สุด โดยไมรูเลยวาตนไมดังกลาวนั้นมีคุณคามากเพียงใดในแงของชีววิทยา ระบบนิเวศน หรือ
คุณคาในทางจิตใจของผูคนในชุมชน
หรือในกรณีนักสรางเขื่อนก็อาจจะเปน Technofix ได
เชนเดียวกัน คือผูสรางเขื่อนอาจจะมองแตในแงของความคุมคาของ
ปริมาณกระแสไฟ การเก็บกักน้ําไวในหนาแลงเพื่อเพิ่มผลผลิตทาง
การเกษตรเชิงทุนนิยม แตลืมประเมินคาของปาไมอันอุดมสมบูรณที่เสีย
ไป ระบบนิเวศนที่แปรปรวน โรคภัยไขเจ็บชนิดใหมๆ ที่อาจจะติดตาม
มา ฯลฯ สําหรับวิธีการแกปญหาที่ถูกตองนั้น ผูเขียนอยากจะยกคํา
สอนของพระธรรมปฎก ที่ทานไดเคยสอนไววา ชาวพุทธจะตองมอง
ปญหาใหเปน คือจะตองมองใหรูซึ้งซึ่งสาเหตุ มองอยางครอบคลุม และ
สืบเนื่อง (Dynamic & Continuous) ไมมองอะไรเพียงดานเดียว หรือมองเสมือนวาทุกอยางหยุดนิ่งอยูกับที่
เอกสารอางอิง
1. Tom Howard "Mating Robots" Personal Computing World, September 2000, 158
2. Rodney Brooks Artificial Life : From robot dreams to Reality Nature 406, 945 - 947 August 2000
3. Hod Lipson and Jordan B. Pollack Automati and manufacture of robotic lifeforms Nature 406, 974 - 978
August 2000
4. Sci/Tech Biological computer born (http://news.bbc.co.uk/hi/english/sci/tech/newsid358000/358822.stm)
5. KhepOnTheWeb (http://diwww.epfl.ch/lami/robots/K-Family/KOTW/khepera.html)
6. NASA Space Telerobotics Program "Cool Robot Of The Week" (http://ranier.hq.nasa.gov/teleroboticspage/coolrobots.html)
7. DEMO : Dynmical & Evolutionary Machine Organization (http://www.demo.cs.brandeis.edu/pr/robotics.html
8. สุรพล ศรีบุญทรง GNR: episode I, II, II “2001 นับถอยหลังสูการสูญพันธุของมนุษย” “เทคโนโลยีจีเอ็นอาร, ภัยแฝง
เรน” “พุทธศาสตรฉุดโลกพนหายนะ” นิตยสารไอทีซอฟท ปที่ 9 ฉบับที่ 99,, 100, และ 102

Mais conteúdo relacionado

Mais de Surapol Imi

เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้านเคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้านSurapol Imi
 
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102 เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102 Surapol Imi
 
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์Surapol Imi
 
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ตแนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ตSurapol Imi
 
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงSurapol Imi
 
Personal videoconference system
Personal videoconference systemPersonal videoconference system
Personal videoconference systemSurapol Imi
 
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998Surapol Imi
 
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐVan  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐSurapol Imi
 
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์Surapol Imi
 
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคนTelecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคนSurapol Imi
 
Realtime computing
Realtime computingRealtime computing
Realtime computingSurapol Imi
 
Psion vs win ce
Psion vs  win ce Psion vs  win ce
Psion vs win ce Surapol Imi
 
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96Surapol Imi
 
อุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctvอุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctvSurapol Imi
 
คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000Surapol Imi
 
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋าคอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋าSurapol Imi
 
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิด
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิดOpen doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิด
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิดSurapol Imi
 
กลิ่น สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
กลิ่น  สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด กลิ่น  สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
กลิ่น สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด Surapol Imi
 
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objectsObject oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objectsSurapol Imi
 

Mais de Surapol Imi (20)

เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้านเคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
 
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102 เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
 
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
 
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ตแนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
 
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
 
Personal videoconference system
Personal videoconference systemPersonal videoconference system
Personal videoconference system
 
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
ปกิณกะคดีในแวดวงพีซีปี1998
 
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐVan  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
 
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
 
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคนTelecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
 
Realtime computing
Realtime computingRealtime computing
Realtime computing
 
Psion vs win ce
Psion vs  win ce Psion vs  win ce
Psion vs win ce
 
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
 
อุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctvอุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctv
 
PCI local bus
PCI  local busPCI  local bus
PCI local bus
 
คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000
 
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋าคอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
 
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิด
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิดOpen doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิด
Open doc คำจำกัดความใหม่ของระบบเปิด
 
กลิ่น สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
กลิ่น  สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด กลิ่น  สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
กลิ่น สื่อมัลติมีเดียชนิดล่าสุด
 
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objectsObject oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
 

Gnr4 มนุษย์คุมกำเนิด หุ่นยนต์สืบพันธุ์

  • 1. GNR : Episode IV มนุษยคุมกําเนิด, หุนยนตสืบพันธุ ?!?! ในขณะที่นักประชากรศาสตรทั่วโลก กําลังพยายามควบคุมจํานวนประชากรโลกไมใหมีมาก จนเกินไป ดวยเกรงวาจะถึงจุดที่ประชากรมากลนจนทรัพยากรที่มีอยูจํากัดบนผืนพิภพจะไมเพียงพอใหบริโภคและ แบงปน นักวิทยาศาสตรอีกกลุมหนึ่งก็กําลังพยายามพัฒนาใหหุนยนตสามารถสืบถอดเผาพันธุของมันไดเองโดยไม จําเปนตองอาศัยการพัฒนาและออกแบบจากมนุษยอีกตอไป คําถามจึงมีอยูวา เราจะใชทฤษฎีวิวัฒนาการที่วา "สิ่งมีชีวิตที่ฉลาดกวา แข็งแกรงกวาเทานั้นที่จะดํารงชีวิตอยูได" มาใชคาดการณอนาคตของโลกไดหรือไม ?" และ "คน กับ หุนยนตคอมพิวเตอร ใครมีความฉลาดและความแข็งแกรงมากกวากัน ?" ตลอดจนกระทั่ง หลักการ พื้นฐานทางชีววิทยาที่เราร่ําเรียนกันมาแตชั้นมัธยมวา "การสืบพันธุ คือ ขอบงชี้ที่แยก สิ่งมีชีวิต ออกจาก สิ่งไมมีชีวิต" นั้นจะถึงเวลาที่ตองไดรับการวิเคราะหทบทวนใหมแลวหรือยัง ? จุดเปลี่ยนแหงศตวรรษ มันเปนที่รับรูกันมานานแลววา หุนยนต นั้น เปนประดิษฐกรรมของมนุษย เปนผลงานที่แสดงถึงความคิด สรางสรร และความวิริยะอุตสาหะของผูประดิษฐ โดยที่เรา อาจจะศึกษายอนประวัติของการประดิษฐหุนยนตกลับไปได นับเปนพันปจากประวัติศาสตรและตํานานที่ถูกเลาขานกันสืบ ตอกันมา ไมวาจะเปนเรื่องกองทัพหุนยนตในพงศาวดารสามกก หรือ มาไมเมืองทรอยแหงมหากาพยโอดิสซี อยางไรก็ตาม การ รับรูวาหุนยนตเปนผลงานของมนุษยอาจจะตองเปลี่ยนไปใน อนาคต หากผลการทดลองของนักวิทยาศาสตรกลุมที่กําลัง พยายามพัฒนาใหหุนยนตมีการสืบพันธ (Mating robots) เพิ่ม ประชากรขึ้นไดดวยตัวของมันเองสามารถปรากฏขึ้นไดจริงๆ นิตยสารเพอรซันนัล คอมพิวเตอร เวิลด ฉบับเดือนกันยายนที่ผานมา ระบุวา ริชารด วัตสัน และเซ วาน ฟซิซี แหงมหาวิทยาลับแบรนเดสในรัฐแมสซาชูเซ็ททกําลังสรางผลงานที่พวกเขาเรียกวา "วิวัฒนาการแหงตัวตน (Embodied revolution)” โดยมีแนวคิดอยูที่การสรางชุมชนอิสระของหุนยนตขึ้นมาภายใตสภาพแวดลอมที่มี ลักษณะเฉพาะ แลวเฝารอใหบรรดาหุนยนตเหลานั้นมีการจับคู สืบพันธ และวิวัฒนาการไปดวยตัวของมันเอง (ผูสนใจในงานนี้อาจเขาไปเยี่ยมชมไดทางเว็บไซท http://demo.cs.brandeis.edu/pr/ee) ในการทดลองสรางวิวัฒนาการของหุนยนตที่วานี้ พวกเขาไดพัฒนาหุนยนตกระปองรูปแบบงายๆ ขึ้นมาเรียกวา "ทัปเปอรบ็อท" ซึ่งแตละตัวจะมีขนาดเล็กพอๆ กับจานที่เขี่ยบุหรี่ ภายในตัวถังพลาสติกจะประกอบไป ดวยอุปกรณตรวจจับสัญญาณแสงสองตัว, ไมโครโพรเซสเซอรควบคุมการทํางานหนึ่งตัว, มอเตอร และอุปกรณรับ/สง สัญญาณสื่อสารไรสาย สวนพลังงานไฟฟาที่ใชขับเคลื่อนประชากรหุนยนตเหลานี้ก็ไดมาจากพื้นหองที่ติดไวดวยแถบ ตัวนําไฟฟาแสตนเลส เพื่อนํากระแสไฟฟาเขาไปเลี้ยงหุนยนตผานฐานดานลางที่อยูระหวางลอ สิ่งที่ถือวาคอนขาง
  • 2. พิเศษในหุนยนตทัปเปอรบ็อตเหลานี้ คือ แตละตัวจะไดรับการปอนขอมูลเฉพาะซึ่งอาจจะเรียกวาเปน "สารพันธุกรรม (Genetic Algorithm : GA)" ของพวกมันไว หุนยนตกระปองทุกตัวของริชารดและเซวานมีหนาที่จะตองเคลื่อนที่เขาไปหาแสงไฟที่ติดตั้งไว กึ่งกลางหอง และดวยโปรแกรมที่กําหนดใหทุกตัวเคลื่อนเขาแสง ทําใหบรรดาหุนยนตพากันไปคราคร่ําอยูที่บริเวณแสง ไฟ เมื่อหุนยนตสองตัวเคลื่อนเขามาใกลกันในระยะหางที่เหมาะสมก็จะมีการสงผานขอมูลสารพันธุกรรม (GA) ไปมา ระหวางกันผานอุปกรณสื่อสารไรสาย (ถามองแบบสิ่งมีชีวิต ก็ตองบอกวาหุนยนตสองตัวนี้กําลังผสมพันธุกันอยู) ผล จากการแลกเปลี่ยนโปรแกรมพันธุกรรมในแบบที่วานี้ สงผลใหหุนยนตทดลองเริ่มมีขอมูลภายในโปรแกรม เปลี่ยนแปลงไปจากที่ผูทดลองไดเขียนใหไวแตแรก ซึ่งอาจจะเรียกวามีการกลายพันธุ (Mutation) ก็คงได แตที่ นาสนใจยิ่งไปกวานั้นก็คือ ปรากฏวาหลังจากเกิดการกลายพันธุไปแลว หุนยนตกระปองพวกนี้กลับมีความสามารถใน การเคลื่อนที่เขาหาแสงไดดีขึ้น และนั่นเองคือขอสรุปที่นักทดลองกลุมนี้บอกวาหุนยนตของเขามีวิวัฒนาการ (วิวัฒ = พัฒนาใหดีขึ้น) นอก จากจะมีงานหุนยนต กลายพันธุของริชารด และเซวานใหดูแลว มหาวิทยาลัยแบรนเด สยังมีงานทดลอง ลักษณะคลายๆ กัน ของ ฮ็อด ลิปสัน (www.demo.cs.bra ndeis.edu/golem/) ซึ่งไปไกลถึงขนาดที่วางแผนจะทําใหหุนยนตมีการปรับปรุงรูปรางตนเองไดดวย โดยลิปสันและคณะจะสรางอัลกอริ ทึ่มสําหรับวิวัฒนาการขึ้นมาบนเครื่องคอมพิวเตอรกอน ทําใหอัลกอริทึ่มที่วานี้สามารถสั่งงานใหเครื่องพิมพสามมิติ แลวพิมพโครงสรางรางกายของหุนยนตขึ้นมาดวยพลาสติกไวตอความรอน (thermoplastic) ซึ่งหากโครงการนี้สําเร็จ ทีมงานของลิปสันก็จะถายโอนอัลกอริทึ่มที่วาเขาไปอยูในตัวหุนยนต และจะสงผลใหหุนยนตสามารถสรางอวัยวะของ ตนเอง สรางแขนสรางขาขึ้นมาได หรือในทายที่สุดก็อาจจะสรางลูกหลานหุนยนตรุนถัดไปขึ้นมาไดดวย (สําหรับผูที่อยากจะเห็นวาโปรแกรมจําลองแบบการแลกเปลี่ยนพันธุกรรมที่อยูในรูปภาษาจาวานั้นมี ลักษณะเชนไร ก็อาจจะแวะเวียนไปที่เว็บไซท www.demo.cs.brandeis.edu/~miguel/cgi-bin/Bots/ โดยบนเว็บ ไซทเดโมของมหาวิทยาลัยแบรนเดสนี้ยังมีบทคัดยอของงานทดลองเกี่ยวกับหุนยนตอยูอีกเปนจํานวนมาก เทาที่ ผูเขียนลองประมาณดูก็นาเกือบครึ่งรอยการทดลองเลยทีเดียว) ความคึกคักในแวดวงนักสรางหุนยนต ปจจุบัน วงการวิทยาศาสตรดูเหมือนวาจะใหความสนใจในหุนยนตศาสตร (Robotics) มากเปน พิเศษ เห็นไดจากการที่มีโครงการวิจัยดานนี้อยูในบรรดามหาวิทยาลัย ในบริษัทผูผลิตคอมพิวเตอร และใน บริษัทผูผลิตอุปกรณไฟฟาชั้นนําของโลกแทบทุกแหง (ลําพังที่ผูเขียนเคยเก็บมาเลาไวในนิตยสารไอทีซอฟทก็นับวาไม
  • 3. นอย ไมวาจะเปนการทดลองผาตัดฝงไมโครชิปเขาไปในรางกายของตนเองของ เควิน วอรวิค แหงมหาวิทยาลัยรีด อังกฤษ หรือ การสรางระบบอินเทอรเฟซที่เลียนแบบหนาตามนุษยของโซนี่) อยางลาสุดนี้ บริษัทโซนี่ไดผลิตหุนยนตสุนัขไอโบออกมาจําหนายขายดิบขายดี จนผลิตไมทันแลวถึงสองรุน (หุนยนตสุนัขของโซนี่ นี่ดังขนาดนายกรัฐมนตรี ญี่ปุนเอามาเปนของขวัญใหกับแขกเมืองสําคัญอยางประธานธิบดีรัสเซียเลยดวย ซ้ํา) รูปที่ 1 หุนยนตสุนัขไอโบ (AIBO) เปนหุนยนตตนแบบยอดนิยมอีกตัวที่มักจะถูกนํามาใชทดสอบเรื่องการเคลื่อนไหว อยางองคการอวกาศนาซาของสหรัฐฯ นั้นก็มีการใหทุนสนับสนุนแกผูวิจัยที่ทํางานดานหุนยนต ออกมาเปนจํานวนมากดวยความหวังที่จะนําเอาผลงานเหลานี้ไปใชเพื่อการสํารวจอวกาศ รวมทั้งยังมีการดําเนิน กิจกรรมในลักษณะเรงประชาสัมพันธใหเกิดความตื่นตัวในหมูนักประดิษฐหุนยนตทั้งหลาย ดวยการกอตั้งเว็บไซทชื่อ NASA Space Telerootics Program (http://ranier.hq.nasa.gov/teleroboticspage/coolrobots.html) และมี การประกาศเกียรติคุณใหกับผลงานหุนยนตที่เจงที่สุดในแตละสัปดาห (Cool Robot of The Week) ออกมา ซึ่ง กิจกรรมที่วานี้ก็ไดดําเนินการตอเนื่องมาไดรวมหาป หรือคิดเปนจํานวนหุนยนตที่ไดรับประกาศเชิดชูไปแลวไมนอย กวา 250 โครงการ การคัดเลือกผลงานหุนยนตขึ้นมาประกาศเกียรติคุณของนาซานี้อาจจะไมไดมีผลตอบแทนใหกับ เจาของโครงการในรูปตัวเงิน แตการไดปรากฏชื่อบนเว็บไซทของนาซาก็ถือเปนเกียรติประวัติที่นาภาคภูมิใจไมนอย อีกทั้งยังเปนชองทางเผยแพรผลงานใหเปนที่รับรูแกสาธารณชนและบรรดาเจาของทุนวิจัยไดเปนอยางดี ตัวอยางของ หุนยนตที่ไดรับการคัดเลือกใหเปนสุดยอดหุนยนตประจําสัปดาหจากนาซา นับยอนหลังไปสักสองเดือนก็จะมี ดังตอไปนี้ 7 พฤศจิกายน 00 หุนยนตกระโดด (Hopping Robot) เปนหุนขาเดียวทําจากลูกสูบชนิดจุดระเบิด สามารถโดดไดสูงถึง 20 ฟุต ในแตละครั้ง 30 ตุลาคม 00 หุนยนตเคลื่อนที่ตามเสียงจําลองแบบจากจิ้งหรีด (Phonotaxis in crickets and robots) เปนเทคโนโลยีที่ไดรับแรงบันดาลใจจากพฤติกรรมของจิ้งหรีด นํามาเปนแนวคิดสําหรัการ เคลื่อนที่อยางอัตโนมัติของหุนยนต 23 ตุลาคม 00 หุนยนตกุงลอบสเตอร (Robolobster) เปนหุนยนตเคลื่อนที่ใตน้ําที่ใชติดตามรองรอย มลพิษทางเคมี โดยจําลองรูปแบบการเคลื่อนที่ของกุงลอบสเตอร 16 ตุลาคม 00 งานแขงขันหุนยนตป 2000 (Robot Games 2000) ที่จัดขึ้นโดยสมาคมหุนยนตศาสตร แหงซานฟรานซิสโก 9 ตุลาคม 00 รถยนต V-Car ซึ่งสามารถควบคุมการดําเนินการตางๆ ไดจากระยะไกล จาก MP3.com จุดเดนของมันคือรูปแบบการติดตอควบคุมที่สะดวก กระชับ ไมเยิ่นเยอ 2 ตุลาคม 00 ชุดประกอบหุนยนตสําหรับเครื่องพาลม PPRK (the Palm Pilot Robo Kit) เปนแนวคิดที่ จะนําเอาอะหลั่ยเหลือใชขของเครื่องพาลมมาประกอบเขาเปนหุนยนต แทนที่จะปลอยทิ้งไวเปลาๆ หลังจากการอัพเกรดเครื่อง
  • 4. รูปที่ 2 หุนยนตตนแบบเคพเพรา (Khepera) ถูกประยุกตไปใชใน งานศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ตามเสียง ซึ่งจําลองแบบ จากจิ้งหรีด (Phonotaxis incrickets and robots) 25 กันยายน 00 การแขงขันฟุตบอลหุนยนตป 2000 (FIRA 2000) คําวา FIRA ยอมาจากชื่อสมาพันธแหงสมาคม ฟุตบอลหุนยนตนานาชาติ (Federation of International robot-socer association) ซึ่งปนี้จัด แขงขันขึ้นที่ประเทศออสเตรเลีย ไลๆ กับกีฬาโอลิมปก 18 กันยายน 00 โครงการลูนา 16 (LUNA 16) อันนี้ใหเปนเกียรติ ประวัติแกโครงการอวกาศของรัสเซีย เพราะในสัปดาหเดียวกันนี้ของเมื่อ 30 ปที่แลว สหภาพ โซเวียตรัสเซียไดสงหุนยนตนักสํารวจสามตัวขึ้นไปกับยานอวกาศสํารวจดวงจันทร และไดเก็บ รวบรวมตัวอยางจากพื้นผิวดวงจันทรกลับมายังโลกมนุษยไดสําเร็จ 11 กันยายน 00 โครงการมาโคร (Project Makro) เปนการผลิตหุนยนตตนแบบของสถาบัน GMD Institute for Autonomous intelligent โดยหุนยนตตัวที่วานี้ประกอบไปดวยชิ้นสวนขอตอเปน จํานวนมาก สําหรับใชเลื้อยเขาไปสํารวจตามทอตางๆ ที่มนุษยไมสามารถจะเขาไปภึงได 4 กันยายน 00 โครงการโกเลม (Golem Project) เปนการสรางสิ่งมีชีวิตเทียม (Artificial life) ของทีม วิจัยแหงมหาวิทยาลัยแบรนเดส โดยพยายามออกแบบ ประดิษฐ และจําลองสภาพแวดลอมที่เอื้อ ตอการเกิดวิวัฒนาการของหุนยนต นอกเหนือจากบรรดาหุนยนตที่มีโครงการพัฒนากันอยางใหญโต หุนยนตที่นาสนใจอีกประเภท ไดแก "หุนยนตขยะ" หรือ "จังกบอต" ของมารค ทิลดอน แหงบริษัทโซลาริส เปนผลงานที่เกิดขึ้นจากการเที่ยวเก็บ รวบรวมวัสดุเหลือใชภายในหองทํางานของของเขามาปะติดปะตอเขาดวยกัน มีทั้งกลไกจากวิทุซาวนอเบาทที่เสียแลว, เศษชิ้นสวนของเครื่องพิมพ, แถบโซลารเซลลที่เคยใชปอนพลังงานใหกับเครื่องคิดเลข ฯลฯ และโดยสาเหตุที่มันถูก ผลิตขึ้นมาจากวัสดุเหลือใช หุนยนตแตละตัวของมารค ทิลดอน จึงมีลักษณะเฉพาะที่ไมคอยจะเหมือนใคร มีอยูตัวหนึ่ง ทํามาจากมอเตอรที่ใชเลื่อนแผนดิสกเขาออกจากไดรฟ มันเคลื่อนที่ดวยการเลื้อยไปมายังกับปลาไหลยุคดึกดําบรรพ (Lamprey) แมวาหุนยนตของมารค ทิลดอน จะไมใชหุนที่มีขีดสมรรถนะการทํางานสูงสงโดดเดน แตมันก็ นาสนใจในแงที่สรางแรงบันดาลใจใหกับบรรดาเยาวชนที่มีใจรักดานกลไกอิเล็กทรอนิกสอีกเปนจํานวนมากทั่วโลก เพราะมันบอกใหพวกเขารูวา ความรูดานหุนยนตนั้นไมจําเปนตองอาศัยเงินทุนหรือเครื่องไมเครื่องมือวิจัยที่วิเศษวิโส อะไรเลย ขอแคมีความรูความเขาใจ และมีไอเดียที่สรางสรรก็เหลือเฟอแลว หรือถานักประดิษฐหุนยนตรุนเยาจะ รูสึกมืดแปดดานไมรูจะเริ่มตนพัฒนาหุนยนตขึ้นจากเศษอาหลั่ยอิเล็กทรอนิกสเหลือใชไดอยางไร วงการหุนยนตเขาก็ ยังมีหุนยนตพื้นฐานใหลองเลนลองฝกควบคุมกันได เรียกวาหุนยนตตระกูล K-Robot Family
  • 5. หุนยนตตระกูล K-Family นี้ประกอบไปดวย องคประกอบพื้นฐาน 3 สวน ไดแก โปรแกรมจําลอง (Simulation) ซึ่งจัดเปนขั้นแรกของการเรียนรูที่ประหยัดไมสิ้นเปลือง เพราะไมตองลงทุนกับหุนยนตจริงๆ แคติดตั้ง โปรแกรมแลวทดลองไดเลย สวนถัดมาของ K-Family คือหุนยนต Khepera ขนาดเสนผานศูนยกลาง 5.5 เซนติเมตร เล็กพอที่จะลองใหเดินเลนไปมาบนโตะอยูใกลๆ คอมพิวเตอรที่ควบคุมมัน และสวนสุดทายคือหุนยนต Koala ซึ่ง จริงๆ แลวก็มีโครงสรงการทํางานคลายๆ กับ Khepera นั่นแหละ แตมีขนาดใหญโตกวาเยอะ จึงใชสําหรับหนวย งานวิจัยที่มีพื้นที่กวางขวางเพียงพอที่จะใหเจานี่เดินเลนไปมาได แนวคิดใหมในการพัฒนาหุนยนต นอกจากแนวความคิดที่จะนําเอาชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสมา สรางหุนยนตที่จําลองการเคลื่อนไหวของสิ่งมีชีวิตแลว ก็ยังมีนักวิทยาศาสตรอีก กลุมที่พยายามศึกษาหุนยนตศาสตรในทิศทางที่ดูเหมือนวาจะสวนทางกับกลุมที่ ไดกลาวถึงมาแลวขางตน คือ ใชวิธีเลาะเอาระบบประสาทของสิ่งมีชีวิตมาใช สั่งงานกลไกอิเล็กทรอนิกสแทน เชนงานของวิตตอริโอ แซงกวินเนติ แหง มหาวิทยาลัยเจนัว ที่เลาะเอาสมองและแนวไขสันหลังของปลาไหล (lamprey) มาขึงติดไวกับหุนยนตทดลองพื้นฐาน Khepera ซึ่งมีลักษณะเหมือนขวดแยม ติดลอยังไงยังงั้น จากนั้น วิตตอริโอ ไดทดลองกระตุนเนื้อสมองของปลาไหลดวยการสองไฟเขาไปที่กลุมเซลล ประสาทรับสัมผัส นาแปลกวาสมองของเจาปลาไหลเคราะหรายนั้นสามารถสั่งงานใหหุนยนตกระปองเคลื่อนที่ใน ลักษณะที่ตอบสนองกับแสงไฟไดดวย (หากเราจะจินตนาการตอไป ผลลัพธสุดทายของการทดลองประเภทอาจจะ นําไปสูวิธีกระตุนใหผูปวยอัมพาตตั้งแตคอลงไปสามารถเคลื่อนไหวรางกายของตนได) ที่นาแปลกใจอีกอยางคือ ดูเหมือนวาบรรดานักวิทยาศาสตรที่ทํางานดานหุนยนตชีวภาพ (Biological Robots) เหลานี้จะมีความนิยมใชปลาไหลเปนสัตวทดลองเสียจริงๆ (ไมรูวามีเหตุผลอะไรอยางอื่นอีก นอกเหนือจาก ความนิยม ที่ทําใหเซลลประสาทของปลาไหลถูกนํามาวิเคราะหเจาะลึกกันจนทะลุปรุโปรงไปหมด) อยางงานวิจัยของ ศาสตราจารย บิลล ดิตโต แหงมหาวิทยาลัยจอรเจียเท็คนั้นก็เปนการเก็บเอาเซลลประสาทของปลาไหล (Leech) มา เลี้ยงรวมกันไวในจานทดลอง แลวลองปอนตัวเลขเขาไปเพื่อดูการตอบสนองของเซลลประสาทดังกลาว ซึ่งทีมวิจัย พบวามันมีการตอบสนองที่แตกตางกันไปในแตละตัวเลขประหนึ่งวามันสามารถคํานวนตัวเลขได พวกเขาเลยเรียกมัน แบบชวนใหขันวา Leechulator โดยเลียนแบบคําวา Calculator ที่แปลวาเครื่องคิดเลข อยางไรก็ตาม การนําเอาเซลลประสาทของสิ่งมีชีวิตมาใชศึกษาและพัฒนาขึ้นเปนหุนยนตนั้นยังไม อาจจะนับวาเปนแนวคิดใหมของการประดิษฐหุนยนตไดอยางแทจริง เพราะจริงๆ แลว มนุษยเราไดอาศัยการเฝา สังเกตุพฤติกรรมของสัตวอื่นๆ มาใชประดิษฐเครื่องจักรกล และหุนยนตขึ้นมานับเปนพันๆ ปแลว สิ่งที่นาจะถือเปน ปรากฏการณใหมในแวดวงของนักประดิษฐหุนยนตไดอยางแทจริงนาจะอยูที่แนวคิดที่มีการนําเอาศาสตรสมัยใหม อยางคอมพิวเตอร พันธุวิศวกรรม และจุณเทคโนโลยีมาใชเพื่อการสรางหุนมากกวา นั่นคือ เวลาที่ตองการจะสรางหุนยนตสักหนึ่งตัว สมัยกอนก็คงตองรางแบบไวในพิมพเขียว แลวเที่ยว ไปหาอะหลั่ย หรือสั่งทําชิ้นสวนกลไกที่ตนตองการมาเพื่อปะกอบกันเขาเปนตัวหุน หลังจากนั้น เมื่อประกอบหุนเสร็จ แลวก็ยังไมแนวาจะทํางานไดดั่งใจของผูออกแบบ ยังตองมีการปรับแกตรงนั้นตรงนี้อีกหลายรอบกวาจะออกมาเปน หุนยนตตนแบบดังใจของผูสราง แตในอนาคตอันใกลนี้ ผูออกแบบหุนยนตจะใชวิธีสรางหุนของตนเองขึ้นมาบน
  • 6. เครื่องคอมพิวเตอรกอน แลวก็ใชโปรแกรมจําลองการทํางาน (Simulation) ทดสอบดูวาหุนของตนจะเคลื่อนไหวและ ตอบสนองไดอยางที่ตนตองการไดหรือไม หากไมไดก็ปรับแกกันเสียตั้งแตที่ยังเปนแคขอมูลบนเครื่องคอมพิวเตอรนี่แห ละ หลังจากที่ไดหุนตนแบบในรูปของขอมูลคอมพิวเตอรออกมาแลว ผูออกแบบหุนก็จะสั่งใหเครื่อง ประกอบหุนผลิตหุนใหออกมาเหมือนอยางที่ตนเองไดออกแบบไวโดยไมตองลองผิดลองถูก (ตรงนี้แหละคือจุดที่ศาสตร ดานจุณเทคโนโลยีจะเขามาเกี่ยวของไดในอนาคต) ซึ่งในระยะแรกๆ นั้นตัวหุนอาจจะมีความหยาบอยูคอนขางมาก เพราะชิ้นสวนตางๆ ในรางกายของหุนนั้นจะยังคงเปนชิ้นสวนใหญๆ ที่เวลาตอเรียงกันขึ้นมาแลวดูเหมือนหุนเลโกของ เด็กๆ (โครงการวิจัย Golem Project ของมหาวิทยาลัยแบรนเดส คือ โครงการหนึ่งที่พยายามสรางชิ้นสวนเลโกเล็กๆ พวกนี้ขึ้นมาเพื่อใชประกอบเปนตัวหุน เชน ชิ้นสวนกลุมหนึ่งใชสําหรับเปนสวนขอตอ กลุมหนึ่งใชเปนระบบประสาท กลุมหนึ่งใชเปนตัวเคลื่อนไหวเหมือนมัดกลามเนื้อ และอีกสวนหนึ่งอาจจะถูกออกแบบมาใหเปนพื้นผิวที่ใชตกแตง ภายนอกตัวหุน) รูปที่ 3 แสดงใหเห็นวิธีการเปลี่ยนแบบจําลองหุนยนตในรูปโปรแกรมคอมพิวเตอรใหกลายมาเปนหุนยนตตัวจริงของ โครงการกาเล็ม แหงมหาวิทยาลัยแบรนเดส พระเจาสราง, มนุษยทําลาย ? จากที่กลาวผานๆ มา ดูเหมือนวาเทคโนโลยีหุนยนตศาสตรจะมีแตดานดี และเปนการพัฒนาไปสู ความเจริญของโลก แตผูเขียนเองก็ยังไมคอยมั่นใจนักวามันจะไมมีดานที่เลวรายแฝงอยูดวย เชนในบทความจีเอ็นอาร ที่ผานๆ มา ผูเขียนไดยกตัวอยางถึงเหตุการณหลายตอหลายครั้งที่ความฉลาดของมนุษยไดนําไปสูการทําลายตนเองได อยางเหลือเชื่อ ไมวาจะเปนการเกิดสงครามโลก การผลิตอาวุธมหาประลัย นิวเคลียร อาวุธเคมี อาวุธชีวภาพ หรือการที่มนุษยทําลายสภาพแวดลอมรอบๆ ตัวเองลงไปทุกเมื่อเชื่อวัน ซึ่งในทายที่สุด ผูเขียนจึงไดสรุปไวในบทความ "พุทธศาสตรฉุดโลกพนหายนะ" วาแนวทางที่ถูกตองของการพัฒนาเทคโนโลยี นั้น ควรจะเปนแนวทางที่ไดนําเอาหลักทางพุทธศาสนามากํากับ โดยไดอางอิงถึง ความเชื่อของบิลล จอย, คําสอนของทานทไลลามะ และพระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตต ปยุตโต) มาประกอบ อยางไรก็ตาม การที่จะใหบรรดานักวิทยาศาสตรผูสราง เทคโนโลยีนอมรับเอาคําสอนทางพุทธศาสนาไปใชปฏิบัติอาจจะทําไดยากยิ่ง เพราะผูพัฒนาเทคโนโลยีสวนใหญมักจะไมใชพุทธศาสนิก บางทานอาจจะไมเคย
  • 7. ไดสัมผัสกับพุทธธรรมเลยตั้งแตเกิดจนตาย บางทานอาจจะไดเคยสัมผัสมาบางแตติดขอหามทางศาสนาของตนวา ไมใหนับถือศรัทธาในคําสอนของศาสดาองคอื่นๆ ที่นอกเหนือจากศาสดาของตนเอง เมื่อกลาวถึงเรื่องศาสนา หลวงพอพุทธทาสไดแบงศาสนาบนโลกนี้ไวเปนสองกลุมเพื่อความเขาใจงาย กลุมหนึ่งเรียกวา กลุมที่มีผูสราง (Creator) อีกกลุมหนึ่งเรียกวา กลุมที่ไมมีผูสราง โดยทั้งสองกลุมตางมีวิถีและ แนวทางปฎิบัติที่มุงเนนใหคนทําดี เพื่อสังคมที่รมเย็นเปนสุขดวยกันทั้งนั้น เพียงแตกลุมศาสนาที่มีผูสรางอันไดแก คริสต อิสลาม ฮินดู ฯลฯ นั้น ไดระบุไวในคัมภีรอยางชัดเจนถึงการสรางโลกของพระเจา โดยเฉพาะคริสตดวยแลวจะ มีเรื่องราวของการสรางสิ่งมีชีวิต อยางอาดัม และอีฟที่เปนมนุษยสองคนแรกที่เสวยสุขอยูในสวนอีเดน จนกระทั่งถูก พระเจาขับไลออกจากแดนสวรรคเพราะละเมิดขอหามเรื่องกินผลไมที่ถูกสั่งไวแตแรก เรื่องแปลกก็คือ ขณะที่นักวิทยาศาสตรผูประดิษฐเทคโนโลยีในโลกสวนใหญมักจะเปน คริสตศาสนิกชน ซึ่งเชื่อในเรื่องพระเจาและการสรางโลก แตกลุมชนกลุมเดียวกันนี้ก็เปนผูบุกเบิกและพิสูจนใหเห็น จริงถึงทฤษฎีวิวัฒนาการ (evolution) เรื่องโลกเย็นตัวลง และการคัดเลือกพันธตามธรรมชาติ นาแปลกที่พวกเขา สามารถแยกการรับรูสองอยางนี้ออกจากกันได คือโลกจะมีวิวัฒนาการมาหลังจากหลุดออกจากดวงอาทิตยและเย็นตัว ลงเชนไรก็เปนเรื่องหนึ่ง พระเจาจะสรางโลกเสร็จภายในเจ็ดวัน และสรางมนุษยคนแรกขึ้นมาเปนอาดัมเชนไรก็เปน อีกเรื่องหนึ่ง กระนั้น เมื่อบทบาทการเปนผูสรางของพระเจาเริ่มถูกทาทาย เพราะมีมนุษยบางกลุมพยายาม เปลี่ยนบทบาทมาเปนผูสรางบางโดยอาศัยเทคโนโลยีจีเอ็นอาร (พันธุวิศวกรรม, จุณเทคโนโลยี และ หุนยนตศาสตร) มันก็ทําใหเกิดเปนประเด็นใหถกวิเคราะหตามมาอยางมากมายในกลุมนักวิทยาศาสตรตะวันตก ผูเปนทั้งนักสราง เทคโนโลยี และคริสตศาสนิกชน ปจจุบัน เราจึงไดเห็นเว็บไซทจํานวนมากที่พยายามดึงเอาเรื่องราวในพระคัมภีร กลับมาศึกษาตีความกันใหมโดยเฉพาะประเด็นที่วา "ถูกตองแลวหรือ ที่พระเจาสรางมนุษย แลวมนุษยเองก็พยายาม จะสรางสิ่งมีชีวิตพันธุใหม หรือมนุษยพันธุใหมที่เรียกวา "หุนยนต" ขึ้นมา ตัวอยางของพระคัมภีรสวนที่ถูกนํามาถกวิเคราะหกันมาก เปนพิเศษก็คือ บทที่ 2 และ 3 ของ "เจเนซิส" ซึ่งกลาวถึงอาดัม และอีฟ ที่แต แรกนั้นดํารงชีพแบบมีความสุขอยางไรเดียงสาอยูในสวนสววรคอีเดน พระ เจาตรัสอนุญาตใหมนุษยคูแรกของโลกนี้สามารถเก็บกินผลไมทุกชนิดที่ขึ้นใน สวนได ยกเวนตนไมแหงความรับรูถึงความชั่วและความดี (Tree of Knowledge of Good and Evil) แตแลวมนุษยทั้งสองไดถูกลอลวงจาก ซาตานในรูปของอสรพิษ (serpent) วาการกินผลไมจากตนไมดังกลาวจะชวย ใหทั้งสองฉลาดขึ้น พวกเขาจึงไดละเมิดคําสั่ง แลวก็เกิดความละอายใน รางกายที่เปลือยเปลาของตนเอง ตองหาใบไมมาปกปดที่อวัยวะเพศ เมื่อพระเจาปรากฏตัวขึ้น และสอบถามถึงสาเหตุที่ตอง นําเอาใบไมมาปกปดอวัยวะของตน อีฟก็สารภาพผิดพรอมกลาวโทษไปที่อสรพิษ จากนั้นอาดัมก็เลยสารภาพบางแต กลาวโทษไปที่อีฟ แถมยังลามปามไปกลาวโทษพระเจาเสียอีกวาเปนเพราะ "ผูหญิงที่ทานประทานใหขาพเจา (the woman You gave me" พระเจาจึงทรงลงโทษมนุษยทั้งสองดวยการขับไลออกจากสวนอีเดน พรอมกับทัณฑ 3 ประการ หนึ่ง ใหผูหญิงตองทนทุกขทรมาณจากการใหกําเนิดบุตร สอง ผูชายจะไมสุขสบายในการดํารงชีวิตอีกตอไป
  • 8. แตจะตองทํางานจนเหงื่อโทรมกาย สาม มนุษยจะไมเปนอมตะ และจะตองรับรูดวยวาตนเองนั้นจะตองตายสักวัน หนึ่ง จากเรื่องราวที่บันทึกไวในคัมภีรเจเนซีสนี้ หากมองกันดวยสายตาของคนนอกศาสนาเชนผูเขียนก็อด จะสงสัยวา มีความเปนไปไดมากนอยเพียงไรที่มนุษยคูแรกนี้อาจจะเปนหุนยนตที่ถูกสรางขึ้นโดยพระเจา ผูสราง สภาพแวดลอมที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตไวอยางพรอมสรรพภายในไบโอโดม หรือที่รูจักกันในชื่อสวนอีเดน หุนยนตคูนี้แรกๆ ก็มีความไรเดียงสาเฉกเชนทารกเกิดใหมทั่วๆ ไปที่ไมเคยไดสัมผัสถึงการ เกิด แก เจ็บ ตาย และ ไตร ลักษณ (อนิจจังง ทุกขัง อนัตตา) อันเปนความจริงแทของโลกเรา แตหลังจากที่พวกเขาเติบโตขึ้น พวกเขาจึงเริ่ม ตระหนักถึงสภาพแวดลอมในฐานะของผูใหญ สวนการนําเอาใบไมมานุงหม และการกินแอปเปลนั้นอาจจะเปนผลตอ เนื่องมาจากความเปนผูใหญของคนทั้งคู นั่นคือ เริ่มรูจักปฏิเสธการเชื่อฟง (Disobedient) อยางไรก็ดี ประเด็นที่ผูเขียนยกขึ้นมานี้ ไมใชแนวความคิดใหมของผูเขียนเอง แตเปนผลสืบ เนื่องมาจากการอานบทสนมนาระหวางนักวิทยาศาสตร "เคน โกลดเบิรก" และและนักศาสนาศาสตร "โอวิด จาคอบ" ซึ่งปรากฏอยูบนเว็บไซท hhttp://www.sirius.com/~ovid/agr.html โดยเคนไดสรุปเรื่องราวของพระเจา, อาดัม และอีฟไวอยางนาสนใจวา "เมื่อใดก็ตาม ที่ผูสรางรูสึกวาสูญเสียการควบคุมสิ่งที่เปนผลงานของตน เวลานั้นแหละ คือ จุดเริ่มตนของพัฒนาการแหงตัวผลงานเอง" และ "ในความเปนจริงแลว พระเจาอาจจะไมไดพิโรธอะไรตอมนุษยทั้ง สองเลยดวยซ้ํา เพราะทานทรงทราบดีอยูแลววา การปฏิเสธความเชื่อฟงตอพระองคนั้นเปนสวนหนึ่งของการเติบโต ของมนุษย" อันความรู รูกระจางแตอยางเดียว ....... แม เคน โกลดเบิรก และ โอวิด จาคอบ จะเปนคริสเตียนที่มีใจเปดกวางขนาดนําเอาเนื้อหาในคัมภีร มาวิเคราะหและตีความใหม แตเขาก็ไมสนับสนุนความคิดของนักวิทยาศาสตรสมัยใหมที่จะเที่ยวไปสรางโนนสรางนี่ แขงกับพระเจา (God) หรือธรรมชาติ (Mother Nature) เพราะประวัติศาสตรที่ผานมาไดใหบทเรียนแกมนุษยมา หลายตอหลายครั้งวาการฝนธรรมชาตินั้นมักจะนํามาซึ่งมหันตภัย โดยเฉพาะการสรางสิ่งที่ใหญโตเกินกวาที่ผูสรางจะ ควบคุมไดดวยแลว สุดทายมนุษยผูสรางก็อาจจะตกเปนเหยื่อของผลงานตนเองไดในที่สุด เปรียบเหมือน ศาสตราจารยแฟรงเกนสไตนที่ตองประสบชะตากรรมถึงชีวิตจากซากศพอันเปนผลงานที่ตนเองพยายามปลุกชีพขึ้นมา หรือหากจะยกตัวอยางที่ใกลตัว ก็ไดแก การที่บรรดานักวิทยาศาสตรรุนแรกๆ ที่มีสวนรวมในการ พัฒนามหันตภัย นิวเคลียร อาวุธชีวภาพ หรืออาวุธเคมีทั้งหลายขึ้นมา แรกๆ พวกเขาเหลานี้ก็อาจจะมีเจตนาแงดี แต เมื่อผลงานเหลานี้พนออกจากการควบคุมของผูพัฒนาคนแรก ไปสูผูพัฒนาคนที่สอง ที่สาม .... ตัวผลงานก็เริ่มจะ ใหญโตจนเกิดขีดความสามารถของผูสรางเทคโนโลยีคนแรกๆ จะจํากัดขอบเขตการใชประโยชนจากมันได สุดทาย เราจึงไดเห็นคนญี่ปุนที่โอกินาวา และนางาซากิ ตองตายไปนับเปนแสนคน โดยที่อัลเบิรต ไอนสไตน เจาของทฤษฎี สัมพันธภาพนึกไมถึง และในขณะที่ ออพเพนไฮเมอรหัวหนาทีมวิจัยแมนฮัตตันก็ขี้ขลาดเกินกวาจะหยุดยั้งโครงการ สรางระเบิดนิวเคลียรลงเสียตั้งแตตอนที่สัมพันธมิตรมีชัยชนะเหนือนาซีในยุโรป ตรงนี้แหละ ที่เคน โกลดเบิรก ใชสนับสนุนแนวคิดของเขาที่วา "เมื่อใดที่ผูสรางสูญเสีย ความสามารถในการควบคุมผลงาน นั่นคือ จุดเริ่มตนการพัฒนาของตัวผลงานเอง (The event wherein the creator loses control of the creature is a necessary step toward the development of the creature)" เชน กรณีของอาดัม และอีฟนั้น จุดที่มนุษยเริ่มไมเชื่อฟงพระเจาคือจุดเริ่มตนของวิวัฒนาการมนุษย
  • 9. ในขณะที่จุดซึ่งนักวิทยาศาสตรในทีมวิจัยแมนฮัตตันเริ่มไมสามารถบอกยกเลิกงานวิจัยของตนเองได ก็เปนจุดเริ่มตน ของวิวัฒนาการอาวุธนิวเคลียรเชนเดียวกัน แนวความคิดของ เคน โกลดเบิรก นี้นับวานาสนใจมากเมื่อนํามาประกอบกับการพิจารณาเรื่อง วิวัฒนาการของหุนยนต เพราะถาหากนักวิทยาศาสตรสรางหุนยนตที่สามารถสืบพันธุดวยตนเองขึ้นมาได โดยไม วางแผนควบคุมใหดีใหรอบคอบ มันก็อาจจะนํามาซึ่งปญหาอันหนักหนวงแสนสาหัสไดในอนาคตเมื่อหุนยนตเริ่มรูจัก ปฏิเสธการควบคุมจากผูสราง เชน นักวิทยาศาสตรที่พัฒนาหุนยนตสํารวจทองทะเลลึกหรือหุนยนตสํารวจอวกาศ ที่ ตองอยูภายใตบรรยากาศที่มนุษยไมสามารถจะดํารงชีพอยูได อาจจะอยากทําใหหุนยนตของตนสามารถสืบพันธและ เพิ่มปริมาณไดเอง เพื่อเปนประโยชนตอการสํารวจ แตถาหากการเพิ่มปริมาณนั้นเกินขีดความควบคุม เกิดมีหุนยนต ตัวเล็กตัวนอยกลาดเกลื่อนไปทั่วทองสมุทรก็คงจะเปนมหันตภัยอยางใหญหลวงของโลก เพราะไปรบกวนระบบนิเวศน ใตทองน้ํา ดังนั้น นักวิทยาศาสตรทุกคนที่เกี่ยวของการสรางสรรประดิษฐกรรมใหมๆ จึงควรตองระมัดระวัง ผลงานของตนไมใหกอปญหาติดตามมา โดยเฉพาะปญหาที่เกิดขึ้นจากการแกปญหา หรือที่เรียกวา "Technofix" ซึ่ง เปนศัพทที่ถูกบัญญัติขึ้นมาใชประชดประชันวิธีการแกปญหาที่ผูแกมีความรูเฉพาะเพียงดานใดดานหนึ่ง ทําใหเมื่อแก ประเด็นปญหาหนึ่งไปแลว กลับกลายไปเปนปญหาใหมที่ใหญโตหนักหนวงขึ้นไปอีก ยกตัวอยางเชน นักเทคโนที่ไมมี ความรูดานชีววิทยา หรือสังคมศาสตร มีแตความรูเรื่องวิศวกรรม และการคํานวนตนทุนกอสราง เมื่อเดินสายไฟ สายโทรศัพทไปเจอตนไมใหญอายุพันปขวางทางอยูก็อาจจะตัดสินใจตัดโคนไมลงดวยเห็นวาเปนวิธีการเดินสายที่ ถูกตองที่สุด ประหยัดที่สุด โดยไมรูเลยวาตนไมดังกลาวนั้นมีคุณคามากเพียงใดในแงของชีววิทยา ระบบนิเวศน หรือ คุณคาในทางจิตใจของผูคนในชุมชน หรือในกรณีนักสรางเขื่อนก็อาจจะเปน Technofix ได เชนเดียวกัน คือผูสรางเขื่อนอาจจะมองแตในแงของความคุมคาของ ปริมาณกระแสไฟ การเก็บกักน้ําไวในหนาแลงเพื่อเพิ่มผลผลิตทาง การเกษตรเชิงทุนนิยม แตลืมประเมินคาของปาไมอันอุดมสมบูรณที่เสีย ไป ระบบนิเวศนที่แปรปรวน โรคภัยไขเจ็บชนิดใหมๆ ที่อาจจะติดตาม มา ฯลฯ สําหรับวิธีการแกปญหาที่ถูกตองนั้น ผูเขียนอยากจะยกคํา สอนของพระธรรมปฎก ที่ทานไดเคยสอนไววา ชาวพุทธจะตองมอง ปญหาใหเปน คือจะตองมองใหรูซึ้งซึ่งสาเหตุ มองอยางครอบคลุม และ สืบเนื่อง (Dynamic & Continuous) ไมมองอะไรเพียงดานเดียว หรือมองเสมือนวาทุกอยางหยุดนิ่งอยูกับที่
  • 10. เอกสารอางอิง 1. Tom Howard "Mating Robots" Personal Computing World, September 2000, 158 2. Rodney Brooks Artificial Life : From robot dreams to Reality Nature 406, 945 - 947 August 2000 3. Hod Lipson and Jordan B. Pollack Automati and manufacture of robotic lifeforms Nature 406, 974 - 978 August 2000 4. Sci/Tech Biological computer born (http://news.bbc.co.uk/hi/english/sci/tech/newsid358000/358822.stm) 5. KhepOnTheWeb (http://diwww.epfl.ch/lami/robots/K-Family/KOTW/khepera.html) 6. NASA Space Telerobotics Program "Cool Robot Of The Week" (http://ranier.hq.nasa.gov/teleroboticspage/coolrobots.html) 7. DEMO : Dynmical & Evolutionary Machine Organization (http://www.demo.cs.brandeis.edu/pr/robotics.html 8. สุรพล ศรีบุญทรง GNR: episode I, II, II “2001 นับถอยหลังสูการสูญพันธุของมนุษย” “เทคโนโลยีจีเอ็นอาร, ภัยแฝง เรน” “พุทธศาสตรฉุดโลกพนหายนะ” นิตยสารไอทีซอฟท ปที่ 9 ฉบับที่ 99,, 100, และ 102